SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
1
2

ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
5
วิสัยทัศน
15
พันธกิจ
15
ทิศทางการดําเนินงาน 2554 – 2559
15
สัญลักษณ
17
สวนที่ 2 ความรูดานสิทธิมนุษยชน
หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
19
อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก
19
อนุสัญยาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี
20
กรอบความรวมมือในสถาบันสิทธิมนุษยชนเอเชีย-แปซิฟก
21
แนวทางการปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ
21
สิทธิเกี่ยวกับน้ํา
22
ผูพิทักษสิทธิมนุษยชน
23
สิทธิของผูปวยทางจิต
24
สิทธิในการพัฒนา
25
สวนที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน
ประมวลจริยธรรม
27
รัฐธรรมธูญ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน
33
พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
50
พรฎ.คาตอบแทนและคาใชจายในการเดินทาง
64
ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เรื่องการปฏิบัติราชการแทนฯ
67
ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เรื่องการแบงสวนราชการภายใน ฯ
69
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยการรักษาราชการแทนและการปบัติราชการแทน 98
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน ขอมูลขาวสารของราชการ
102
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยเงินคาตอบแทนพิเศษฯ
110
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเสนอเรื่อง
ตอศาลรัฐธรรมนูญ
114
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวงิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงวาดวย
หลักเกณฑและวิธีการรับรององคการเอกชนฯ
134
138
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบการละเมิด
ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและการขึ้นทะเบียนองคการ
เอกชนดานสิทธิมนุษชน
145
สวนที่ 4 ความถนัดทางเชาวนปญญา (Aptitude Test)
อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ
148
วิธีบวก
148
วิธีลบ
153
วิธีคูณ
156
วิธียกกําลัง
161
วิธีหาร
169
เงื่อนไขภาษา
176
อุปมาอุปไมย
194
ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง
194
ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม
195
3
ความสัมพันธในลักษณะหนาที่
ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน
ความสัมพันธในลักษณะสถานที่
ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม
เงื่อนไขสัญลักษณ
คณิตศาสตรทั่วไป
การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน
การหาอัตราสวนและรอยละ
ดอกเบี้ย
การคํานวณระยะหางระหวางเสา
การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ
การแปรผันตรงและการแปรผกผัน
การแกสมการ
การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว
คาเฉลี่ย
การหา ครน. และหรม.
ความสามารถทางดานเหตุผล
การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร
การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต
ตาราง กราฟและแผนภูมิ
สวนที่ 5 ความรูทางดานการใชภาษาไทย
การใชคํา
การใชคําราชาศัพท
การสรุปใจความ
สํานวน สุภาษิต คําพังเพย
การเขียนสะกดการันต
ประโยค
ลักษณะภาษา
การใชภาษา
คําเปนคําตาย
คําเชื่อม
การสะกดคํา
กการเขียนภาษาใหถูกตอง
การเรียงประโยค
บทความสั้น
บทความยาว
สวนที่ 6 ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ
ความรูพื้นฐานดานภาษาอังกฤษ
แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY
แนวขอสอบ VOCABULARY
แนวขอสอบ Reading Comprehension

197
198
199
200
202
207
207
209
211
213
215
217
222
222
226
230
233
235
238
239
247
250
259
262
267
268
270
284
294
296
302
307
310
316
322
328
352
356
361
4

ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
สัญลักษณ
ภาพตราสัญลักษณของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

คําอธิบายความหมายของเครื่องหมาย
รูปทรงดอกบัว
คือ ความมีคุณธรรม ความเอื้ออาทรระหวางเพือนมนุษยอนเปนจริยวัตรอันดีงามของ
่
ั
คนไทย
รูปคนลอมเปนวงกลม
คือ การสรางพลังความรวมมือกับทุกภาคสวนของสังคม เพื่อเสริมสรางวัฒนธรรมสิทธิ
มนุษยชนใหเปนสวนสําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ
รูปมือ
คือ การรวมมือกับทุกภาคสวนของสังคมทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ ใน
การโอบอุม คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ ดวยหลักแหงความ
เสมอภาค และภราดรภาพ
สีน้ําเงิน
คือ สีของความเชื่อมั่นของประชาชนและทุกภาคสวนของสังคม
คือ ความมุงมั่น อดทนในการทํางานเพื่อประชาชน

คือ ความสามัคคี และการประสานพลังอยางหนักแนนจากทุกภาคสวนของสังคม เพื่อ
เสริมสรางวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย
เครื่อง หมายราชการดังกลาว นอกจากใชเปนตราประจําสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติแลว ใหใชเปนตราประจําตําแหนงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ ตราประจําคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และตราประจําตําแหนง
5

ความรูดานสิทธิมนุษยชน

พันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนคืออะไร

สนธิ สัญญาดานสิทธิมนุษยชนมีลักษณะเปนสนธิสัญญาพหุภาคี กลาวคือ เปนสนธิสัญญาที่
มีรัฐมากกวาสองรัฐขึ้นไปเขาเปนภาคีสนธิสัญญา ซึ่งกระบวนการในการทําสนธิสัญญามี
หลายขั้นตอน นับตั้งแตการเจรจา การใหความยินยอมของรัฐเพื่อผูพันตามสนธิสัญญาโดย
การลงนาม การใหสัตยาบัน
การภาคยานุวัติ และบางรัฐอาจตั้งขอสงวน หรือตีความ
สนธิสัญญา และเมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนในการทําสัญญาครบถวนแลว ภาคีก็มีพันธกรณีที่
ตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาตอไป การเขาเปนภาคีของสนธิสัญญากอใหเกิดพันธกรณีที่ตอง
ปฏิบัติใหสอดคลอง กับสนธิสัญญา มิฉะนั้นอาจตองรับผิดในทางระหวางประเทศ ดังนั้น เมื่อ
ประเทศไทยเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ประเทศไทยก็ตองปฏิบัติตาม
พันธกรณีของสนธิสัญญาดังกลาว พันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของไทย
ในปจจุบันประเทศไทยเปนภาคีสนธิสัญญา ดานสิทธิมนุษยชนซึ่งสหประชาชาติถือเปน
สนธิสัญญาหลัก จํานวน 7 ฉบับไดแก
1.อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC)
อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the

2.
Elimination of All Forms of Discrimination Against Woman - CEDAW)
กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International
3.
Covernant on Civil and Political Rights - ICCPR)
กติกา ระหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International
4.
Covernant on Economics, Social and Cultural Rights - ICESCR)
อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกประติบติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention
ั
5.
on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - CERD)
อนุสัญญาตอ ตานการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม
6.หรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or
Degrading Treatment or Punishment - CAT)
อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with
7.
Disabilities - CRPD)
6

หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 200 กําหนดใหคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือ
ละเลยการกระทํา อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวาง
ประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย เปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่
เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการ
กระทําดังกลาวเพื่อให
ดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไข คณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภา
เพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป นอกจากคณะกรรมการจะมีอํานาจในการ ตรวจสอบและ
รายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และ ขอเสนอ
ในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและ
คุมครองสิทธิมนุษยชนดวย
อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC)
สาระสําคัญ
อนุสัญญาวาดวยเด็กประกอบดวย บทบัญญัติ 54 ขอ ไดแกเรืองเกี่ยวของกับสิทธิของ
่
เด็กโดยตรง ซึ่งเนนหลักพื้นฐาน 4 ประการ และแนวทางในการตีความอนุสัญญาทังฉบับ
้
ไดแก
1.การหามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนเทาเทียมกันโดย ไม

คํานึงถึงความแตกตางของเด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็น
ทางการเมือง ชาติพันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะ
อื่นๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา หรือผูปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อใหเด็กมีโอกาสที่
เทาเทียมกัน
2.การกระทําหรือการดําเนินการทั้งหลายตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็กเปนอันดับ
แรก
ิ
3.สิทธิในการมีชีวต การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม
4.สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเด็ก และการใหความสําคัญกับความคิด เหลานั้น
7

