SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 24
Descargar para leer sin conexión
ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5
คานิยม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5
วิสัยทัศน กรมสนับสนุนบริการบริการสุขภาพ 5
พันธกิจ 5
อํานาจหนาที่ 5
ประเด็นยุทธศาสตร 8
โครงสรางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 8
นโยบาย/แผนธรรมาภิบาล 9
นโยบายกํากับองคการที่ดี 9
ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 13
สถานการณการเสริมสรางสุขภาพและปองกันโรค 14
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร 29
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 33
พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 52
พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2556 82
แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 105
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 111
ประวัติของคอมพิวเตอร 111
ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) 115
อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร 123
เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร 130
ระบบฐานขอมูล และการใชฐานขอมูล 131
แฟมขอมูลและการจัดการแฟมขอมูล 132
การจัดการของแฟมขอมูล (File Organizing) 135
ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ประเภทการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 139
ระบบฐานขอมูลและการใชฐานขอมูล 142
ระบบเครือขาย 143
อินเตอรเน็ต (Internet) 147
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 149
ประเภทขาวสารขอมูล 151
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) 158
โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ 162
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร 166
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) 167
ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) 169
ไมโครซอฟท เอ็กเซล (Microsoft Excel) 172
ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท (Microsoft PowerPoint) 173
สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 186
ระเบียบวาดวยพนักงานราชการ 195
แนวขอสอบ พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 206
แนวขอสอบ ระเบียบวาดวยพนักงานราชการ 211
สวนที่ 5 ตัวอยางแนวขอสอบ
แนวขอสอบ Microsoft Excel 175
แนวขอสอบ Microsoft Word 179
แนวขอสอบ Microsoft PowerPoint 184
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 1 211
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 2 220
แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 3 239
ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
คานิยม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
“มุงมั่นดวยใจ ใฝรูสรางสรรค รวมแรงใจกัน ยึดมั่นคุณธรรม นําจิตบริการ”
วิสัยทัศน กรมสนับสนุนบริการบริการสุขภาพ
“เปนองคกรหลักดานบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน”
พันธกิจ
1.สงเสริม สนับสนุน ควบคุม กํากับ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเปนไปตาม
กฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหสถานบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน
2.สงเสริม สนับสนุน พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ภาคี
เครือขายและทองถิ่นในการดําเนินงานสาธารณสุขมูลฐานรวมทั้งการจัดการน วัตรกรรม
สุขภาพชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองดานสุขภาพของประชาชน
3.สงเสริม สนับสนุน และพัฒนางานดานสุขศึกษาเชิงรุก เพื่อพัฒนาพฤติกรรมดาน
สุขภาพที่ถูกตองของประชาชน
4.ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา ระบบบริหารสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน
รวมทั้งดําเนินการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีแกองคกรภาครัฐ องคกรภาคเอกชน
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน
อํานาจหนาที่
1.ดําเนินการเกี่ยวกับงาน ดานกฎหมายตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล
กฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายวาดวยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และ
กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ
2.ดําเนินพัฒนากฎหมายทั้งในประเทศและระหวางประเทศที่อยูในความรับผิดชอบ
ของกรมเพื่อรองรับการเขาสูระดับสากล
3.ประสานความรวมมือดานกฎหมายเกี่ยวกับการบริการสุขภาพระหวางประเทศ
4.ดําเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา การดําเนินมาตรการทางปกครอง การ
ระงับขอ พิพาท งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพง ทางอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่น
ที่อยูในอํานาจหนาที่ของกรม
ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
5.ดําเนินการเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การ
คุมครองระบบคุณธรรม และดําเนินการเกี่ยวกับการเสริมสรางวินัย คุณธรรม และ
จรรยาบรรณของขาราชการและ ลูกจางของกรม
6.ดําเนินการเรื่องรองเรียนและประสานการเจรจาไกลเกลี่ย
7.ดําเนินการบังคับใชกฎหมายเพื่อคุมครองและพิทักษสิทธิ์ผูรับบริการดานบริการ
สุขภาพ
8.การใหคําปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย รวมทั้งการเผยแพรความรูทาง