ประมวลจริยธรรม
กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่
ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 บัญญัติใหมี
ประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตํ าแหน งทางการเมื อ ง
ขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท โดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชเปนไป
อยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา
เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
ดังกลาว
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ.
2542 ประกอบกับมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ครั้งที่ 17/2553 เมื่อวันที่ 16
มิถุนายน พ.ศ. 2553 และครั้งที่ 18/2553 เมื่อวันที่ 23 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553 จึง
กําหนดมาตรฐาน ทางจริยธรรมขึ้นเปนประมวลจริยธรรมกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดังตอไปนี้

หมวด 1
บททั่วไป
ขอ 1 ประมวลจริยธรรมกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ของสํานักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินี้ ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษาเปนตนไป
ขอ 2 ในประมวลจริยธรรมนี้
“กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ” หมายความรวมถึง ประธานกรรมการ สิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ
“เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน และลูกจางของสํานักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“คานิยม” หมายความวา สิ่งที่กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของ
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
ยึดถือเปนเครื่องชวยตัดสินใจแลว
กําหนดการกระทําของตน
8

“จริยธรรม” หมายความวา ธรรมทีเปนขอประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎของ
่
ศีลธรรมสําหรับกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติจะตองยึดถือและปฏิบัติ
หมวด 2
ปณิธานและอุดมการณ
สวนที่ 1
ปณิธาน
ขอ 3 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ มีความปรารถนา มุงมั่นและ
ตั้งใจจะปกปองคุมครอง สนับสนุนและสงเสริมศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และ
ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
ไทย หรือตามกฎหมายไทยหรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติ
ตาม
สวนที่ 2
อุดมการณ
ขอ 4 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองเคารพศักดิ์ศรีความเปน
มนุษยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครอง ตาม
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศ
ไทย มีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม และจะยึดมั่นในหลักนิติธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน
ของประเทศชาติและประชาชน
หมวด 3
มาตรฐานจริยธรรม
สวนที่ 1
มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก
ขอ 5 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่น
ในมาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้
(1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม
(2) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ
(3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและไมมีผล
ประโยชนทับซอน
(4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย
9

รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
รัฐธรรมนูญมาตราที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน
หมวด 3
สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
สวนที่ 1
บททั่วไป
มาตรา 26 การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้
มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รบรองไวโดยชัดแจง โดยปริยายหรือโดยคํา
ั
วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุมครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล
รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การบังคับ
ใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง
มาตรา 28 บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทา ที่
ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญหรือไมขัดตอศีลธรรม
อันดีของประชาชน
บุคคล ซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอ ตอสูคดีในศาลได
บุคคล ยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตองปฏิบติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ได
ั
โดยตรง หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใช
สิทธิและเสรีภาพตามที่รฐธรรมนูญนีรับรองไวแลว ใหการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้น
ั
้
เปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ
บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือจากรัฐ ในการใชสิทธิตามความ
ในหมวดนี้
10

มาตรา 29 การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว จะกระทํามิได เวน
แตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัตแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไว
ิ
และเทาที่จําเปน และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได
กฎหมาย ตามวรรคหนึงตองมีผลใชบังคับเปนการทั่วไป และไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณี
่
ใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปน การเจาะจง ทั้งตองระบุบทบัญญัติแหง
รัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวย
บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตาม
บทบัญญัติแหงกฎหมายดวยโดยอนุโลม
สวนที่ 2
ความเสมอภาค
มาตรา 30 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียม
กันชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่น กําเนิด
เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ
ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการ
่
เมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได
มาตรการ ที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและ เสรีภาพ
ไดเชนเดียวกับบุคคลอืน ยอมไมถอเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม
่
ื
มาตรา 31 บุคคลผูเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือ
ลูกจางขององคกรของรัฐ ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป
เวนแตที่จํากัดไวในกฎหมายหรือกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย
เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย หรือจริยธรรม
11

พระราชบัญญัตคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
ิ
พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่ เ ป น การสมควรให มี ก ฎหมายว า ด ว ยคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
แหงชาติ
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุ ค คล ซึ่ ง มาตรา 29 ประกอบกั บ มาตรา 35 และมาตรา 48 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง
ราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญ ญัติ นี้ เรียกว า “พระราชบัญ ญัติคณะกรรมการสิ ทธิ
มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“สิทธิมนุษยชน” หมายความวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและ
ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร
ไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติ
ตาม
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“ประธานกรรมการ” หมายความว า ประธานกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
แหงชาติ
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
12

ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
เรื่อง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของ
สวนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ พ.ศ. 2556
โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 256 และมาตรา 257 บัญญัติ
ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และฟองคดีตอศาลยุติธรรม
แทนผูเสียหาย เสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ ตอรัฐสภา
หรือคณะรัฐมนตรีสงเสริมการศึกษาวิจัย สงเสริมความรวมมือและประสานงานระหวางหนวย
ราชการ องคการเอกชน และองคการอื่น ในดานสิทธิมนุษยชน และจัดทํารายงานประจําป
เพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยไดบัญญัติใหมีสํานักงาน
คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ เป น หน ว ยงานอิ ส ระในการบริ ห ารงานบุ ค คล
การงบประมาณ และการดําเนินการอื่ น ประกอบกับพระราชบัญญั ติ คณะกรรมการสิ ทธิ
มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 18 บัญญัติใหสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
และใหมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รับคํา
รอง สืบสวนสอบสวน หรือตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามที่คณะกรรมการสิท ธิ
มนุษยชนแหงชาติมอบหมาย ศึกษาเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน ประสานงานกับ
หนวยงานตาง ๆ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชน
อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 วรรคสอง แห ง
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝายรัฐสภา พ.ศ. 2554 ประกอบกับมาตรา 19 แหง
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในการ
ประชุ มครั้ง ที่ 32/2556 เมื่ อ วัน พุธ ที่ 16 ตุลาคม 2556 จึ งออกประกาศแบ งสวนราชการ
ภายในและกําหนดอํานาจหน าที่ข องสว นราชการในสัง กั ด สํ านั ก งานคณะกรรมการสิ ท ธิ
มนุษยชนแหงชาติ ดังนี้
13

ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง
การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2556”
ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
ขอ 3 ใหยกเลิกประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบง
ส ว นราชการภายในและกํ า หนดอํ า นาจหน า ที่ ข องส ว นราชการในสั ง กั ด สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ขอ 4 ใหแบง ส ว นราชการภายในสํ านั ก งานคณะกรรมการสิท ธิ ม นุ ษ ยชน
แหงชาติ ดังตอไปนี้ โดยใหขึ้นตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(1) สํานักบริหารกลาง
(2) สํานักคุมครองสิทธิมนุษยชน
(3) สํานักกฎหมายและคดี
(4) สํานักวิจัยและวิชาการ
(5) สํานักสงเสริมและประสานงานเครือขาย
(6) สํานักสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ
(7) กลุมงานอํานวยการกิจการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(8) หนวยตรวจสอบภายใน
(9) กลุมงานติดตามและสารบบสํานวน
ขอ 5 สํานักบริหารกลาง มีอํานาจหนาที่ ดังนี้
(1) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป งานอาคารสถานที่
และยานพาหนะ งานพิธการ งานรักษาความปลอดภัย งานชวยอํานวยการ และปฏิบัติงานใน
ี
ฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(2) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน
แหงชาติ ในฐานะองคกรกลางการบริหารงานบุคคล (ก.ส.)
(3) จั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร ด า นการพั ฒ นาระบบงานของสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(4) จัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล รวมทั้งการเสริมสรางวินัย
และระบบคุณธรรม
14

(5) พั ฒ นาระบบและจั ด ทํ า คํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการของสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติตามคํารับรองการปฏิบัติ
ราชการ
(6) จัดทําแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการประจําป ประสานนโยบายและ
แผนไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งเรงรัด ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน
(7) บริหารงบประมาณและแผนการเงิน ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี
การงบประมาณ และการพัสดุ
(8) จัดทําแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล
(9) จัดการฝกอบรม พัฒนาศักยภาพบุคลากร และติดตามประเมินผลการ
พัฒนาบุคลากร
(10) ปฏิบั ติงานที่มิไดกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใดของ
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
(11) รวมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ
หรือตามที่ไดรับมอบหมาย
ใหสํานักบริหารกลาง แบงออกเปน 6 กลุมงาน ดังนี้
(1) กลุมงานบริหารทั่วไป มีอํานาจหนาที่ ดังนี้
(ก) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่ ว ไป และงานช ว ย
อํานวยการ
(ข) ปฏิบัติงานในฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ และติดตามการดําเนินการตามนโยบาย คําสั่ง หรือการมอบหมายของ
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและรายงานความกาวหนา พรอมทั้งจัดทํา
รายงานผลการดําเนินงาน
(ค) สนับสนุนงานเลขานุการของผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ
(ง) สนับสนุนการดําเนินงานพระราชพิธี รัฐพิธี ศาสนพิธี และพิธีการตางๆ
(จ) ร ว มปฏิ บั ติ ง านหรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น ที่
เกี่ยวของหรือตามที่ไดรับมอบหมาย
(2) กลุมงานบริหารงานทรัพยากรบุคคล มีอํานาจหนาที่ ดังนี้
(ก) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล
รวมทั้งการเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม
15

ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
วาดวยขอมูลขาวสารของราชการ
พ.ศ. 2555
เพื่อใหการบริการ การจัดระบบ การขอ การอนุญาตและการบริการขอมู ล
ขาวสารของราชการที่อยูในความรับผิดชอบของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติเปนไปดวยความเรียบรอย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามกฎหมายและ
ระเบียบของราชการ
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 และมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร
ของราชการ พ.ศ. 2540 ประกอบกับขอ 4 ของประกาศคณะกรรมการขอมูลขาวสารของ
ราชการ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการไวให
ประชาชนเขาตรวจดู ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2541 กําหนดวาการใหประชาชนเขาตรวจดู
ข อ มู ล ข า วสาร หน ว ยงานของรั ฐ จะกํ า หนดระเบี ย บปฏิ บั ติ เ พื่ อ รั ก ษาความเป น ระเบี ย บ
เรียบรอยหรือความปลอดภัยก็ได โดยคํานึงถึงความสะดวกของประชาชนผูขอตรวจดูขอมูล
ขาวสารดวย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2555”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง
ขอมูล หรือสิ่งใด ๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผาน
วิธีการ ใด ๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่
ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือ
โดยวิธีการอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไวปรากฏได
“ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความ
ครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ หรือสวนราชการในสังกัด ไมวาจะเปน
ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน
16

“ขอมู ลขาวสารส ว นบุค คล” หมายความว า ขอ มูลขา วสารที่ เกี่ ย วกั บ สิ่ ง
เฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือ
ประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทํา
ใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน หรือรูปถาย และให
หมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย ที่อยูใน
ความครอบครองหรือควบคุมดูแลของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการขอมูลขาวสารของ
ราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“ส ว นราชการในสั ง กั ด ” หมายความว า ส ว นราชการในสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่มีฐานะเปนสํานักหรือ กลุมงานหรือสวนราชการที่
เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา
“ผูข อรั บ บริก าร” หมายความว า บุ ค คลธรรมดา นิติ บุค คลตามกฎหมาย
หนวยงานราชการหนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ
ขอ 4 ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนผูรักษาการ
ตามระเบียบนี้และใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้
ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติมีอํานาจวินิจฉัยสั่งการตามที่เห็นสมควร
หมวด 1
คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ
ขอ 5 ใหมีคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการ
สิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรียกโดยยอวา “กข.สม.” ประกอบดวย เลขาธิการหรือรองเลขาธิการ
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่เลขาธิการมอบหมายเปนประธานกรรมการ รอง
เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักทุกสํานัก หรือหัวหนา
สวนราชการในสังกัดที่เรียกชื่ออยางอื่นที่เทียบเทาสํานัก ผูอํานวยการ กลุมงานอํานวยการ
17

ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
วาดวยหลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทาง
ของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ และ
พนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2554
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย
ประกอบกับมาตรา 4 และมาตรา 32 (4) แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วา
ดวยหลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ
พยานผูทรงคุณวุฒิ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2554”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
ข อ 3 ให ย กเลิ ก ระเบี ย บคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ ว า ด ว ย
หลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูทรงคุณวุฒิ พยาน
ผูเชี่ยวชาญ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2545
ขอ 4 ในระเบียบนี้
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“คณะอนุ ก รรมการ” หมายความว า คณะอนุ ก รรมการที่ ค ณะกรรมการ
แตงตั้งเพื่อปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย
“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“พยานบุคคล” หมายความวา บุคคลผูรูเห็นเหตุการณหรือทราบขอเท็จจริง
โดยตรง ซึ่ ง ได รั บ เชิ ญ จากคณะกรรมการ คณะอนุ ก รรมการ พนั ก งานเจ า หน า ที่ หรื อ
สํานักงาน เพื่อมาใหถอยคําทําความเห็น หรือเปนพยานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน
18

“พยานผูเชี่ยวชาญ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีความรูความเชี่ยวชาญ
หรือประสบการณเฉพาะดาน ที่คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการกําหนด
“พยานผูทรงคุณวุฒิ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีคุณวุฒิทางการศึกษา
และเป น ผู ที่ มี ค วามรู ค วามเชี่ ย วชาญระดั บ สู ง เฉพาะด า น ที่ ค ณะกรรมการหรื อ
คณะอนุกรรมการกําหนด
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลผูซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งขึ้น
เพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
“ผูรอง”
หมายความวา บุคคลผูที่ไดรับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนซึ่งไดยื่นคํารองไวตอคณะกรรมการ กรรมการ สํานักงาน หรือพนักงานเจาหนาที่
“คาเดินทาง” หมายความวา คาพาหนะ คาที่พัก และคาใชจายอื่น
“คาใชจายอื่น” หมายความวา คาใชจายอื่นที่มีความจําเปนตองจายอัน
เนื่องมาจากการเดินทาง หากไมจายคาใชจายดังกลาวจะไมสามารถเดินทางถึงที่หมายได
ขอ 5 ใหประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้
ขอ 6 กรณีมีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการเปนผู
วินิจฉัยชี้ขาด
หมวด 1
บททั่วไป
ขอ 7 การเดินทางไปราชการเพื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิด
สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของพยานบุ ค คล พยานผู เ ชี่ ย วชาญ พยานผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ หรื อ พนั ก งาน
เจาหนาที่ ใหขออนุมัติการเดินทางไปราชการและคาเดินทางจากสํานักงานตามระเบียบของ
ทางราชการ
ขอ 8 คาใชจายอื่นใดนอกเหนือจากที่ไดกําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหปฏิบัติ
ตามระเบียบแบบแผนของราชการ
ข อ 9 บรรดารู ป แบบ และรายการเอกสารประกอบการเบิ ก จ า ยเงิ น ตาม
ระเบียบนี้ใหเปนไปตามที่สํานักงานกําหนด
หมวด 2
พยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ และพยานผูทรงคุณวุฒิ
ขอ 10 ใหพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ หรือพยานผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับ
เชิญใหมาใหถอยคํา ทําความเห็น หรือเปนพยาน มีสิทธิไดรับคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทาง
ตามอัตราตอไปนี้
19

ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
วาดวยหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ
มนุษยชน พ.ศ. 2545
อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 23 วรรคสอง และวรรคสาม
มาตรา 24 วรรคสอง มาตรา 25 วรรคหนึ่ ง มาตรา 26 วรรคสองและวรรคสาม แห ง
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิ
มนุ ษ ยชนแห ง ชาติ โ ดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ จึ ง ออก
ระเบียบไว ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวา
ดวยหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2545”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
ขอ 3 ในระเบียบนี้
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน
แหงชาติ
“กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการ
แตงตั้งขึ้นเพื่อทําหนาที่สืบสวนและสอบสวนขอเท็จจริง รับฟงคําชี้แจงและพยานหลักฐาน
และจัดทํารายงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเสนอตอคณะกรรมการ
“สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
“คํารอง” หมายความวา เรื่องที่มีผูรองเรียน และใหหมายความถึงเรื่องที่
คณะกรรมการหยิบยกขึ้นพิจารณาดวย
“ผูรับผิดชอบคํารอง” หมายความวา เจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ และ/หรือคณะอนุกรรมการที่ไดรับมอบหมายใหเปนเจาของคํารอง
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการ
แตงตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
20

ระเบียบวุฒิสภา
วาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียนองคการเอกชน
ดานสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 37 ของพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 จึงออกระเบียบวุฒิสภา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้น
ทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบวาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียน
องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป
ขอ 3 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาจะรับขึ้นทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิ
มนุษยชนเฉพาะองคการเอกชนดังตอไปนี้
(1) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรงกับ
การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ที่เปนนิติบคคลตามกฎหมายไทย หรือ
ุ
(2) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งมีการดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรง
กับการ สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและมีคํารับรองของสวนราชการที่เกี่ยวของ วาได
ดําเนินกิจการดังกลาวมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป
องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนตาม (1) หรือ (2) ตองไมมีวัตถุประสงค
ในทางการเมืองหรือมุงคาหากําไรจากการดําเนินกิจการดังกลาว
ขอ 4 ใหองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ตามขอ 3 มาขึ้นทะเบียนและแจง
ชื่อผูแทนของตนแหงละหนึ่งคนตอเลขาธิการวุฒิสภา พรอมหลักฐานแสดงวาเปนองคการ
เอกชนดานสิทธิมนุษยชนตามขอ 3 ภายในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2542
ขอ 5 เมื่อองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนไดมาขึ้นทะเบียนและเสนอชื่อ
ผูแทนของตนตามขอ 4 แลว ใหเลขาธิการวุฒิสภาตรวจสอบความถูกตองและประกาศบัญชี
รายชื่อองคการเอกชนและผูแทนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนที่ไดขึ้นทะเบียนไว ณ
สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา
ใหเลขาธิการวุฒิสภาดําเนินการใหผูแทนองคการเอกชนตามวรรคหนึ่งเลือก
กั น เองเป น กรรมการสรรหากรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ ต ามมาตรา 37 แห ง
พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
21

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่
่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (8)

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

คู่มือเตรียมสอบ ข้อสอบนักวิชาการสิทธิมนุษยชน สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ปี 57

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 5 วิสัยทัศน 15 พันธกิจ 15 ทิศทางการดําเนินงาน 2554 – 2559 15 สัญลักษณ 17 สวนที่ 2 ความรูดานสิทธิมนุษยชน หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ 19 อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก 19 อนุสัญยาวาดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรี 20 กรอบความรวมมือในสถาบันสิทธิมนุษยชนเอเชีย-แปซิฟก 21 แนวทางการปฏิบัติและมาตรฐานสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ 21 สิทธิเกี่ยวกับน้ํา 22 ผูพิทักษสิทธิมนุษยชน 23 สิทธิของผูปวยทางจิต 24 สิทธิในการพัฒนา 25 สวนที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน ประมวลจริยธรรม 27 รัฐธรรมธูญ ที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน 33 พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน 50 พรฎ.คาตอบแทนและคาใชจายในการเดินทาง 64 ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เรื่องการปฏิบัติราชการแทนฯ 67 ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน เรื่องการแบงสวนราชการภายใน ฯ 69 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยการรักษาราชการแทนและการปบัติราชการแทน 98 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน ขอมูลขาวสารของราชการ 102 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยเงินคาตอบแทนพิเศษฯ 110 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธีการเสนอเรื่อง ตอศาลรัฐธรรมนูญ 114 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวงิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงวาดวย หลักเกณฑและวิธีการรับรององคการเอกชนฯ 134 138 ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและวิธีการตรวจสอบการละเมิด ระเบียบคณกรรมการสิทธิมนุษยชน วาดวยหลักเกณฑและการขึ้นทะเบียนองคการ เอกชนดานสิทธิมนุษชน 145 สวนที่ 4 ความถนัดทางเชาวนปญญา (Aptitude Test) อนุกรมหรือเลขเรียงลําดับ 148 วิธีบวก 148 วิธีลบ 153 วิธีคูณ 156 วิธียกกําลัง 161 วิธีหาร 169 เงื่อนไขภาษา 176 อุปมาอุปไมย 194 ความสัมพันธในลักษณะเปนสวนหนึ่งของสิ่งหนึ่ง 194 ความสัมพันธในลักษณะมีความหมายเหมือนกัน / ตรงขาม 195
  • 3. 3 ความสัมพันธในลักษณะหนาที่ ความสัมพันธในลักษณะสิ่งของประเภทเดียวกัน ความสัมพันธในลักษณะสถานที่ ความสัมพันธในเรื่องของลักษณะนาม เงื่อนไขสัญลักษณ คณิตศาสตรทั่วไป การหาผลบวกของเลขหลายจํานวนเรียงกัน การหาอัตราสวนและรอยละ ดอกเบี้ย การคํานวณระยะหางระหวางเสา การแจกบัตรอวยพรและการสัมผัสมือ การแปรผันตรงและการแปรผกผัน การแกสมการ การคํานวณเกี่ยวกับขาและหัวของสัตว คาเฉลี่ย การหา ครน. และหรม. ความสามารถทางดานเหตุผล การคํานวณหาพื้นที่และปริมาตร การวิเคราะหสรุปเหตุผลทางโอเปอรเรต ตาราง กราฟและแผนภูมิ สวนที่ 5 ความรูทางดานการใชภาษาไทย การใชคํา การใชคําราชาศัพท การสรุปใจความ สํานวน สุภาษิต คําพังเพย การเขียนสะกดการันต ประโยค ลักษณะภาษา การใชภาษา คําเปนคําตาย คําเชื่อม การสะกดคํา กการเขียนภาษาใหถูกตอง การเรียงประโยค บทความสั้น บทความยาว สวนที่ 6 ความรูพื้นฐานทางดานภาษาอังกฤษ ความรูพื้นฐานดานภาษาอังกฤษ แนวขอสอบ GRAMMAR AND VOCABULARY แนวขอสอบ VOCABULARY แนวขอสอบ Reading Comprehension 197 198 199 200 202 207 207 209 211 213 215 217 222 222 226 230 233 235 238 239 247 250 259 262 267 268 270 284 294 296 302 307 310 316 322 328 352 356 361
  • 4. 4 ความเปนมาของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ สัญลักษณ ภาพตราสัญลักษณของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ คําอธิบายความหมายของเครื่องหมาย รูปทรงดอกบัว คือ ความมีคุณธรรม ความเอื้ออาทรระหวางเพือนมนุษยอนเปนจริยวัตรอันดีงามของ ่ ั คนไทย รูปคนลอมเปนวงกลม คือ การสรางพลังความรวมมือกับทุกภาคสวนของสังคม เพื่อเสริมสรางวัฒนธรรมสิทธิ มนุษยชนใหเปนสวนสําคัญในกระบวนการพัฒนาประเทศ รูปมือ คือ การรวมมือกับทุกภาคสวนของสังคมทั้งในระดับประเทศและระหวางประเทศ ใน การโอบอุม คุมครองศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ และเสรีภาพ ดวยหลักแหงความ เสมอภาค และภราดรภาพ สีน้ําเงิน คือ สีของความเชื่อมั่นของประชาชนและทุกภาคสวนของสังคม คือ ความมุงมั่น อดทนในการทํางานเพื่อประชาชน  คือ ความสามัคคี และการประสานพลังอยางหนักแนนจากทุกภาคสวนของสังคม เพื่อ เสริมสรางวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชนในสังคมไทย เครื่อง หมายราชการดังกลาว นอกจากใชเปนตราประจําสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติแลว ใหใชเปนตราประจําตําแหนงประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ ตราประจําคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และตราประจําตําแหนง
  • 5. 5 ความรูดานสิทธิมนุษยชน  พันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนคืออะไร  สนธิ สัญญาดานสิทธิมนุษยชนมีลักษณะเปนสนธิสัญญาพหุภาคี กลาวคือ เปนสนธิสัญญาที่ มีรัฐมากกวาสองรัฐขึ้นไปเขาเปนภาคีสนธิสัญญา ซึ่งกระบวนการในการทําสนธิสัญญามี หลายขั้นตอน นับตั้งแตการเจรจา การใหความยินยอมของรัฐเพื่อผูพันตามสนธิสัญญาโดย การลงนาม การใหสัตยาบัน การภาคยานุวัติ และบางรัฐอาจตั้งขอสงวน หรือตีความ สนธิสัญญา และเมื่อปฏิบัติตามขั้นตอนในการทําสัญญาครบถวนแลว ภาคีก็มีพันธกรณีที่ ตองปฏิบัติตามสนธิสัญญาตอไป การเขาเปนภาคีของสนธิสัญญากอใหเกิดพันธกรณีที่ตอง ปฏิบัติใหสอดคลอง กับสนธิสัญญา มิฉะนั้นอาจตองรับผิดในทางระหวางประเทศ ดังนั้น เมื่อ ประเทศไทยเขาเปนภาคีสนธิสัญญาดานสิทธิมนุษยชน ประเทศไทยก็ตองปฏิบัติตาม พันธกรณีของสนธิสัญญาดังกลาว พันธกรณีระหวางประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนของไทย ในปจจุบันประเทศไทยเปนภาคีสนธิสัญญา ดานสิทธิมนุษยชนซึ่งสหประชาชาติถือเปน สนธิสัญญาหลัก จํานวน 7 ฉบับไดแก 1.อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกปฏิบัติตอสตรีในทุกรูปแบบ (Convention on the  2. Elimination of All Forms of Discrimination Against Woman - CEDAW) กติการะหวางประเทศวาดวยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (International 3. Covernant on Civil and Political Rights - ICCPR) กติกา ระหวางประเทศวาดวยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (International 4. Covernant on Economics, Social and Cultural Rights - ICESCR) อนุสัญญาวา ดวยการขจัดการเลือกประติบติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (Convention ั 5. on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination - CERD) อนุสัญญาตอ ตานการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษที่โหดรายไรมนุษยธรรม 6.หรือย่ํายีศักดิ์ศรี (Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment - CAT) อนุสัญญาวาดวยสิทธิของคนพิการ (Convention on the Rights of Persons with 7. Disabilities - CRPD)
  • 6. 6 หนาที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 200 กําหนดใหคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติ มีอํานาจหนาที่ในการตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือ ละเลยการกระทํา อันเปนการละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือไมเปนไปตามพันธกรณีระหวาง ประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทย เปนภาคี และเสนอมาตรการแกไขที่ เหมาะสมตอบุคคลหรือหนวยงานที่กระทําหรือละเลยการ กระทําดังกลาวเพื่อให ดําเนินการแกไข หากไมมีการดําเนินการแกไข คณะกรรมการตองรายงานตอรัฐสภา เพื่อใหรัฐสภาดําเนินการตอไป นอกจากคณะกรรมการจะมีอํานาจในการ ตรวจสอบและ รายงานการกระทําดังกลาวแลว ยังมีอํานาจหนาที่ในการเสนอแนะนโยบาย และ ขอเสนอ ในการปรับปรุงกฎหมาย กฎ หรือขอบังคับตอรัฐสภาและคณะรัฐมนตรี เพื่อสงเสริมและ คุมครองสิทธิมนุษยชนดวย อนุสัญญาวาดวยสิทธิเด็ก (Convention on the Rights of the Child - CRC) สาระสําคัญ อนุสัญญาวาดวยเด็กประกอบดวย บทบัญญัติ 54 ขอ ไดแกเรืองเกี่ยวของกับสิทธิของ ่ เด็กโดยตรง ซึ่งเนนหลักพื้นฐาน 4 ประการ และแนวทางในการตีความอนุสัญญาทังฉบับ ้ ไดแก 1.การหามเลือกปฏิบัติตอเด็กและการใหความสําคัญแกเด็กทุกคนเทาเทียมกันโดย ไม  คํานึงถึงความแตกตางของเด็ก ในเรื่องเชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็น ทางการเมือง ชาติพันธุ หรือสังคม ทรัพยสิน ความทุพพลภาพ การเกิด หรือสถานะ อื่นๆ ของเด็ก หรือบิดามารดา หรือผูปกครองทางกฎหมาย ทั้งนี้ เพื่อใหเด็กมีโอกาสที่ เทาเทียมกัน 2.การกระทําหรือการดําเนินการทั้งหลายตองคํานึงถึงประโยชนสูงสุดของเด็กเปนอันดับ แรก ิ 3.สิทธิในการมีชีวต การอยูรอด และการพัฒนาทางดานจิตใจ อารมณ สังคม 4.สิทธิในการแสดงความคิดเห็นของเด็ก และการใหความสําคัญกับความคิด เหลานั้น
  • 7. 7 ประมวลจริยธรรม กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 279 บัญญัติใหมี ประมวลจริยธรรมเพื่อกําหนดมาตรฐานทางจริยธรรมของผูดํารงตํ าแหน งทางการเมื อ ง ขาราชการหรือเจาหนาที่ของรัฐแตละประเภท โดยใหมีกลไกและระบบในการบังคับใชเปนไป อยางมีประสิทธิภาพรวมทั้งกําหนดขั้นตอนการลงโทษตามความรายแรงแหงการกระทํา เพื่อใหเปนไปตามเจตนารมณของบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ดังกลาว อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550มาตรา 15 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประกอบกับมติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ครั้งที่ 17/2553 เมื่อวันที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2553 และครั้งที่ 18/2553 เมื่อวันที่ 23 เดือน มิถุนายน พ.ศ. 2553 จึง กําหนดมาตรฐาน ทางจริยธรรมขึ้นเปนประมวลจริยธรรมกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ดังตอไปนี้ หมวด 1 บททั่วไป ขอ 1 ประมวลจริยธรรมกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ของสํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาตินี้ ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา นุเบกษาเปนตนไป ขอ 2 ในประมวลจริยธรรมนี้ “กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ” หมายความรวมถึง ประธานกรรมการ สิทธิ มนุษยชนแหงชาติ “เจาหนาที่” หมายความวา ขาราชการ พนักงาน และลูกจางของสํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คานิยม” หมายความวา สิ่งที่กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ยึดถือเปนเครื่องชวยตัดสินใจแลว กําหนดการกระทําของตน
  • 8. 8 “จริยธรรม” หมายความวา ธรรมทีเปนขอประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม กฎของ ่ ศีลธรรมสําหรับกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และเจาหนาที่ของสํานักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติจะตองยึดถือและปฏิบัติ หมวด 2 ปณิธานและอุดมการณ สวนที่ 1 ปณิธาน ขอ 3 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ มีความปรารถนา มุงมั่นและ ตั้งใจจะปกปองคุมครอง สนับสนุนและสงเสริมศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพ และ ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย หรือตามกฎหมายไทยหรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติ ตาม สวนที่ 2 อุดมการณ ขอ 4 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองเคารพศักดิ์ศรีความเปน มนุษยสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรอง หรือคุมครอง ตาม รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศ ไทย มีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติตาม และจะยึดมั่นในหลักนิติธรรม โดยคํานึงถึงผลประโยชน ของประเทศชาติและประชาชน หมวด 3 มาตรฐานจริยธรรม สวนที่ 1 มาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก ขอ 5 กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและเจาหนาที่ตองปฏิบัติหนาที่โดยยึดมั่น ในมาตรฐานจริยธรรมอันเปนคานิยมหลัก 9 ประการ ดังนี้ (1) การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม (2) การมีจิตสํานึกที่ดี ซื่อสัตย สุจริตและรับผิดชอบ (3) การยึดถือประโยชนของประเทศชาติเหนือกวาประโยชนสวนตนและไมมีผล ประโยชนทับซอน (4) การยืนหยัดทําในสิ่งที่ถูกตอง เปนธรรม และถูกกฎหมาย
  • 9. 9 รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 รัฐธรรมนูญมาตราที่เกี่ยวของกับสิทธิมนุษยชน หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย สวนที่ 1 บททั่วไป มาตรา 26 การใชอํานาจโดยองคกรของรัฐทุกองคกร ตองคํานึงถึงศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิและเสรีภาพ ตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญนี้ มาตรา 27 สิทธิและเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รบรองไวโดยชัดแจง โดยปริยายหรือโดยคํา ั วินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญ ยอมไดรับความคุมครองและผูกพันรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองคกรตามรัฐธรรมนูญ และหนวยงานของรัฐโดยตรงในการตรากฎหมาย การบังคับ ใชกฎหมาย และการตีความกฎหมายทั้งปวง มาตรา 28 บุคคลยอมอางศักดิ์ศรีความเปนมนุษยหรือใชสิทธิและเสรีภาพของตนไดเทา ที่ ไมละเมิดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลอื่น ไมเปนปฏิปกษตอรัฐธรรมนูญหรือไมขัดตอศีลธรรม อันดีของประชาชน บุคคล ซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพที่รัฐธรรมนูญนี้รับรองไว สามารถยกบทบัญญัติแหง รัฐธรรมนูญนี้เพื่อใชสิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเปนขอ ตอสูคดีในศาลได บุคคล ยอมสามารถใชสิทธิทางศาลเพื่อบังคับใหรัฐตองปฏิบติตามบทบัญญัติในหมวดนี้ ได ั โดยตรง หากการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องใดมีกฎหมายบัญญัติรายละเอียดแหงการใช สิทธิและเสรีภาพตามที่รฐธรรมนูญนีรับรองไวแลว ใหการใชสิทธิและเสรีภาพในเรื่องนั้น ั ้ เปนไปตามที่กฎหมายบัญญัติ บุคคลยอมมีสิทธิไดรับการสงเสริม สนับสนุน และชวยเหลือจากรัฐ ในการใชสิทธิตามความ ในหมวดนี้
  • 10. 10 มาตรา 29 การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว จะกระทํามิได เวน แตโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัตแหงกฎหมาย เฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี้กําหนดไว ิ และเทาที่จําเปน และจะกระทบกระเทือนสาระสําคัญแหงสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได กฎหมาย ตามวรรคหนึงตองมีผลใชบังคับเปนการทั่วไป และไมมุงหมายใหใชบังคับแกกรณี ่ ใดกรณีหนึ่งหรือแกบุคคลใดบุคคลหนึ่งเปน การเจาะจง ทั้งตองระบุบทบัญญัติแหง รัฐธรรมนูญที่ใหอํานาจในการตรากฎหมายนั้นดวย บทบัญญัติในวรรคหนึ่งและวรรคสองใหนํามาใชบังคับกับกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตาม บทบัญญัติแหงกฎหมายดวยโดยอนุโลม สวนที่ 2 ความเสมอภาค มาตรา 30 บุคคลยอมเสมอกันในกฎหมายและไดรับความคุมครองตามกฎหมายเทาเทียม กันชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตอบุคคลเพราะเหตุแหงความแตกตางในเรื่องถิ่น กําเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชือทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการ ่ เมืองอันไมขัดตอบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ จะกระทํามิได มาตรการ ที่รัฐกําหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือสงเสริมใหบุคคลสามารถใชสิทธิและ เสรีภาพ ไดเชนเดียวกับบุคคลอืน ยอมไมถอเปนการเลือกปฏิบัติโดยไมเปนธรรมตามวรรคสาม ่ ื มาตรา 31 บุคคลผูเปนทหาร ตํารวจ ขาราชการ เจาหนาที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือ ลูกจางขององคกรของรัฐ ยอมมีสิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป เวนแตที่จํากัดไวในกฎหมายหรือกฎที่ออกโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหง กฎหมาย เฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย หรือจริยธรรม
  • 11. 11 พระราชบัญญัตคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ิ พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด เกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่ เ ป น การสมควรให มี ก ฎหมายว า ด ว ยคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน แหงชาติ พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและเสรีภาพ ของบุ ค คล ซึ่ ง มาตรา 29 ประกอบกั บ มาตรา 35 และมาตรา 48 ของรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญ ญัติ นี้ เรียกว า “พระราชบัญ ญัติคณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “สิทธิมนุษยชน” หมายความวา ศักดิ์ศรีความเปนมนุษย สิทธิ เสรีภาพและ ความเสมอภาคของบุคคลที่ไดรับการรับรองหรือคุมครองตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักร ไทย หรือตามกฎหมายไทย หรือตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะตองปฏิบัติ ตาม “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความว า ประธานกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ
  • 12. 12 ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของ สวนราชการในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ พ.ศ. 2556 โดยที่รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 256 และมาตรา 257 บัญญัติ ใหคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติมีอํานาจหนาที่ตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เสนอเรื่องพรอมดวยความเห็นตอศาลรัฐธรรมนูญ ศาลปกครอง และฟองคดีตอศาลยุติธรรม แทนผูเสียหาย เสนอแนะนโยบาย และขอเสนอในการปรับปรุงกฎหมาย และกฎ ตอรัฐสภา หรือคณะรัฐมนตรีสงเสริมการศึกษาวิจัย สงเสริมความรวมมือและประสานงานระหวางหนวย ราชการ องคการเอกชน และองคการอื่น ในดานสิทธิมนุษยชน และจัดทํารายงานประจําป เพื่อประเมินสถานการณดานสิทธิมนุษยชนภายในประเทศ โดยไดบัญญัติใหมีสํานักงาน คณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ เป น หน ว ยงานอิ ส ระในการบริ ห ารงานบุ ค คล การงบประมาณ และการดําเนินการอื่ น ประกอบกับพระราชบัญญั ติ คณะกรรมการสิ ทธิ มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 18 บัญญัติใหสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติมีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการทั่วไปของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ และใหมีอํานาจหนาที่รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รับคํา รอง สืบสวนสอบสวน หรือตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนตามที่คณะกรรมการสิท ธิ มนุษยชนแหงชาติมอบหมาย ศึกษาเผยแพรความรูดานสิทธิมนุษยชน ประสานงานกับ หนวยงานตาง ๆ เพื่อคุมครองสิทธิมนุษยชน อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา 12 และมาตรา 15 วรรคสอง แห ง พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการฝายรัฐสภา พ.ศ. 2554 ประกอบกับมาตรา 19 แหง พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ในการ ประชุ มครั้ง ที่ 32/2556 เมื่ อ วัน พุธ ที่ 16 ตุลาคม 2556 จึ งออกประกาศแบ งสวนราชการ ภายในและกําหนดอํานาจหน าที่ข องสว นราชการในสัง กั ด สํ านั ก งานคณะกรรมการสิ ท ธิ มนุษยชนแหงชาติ ดังนี้
  • 13. 13 ขอ 1 ประกาศนี้เรียกวา “ประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบงสวนราชการภายในและกําหนดอํานาจหนาที่ของสวนราชการในสังกัดสํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2556” ขอ 2 ประกาศนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ใหยกเลิกประกาศคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรื่อง การแบง ส ว นราชการภายในและกํ า หนดอํ า นาจหน า ที่ ข องส ว นราชการในสั ง กั ด สํ า นั ก งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2553 ลงวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ขอ 4 ใหแบง ส ว นราชการภายในสํ านั ก งานคณะกรรมการสิท ธิ ม นุ ษ ยชน แหงชาติ ดังตอไปนี้ โดยใหขึ้นตรงตอเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (1) สํานักบริหารกลาง (2) สํานักคุมครองสิทธิมนุษยชน (3) สํานักกฎหมายและคดี (4) สํานักวิจัยและวิชาการ (5) สํานักสงเสริมและประสานงานเครือขาย (6) สํานักสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ (7) กลุมงานอํานวยการกิจการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (8) หนวยตรวจสอบภายใน (9) กลุมงานติดตามและสารบบสํานวน ขอ 5 สํานักบริหารกลาง มีอํานาจหนาที่ ดังนี้ (1) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่วไป งานอาคารสถานที่ และยานพาหนะ งานพิธการ งานรักษาความปลอดภัย งานชวยอํานวยการ และปฏิบัติงานใน ี ฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (2) ดํ า เนิ น การเกี่ ย วกั บ งานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน แหงชาติ ในฐานะองคกรกลางการบริหารงานบุคคล (ก.ส.) (3) จั ด ทํ า แผนยุ ท ธศาสตร ด า นการพั ฒ นาระบบงานของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (4) จัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล รวมทั้งการเสริมสรางวินัย และระบบคุณธรรม
  • 14. 14 (5) พั ฒ นาระบบและจั ด ทํ า คํ า รั บ รองการปฏิ บั ติ ร าชการของสํ า นั ก งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ รวมทั้งประเมินผลการปฏิบัติตามคํารับรองการปฏิบัติ ราชการ (6) จัดทําแผนยุทธศาสตรและแผนปฏิบัติการประจําป ประสานนโยบายและ แผนไปสูการปฏิบัติ รวมทั้งเรงรัด ติดตาม และประเมินผลการดําเนินงานตามแผน (7) บริหารงบประมาณและแผนการเงิน ดําเนินการเกี่ยวกับการเงิน การบัญชี การงบประมาณ และการพัสดุ (8) จัดทําแผนการพัฒนาทรัพยากรบุคคล (9) จัดการฝกอบรม พัฒนาศักยภาพบุคลากร และติดตามประเมินผลการ พัฒนาบุคลากร (10) ปฏิบั ติงานที่มิไดกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของสวนราชการใดของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ (11) รวมปฏิบัติงานหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือตามที่ไดรับมอบหมาย ใหสํานักบริหารกลาง แบงออกเปน 6 กลุมงาน ดังนี้ (1) กลุมงานบริหารทั่วไป มีอํานาจหนาที่ ดังนี้ (ก) ดําเนินการเกี่ยวกับงานสารบรรณ งานบริหารทั่ ว ไป และงานช ว ย อํานวยการ (ข) ปฏิบัติงานในฐานะฝายเลขานุการของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ และติดตามการดําเนินการตามนโยบาย คําสั่ง หรือการมอบหมายของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติและรายงานความกาวหนา พรอมทั้งจัดทํา รายงานผลการดําเนินงาน (ค) สนับสนุนงานเลขานุการของผูบริหารสํานักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ (ง) สนับสนุนการดําเนินงานพระราชพิธี รัฐพิธี ศาสนพิธี และพิธีการตางๆ (จ) ร ว มปฏิ บั ติ ง านหรื อ สนั บ สนุ น การปฏิ บั ติ ง านของหน ว ยงานอื่ น ที่ เกี่ยวของหรือตามที่ไดรับมอบหมาย (2) กลุมงานบริหารงานทรัพยากรบุคคล มีอํานาจหนาที่ ดังนี้ (ก) ดําเนินการเกี่ยวกับการจัดระบบงานและบริหารงานทรัพยากรบุคคล รวมทั้งการเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม
  • 15. 15 ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2555 เพื่อใหการบริการ การจัดระบบ การขอ การอนุญาตและการบริการขอมู ล ขาวสารของราชการที่อยูในความรับผิดชอบของ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติเปนไปดวยความเรียบรอย รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ถูกตองตามกฎหมายและ ระเบียบของราชการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 18 แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 มาตรา 7 และมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร ของราชการ พ.ศ. 2540 ประกอบกับขอ 4 ของประกาศคณะกรรมการขอมูลขาวสารของ ราชการ เรื่อง หลักเกณฑและวิธีการเกี่ยวกับการจัดใหมีขอมูลขาวสารของราชการไวให ประชาชนเขาตรวจดู ลงวันที่ 24 กุมภาพันธ 2541 กําหนดวาการใหประชาชนเขาตรวจดู ข อ มู ล ข า วสาร หน ว ยงานของรั ฐ จะกํ า หนดระเบี ย บปฏิ บั ติ เ พื่ อ รั ก ษาความเป น ระเบี ย บ เรียบรอยหรือความปลอดภัยก็ได โดยคํานึงถึงความสะดวกของประชาชนผูขอตรวจดูขอมูล ขาวสารดวย สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ จึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติวาดวยขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2555” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “ขอมูลขาวสาร” หมายความวา สิ่งที่สื่อความหมายใหรูเรื่องราวขอเท็จจริง ขอมูล หรือสิ่งใด ๆ ไมวาการสื่อความหมายนั้นจะทําไดโดยสภาพของสิ่งนั้นเองหรือโดยผาน วิธีการ ใด ๆ และไมวาจะไดจัดทําไวในรูปของเอกสาร แฟม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถาย ฟลม การบันทึกภาพหรือเสียง การบันทึกโดยเครื่องคอมพิวเตอร หรือ โดยวิธีการอื่นใดที่ทําใหสิ่งที่บันทึกไวปรากฏได “ขอมูลขาวสารของราชการ” หมายความวา ขอมูลขาวสารที่อยูในความ ครอบครอง หรือควบคุมดูแลของหนวยงานของรัฐ หรือสวนราชการในสังกัด ไมวาจะเปน ขอมูลขาวสารเกี่ยวกับการดําเนินงานของรัฐ หรือขอมูลขาวสารเกี่ยวกับเอกชน
  • 16. 16 “ขอมู ลขาวสารส ว นบุค คล” หมายความว า ขอ มูลขา วสารที่ เกี่ ย วกั บ สิ่ ง เฉพาะตัวของบุคคล เชน การศึกษา ฐานะการเงิน ประวัติสุขภาพ ประวัติอาชญากรรม หรือ ประวัติการทํางาน บรรดาที่มีชื่อของผูนั้น หรือมีเลขหมาย รหัส หรือสิ่งบอกลักษณะอื่นที่ทํา ใหรูตัวผูนั้นได เชน ลายพิมพนิ้วมือ แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน หรือรูปถาย และให หมายความรวมถึงขอมูลขาวสารเกี่ยวกับสิ่งเฉพาะตัวของผูที่ถึงแกกรรมแลวดวย ที่อยูใน ความครอบครองหรือควบคุมดูแลของสํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการขอมูลขาวสารของ ราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ส ว นราชการในสั ง กั ด ” หมายความว า ส ว นราชการในสํ า นั ก งาน คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่มีฐานะเปนสํานักหรือ กลุมงานหรือสวนราชการที่ เรียกชื่ออยางอื่นที่มีฐานะเทียบเทา “ผูข อรั บ บริก าร” หมายความว า บุ ค คลธรรมดา นิติ บุค คลตามกฎหมาย หนวยงานราชการหนวยงานของรัฐหรือรัฐวิสาหกิจ ขอ 4 ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ เปนผูรักษาการ ตามระเบียบนี้และใหมีอํานาจตีความและวินิจฉัยปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ในกรณีที่ไมสามารถปฏิบัติตามระเบียบนี้ได ใหเลขาธิการคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติมีอํานาจวินิจฉัยสั่งการตามที่เห็นสมควร หมวด 1 คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ ขอ 5 ใหมีคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ สํานักงานคณะกรรมการ สิทธิมนุษยชนแหงชาติ เรียกโดยยอวา “กข.สม.” ประกอบดวย เลขาธิการหรือรองเลขาธิการ คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติที่เลขาธิการมอบหมายเปนประธานกรรมการ รอง เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ ผูอํานวยการสํานักทุกสํานัก หรือหัวหนา สวนราชการในสังกัดที่เรียกชื่ออยางอื่นที่เทียบเทาสํานัก ผูอํานวยการ กลุมงานอํานวยการ
  • 17. 17 ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทาง ของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ และ พนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2554 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 257 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย ประกอบกับมาตรา 4 และมาตรา 32 (4) แหงพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ พ.ศ. 2542 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วา ดวยหลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ พยานผูทรงคุณวุฒิ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2554” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป ข อ 3 ให ย กเลิ ก ระเบี ย บคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ ว า ด ว ย หลักเกณฑและวิธีจายคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทางของพยานบุคคล พยานผูทรงคุณวุฒิ พยาน ผูเชี่ยวชาญ และพนักงานเจาหนาที่ พ.ศ. 2545 ขอ 4 ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะอนุ ก รรมการ” หมายความว า คณะอนุ ก รรมการที่ ค ณะกรรมการ แตงตั้งเพื่อปฏิบัติงานตามที่มอบหมาย “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “พยานบุคคล” หมายความวา บุคคลผูรูเห็นเหตุการณหรือทราบขอเท็จจริง โดยตรง ซึ่ ง ได รั บ เชิ ญ จากคณะกรรมการ คณะอนุ ก รรมการ พนั ก งานเจ า หน า ที่ หรื อ สํานักงาน เพื่อมาใหถอยคําทําความเห็น หรือเปนพยานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ มนุษยชน
  • 18. 18 “พยานผูเชี่ยวชาญ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีความรูความเชี่ยวชาญ หรือประสบการณเฉพาะดาน ที่คณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการกําหนด “พยานผูทรงคุณวุฒิ” หมายความวา พยานบุคคลที่มีคุณวุฒิทางการศึกษา และเป น ผู ที่ มี ค วามรู ค วามเชี่ ย วชาญระดั บ สู ง เฉพาะด า น ที่ ค ณะกรรมการหรื อ คณะอนุกรรมการกําหนด “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลผูซึ่งคณะกรรมการแตงตั้งขึ้น เพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน “ผูรอง” หมายความวา บุคคลผูที่ไดรับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิ มนุษยชนซึ่งไดยื่นคํารองไวตอคณะกรรมการ กรรมการ สํานักงาน หรือพนักงานเจาหนาที่ “คาเดินทาง” หมายความวา คาพาหนะ คาที่พัก และคาใชจายอื่น “คาใชจายอื่น” หมายความวา คาใชจายอื่นที่มีความจําเปนตองจายอัน เนื่องมาจากการเดินทาง หากไมจายคาใชจายดังกลาวจะไมสามารถเดินทางถึงที่หมายได ขอ 5 ใหประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติรักษาการตามระเบียบนี้ ขอ 6 กรณีมีปญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ใหคณะกรรมการเปนผู วินิจฉัยชี้ขาด หมวด 1 บททั่วไป ขอ 7 การเดินทางไปราชการเพื่อปฏิบัติงานเกี่ยวกับการตรวจสอบการละเมิด สิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนของพยานบุ ค คล พยานผู เ ชี่ ย วชาญ พยานผู ท รงคุ ณ วุ ฒิ หรื อ พนั ก งาน เจาหนาที่ ใหขออนุมัติการเดินทางไปราชการและคาเดินทางจากสํานักงานตามระเบียบของ ทางราชการ ขอ 8 คาใชจายอื่นใดนอกเหนือจากที่ไดกําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหปฏิบัติ ตามระเบียบแบบแผนของราชการ ข อ 9 บรรดารู ป แบบ และรายการเอกสารประกอบการเบิ ก จ า ยเงิ น ตาม ระเบียบนี้ใหเปนไปตามที่สํานักงานกําหนด หมวด 2 พยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ และพยานผูทรงคุณวุฒิ ขอ 10 ใหพยานบุคคล พยานผูเชี่ยวชาญ หรือพยานผูทรงคุณวุฒิซึ่งไดรับ เชิญใหมาใหถอยคํา ทําความเห็น หรือเปนพยาน มีสิทธิไดรับคาเบี้ยเลี้ยงและคาเดินทาง ตามอัตราตอไปนี้
  • 19. 19 ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ วาดวยหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิ มนุษยชน พ.ศ. 2545 อาศั ย อํ า นาจตามความในมาตรา 4 มาตรา 23 วรรคสอง และวรรคสาม มาตรา 24 วรรคสอง มาตรา 25 วรรคหนึ่ ง มาตรา 26 วรรคสองและวรรคสาม แห ง พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 ประธานกรรมการสิทธิ มนุ ษ ยชนแห ง ชาติ โ ดยความเห็น ชอบของคณะกรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ จึ ง ออก ระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติวา ดวยหลักเกณฑและวิธีการในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2545” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เปนตนไป ขอ 3 ในระเบียบนี้ “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “ประธานกรรมการ” หมายความวา ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชน แหงชาติ “กรรมการ” หมายความวา กรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คณะอนุกรรมการ” หมายความวา คณะอนุกรรมการที่คณะกรรมการ แตงตั้งขึ้นเพื่อทําหนาที่สืบสวนและสอบสวนขอเท็จจริง รับฟงคําชี้แจงและพยานหลักฐาน และจัดทํารายงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชนเสนอตอคณะกรรมการ “สํานักงาน” หมายความวา สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “เลขาธิการ” หมายความวา เลขาธิการคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ “คํารอง” หมายความวา เรื่องที่มีผูรองเรียน และใหหมายความถึงเรื่องที่ คณะกรรมการหยิบยกขึ้นพิจารณาดวย “ผูรับผิดชอบคํารอง” หมายความวา เจาหนาที่สํานักงานคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ และ/หรือคณะอนุกรรมการที่ไดรับมอบหมายใหเปนเจาของคํารอง “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา บุคคลภายนอกซึ่งคณะกรรมการ แตงตั้งขึ้นเพื่อชวยเหลือการปฏิบัติงานในการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
  • 20. 20 ระเบียบวุฒิสภา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียนองคการเอกชน ดานสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542 อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 37 ของพระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิ มนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542 จึงออกระเบียบวุฒิสภา วาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้น ทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบวาดวยหลักเกณฑและวิธีการขึ้นทะเบียน องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน พ.ศ. 2542” ขอ 2 ระเบียบนี้ใหใชบังคับตั้งแตวันประกาศเปนตนไป ขอ 3 สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภาจะรับขึ้นทะเบียนองคการเอกชนดานสิทธิ มนุษยชนเฉพาะองคการเอกชนดังตอไปนี้ (1) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรงกับ การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน ที่เปนนิติบคคลตามกฎหมายไทย หรือ ุ (2) องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนซึ่งมีการดําเนินกิจการเกี่ยวของโดยตรง กับการ สงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและมีคํารับรองของสวนราชการที่เกี่ยวของ วาได ดําเนินกิจการดังกลาวมาแลวเปนเวลาไมนอยกวาหนึ่งป องคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนตาม (1) หรือ (2) ตองไมมีวัตถุประสงค ในทางการเมืองหรือมุงคาหากําไรจากการดําเนินกิจการดังกลาว ขอ 4 ใหองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชน ตามขอ 3 มาขึ้นทะเบียนและแจง ชื่อผูแทนของตนแหงละหนึ่งคนตอเลขาธิการวุฒิสภา พรอมหลักฐานแสดงวาเปนองคการ เอกชนดานสิทธิมนุษยชนตามขอ 3 ภายในวันที่ 25 ธันวาคม พ.ศ. 2542 ขอ 5 เมื่อองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนไดมาขึ้นทะเบียนและเสนอชื่อ ผูแทนของตนตามขอ 4 แลว ใหเลขาธิการวุฒิสภาตรวจสอบความถูกตองและประกาศบัญชี รายชื่อองคการเอกชนและผูแทนองคการเอกชนดานสิทธิมนุษยชนที่ไดขึ้นทะเบียนไว ณ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ใหเลขาธิการวุฒิสภาดําเนินการใหผูแทนองคการเอกชนตามวรรคหนึ่งเลือก กั น เองเป น กรรมการสรรหากรรมการสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนแห ง ชาติ ต ามมาตรา 37 แห ง พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ พ.ศ. 2542
  • 21. 21 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชือ และอีเมลลที่ ่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740