กฎหมายที่เกี่ยวของ
9.ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่
ไดรับมอบหมาย
ฝายบริหารทั่วไป
มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ ราง โตตอบหนังสือราชการ
การรับ-สง จัดเก็บหนังสือเอกสารตางๆ งานแผนงาน งานงบประมาณ งานการเงินและบัญชี
งานพัสดุ งานบุคลากร งานการประชุม งานธุรการ รวบรวมขอมูลสถิติ งานบริหารทั่วไป
ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของทุกกลุม ประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ และ
งานที่ไดรับมอบหมาย
กลุมแผนงานและประเมินผล
1.วิเคราะห วางแผน จัดทําตัวชี้วัด ตามคํารับรอง คําของบประมาณ และประสาน
แผนงานโครงการของสํานักกฎหมายรวมทั้งเรงรัดติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของ
หนวยงาน
2.ติดตอ ประสานงานกับองคการหรือหนวยงานตางๆทั้งภายในและภายนอก
กลุมเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม
รับผิดชอบเกี่ยวกับ การพิจารณาเรื่องกลาวหารองเรียนดานวินัย การสืบสวน
ขอเท็จจริงการดําเนินการทางวินัยไมรายแรง การดําเนินการทางวินัยรายแรง การสั่งพัก
ราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอน การเสริมสรางและพัฒนาใหมีวินัยและการปองกัน
การกระทําผิดวินัย การใหคําปรึกษาและความเห็นทางดานวินัย การเผยแพรความรูทางดาน
วินัยและการรักษาวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การคุมครองระบบคุณธรรม การรักษา
จรรยาขาราชการและลูกจางของกรม และปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย
ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
นโยบายกํากับองคการที่ดี
1. ดานรัฐ สังคมและสิ่งแวดลอม
สรางระบบการมีสวนของภาคีเครือขายดานสุขภาพ โดยมุง เนน การหาฉันทามติที่
เกิดประโยชนตอสังคมไทย
2. ดานผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย
2.1 มุงมั่นสรางจิตสํานึกในการใหบริการ สามารถตอบสนอง ความตองการ
ของผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสียอยาง เสมอภาค
2.2 พัฒนาระบบการเรียนรูความตองการและความคาดหวัง ของผูรับบริการ
และความคาดหวังของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อสามารถตอบสนองได
ครอบคลุมทุกกลุม
2.3 ใหความสําคัญกับกระบวนการจัดการขอรองเรียน ขอ เสนอแนะคําชมเชย
เกี่ยวกับบริการ ของผูรับบริการและผูมี สวนไดสวนเสีย
3. ดานองคการ
3.1 มุงมั่นในการดําเนินงานตามภารกิจขององคการใหเปนที่ ยอมรับของ
สังคม และบรรลุผลสัมฤทธิ์ โดยใชทรัพยากรให เกิดประโยชนสูงสุดและเกิดความคุมคา
3.2 สรางและสนับสนุนการมีสวนรวมของทีมบุคลากรเพื่อให องคการมีความ
เขมแข็ง สามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด
3.3 สงเสริมใหเกิดระบบสรางจิตสํานึก คุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติ
ภารกิจของบุคลากร โดยยึดหลักธรรมาภิบาล
4. ดานผูปฏิบัติงาน
4.1 มุงมั่นสงเสริมใหบุคลากร มีสมรรถนะที่สามารถตอบ สนองความตองการ
และความคาดหวังของผูรับบริการ โดย ใหกระบวนการบริหารการจัดการความรูที่เหมาะสม
4.2 เสริมสรางบรรยากาศการเรียนรูขององคกร เพื่อเปน องคกรแหงการ
เรียนรู
หนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
สํานักบริหาร
1. ดําเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไปและปฏิบัติงานสารบรรณของกรม
2. ดําเนินการเกี่ยวกับงานชวยอํานวยการและงานเลขานุการของกรม
ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
ทิศทางการพัฒนาสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่
11 จากวิสัยทัศน “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม
และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” และกรอบยุทธศาสตรที่สําคัญ ดังนี้
1. ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม
2. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน
3. ยุทธศาสตรการสรางความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน
4. ยุทธศาสตรการสรางเศรษฐกิจฐานความรูและการสรางปจจัยแวดลอม
5. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค
6. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
เปาหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 มุงเนนที่จะพัฒนา
ใหบรรลุเปาหมายของ MDGs ในป 2558 ซึ่งมีเปาหมายสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนา
สุขภาพโดยเฉพาะเรื่องอัตราตายของเด็กและทารก อัตรามารดาตาย การปองกันและควบคุม
โรคติดตอที่สําคัญ ฯลฯ
อยางไรก็ตาม สถานการณแนวโนมที่สุขภาพของประชากรมีความเสี่ยงมากเพิ่มขึ้น
จากการเปลี่ยนแปลงของประชากรและสิ่งแวดลอม รวมทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมการใช
ชีวิตอันมีสาเหตุจากการพัฒนาประเทศและระบบเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตอยูบนฐานของการ
ใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสิ้นเปลือง กอใหเกิดความขัดแยงและความเสื่อม
ของสังคม สภาพแวดลอมถูกทําลายสูความเสื่อมของสุขภาพมนุษย การขาดความสมดุล
ระหวางการพัฒนาและการใชทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม ที่เนนดานปริมาณมากกวาคุณภาพ ทําใหทุนตาง ๆ ลดนอยลงและไมไดรับการ
พัฒนาเทาที่ควรโดยเฉพาะการพัฒนาทุนทางสังคมที่เปนทุนมนุษยเปนปจจัยหลักที่มี
ความสําคัญมากที่สุดตอการพัฒนาสรางทุนอื่น ๆ และนําไปสูการพัฒนาคนและสังคมใหมีสุข
ภาวะ ตลอดจนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติใหเจริญกาวหนาเทาทันการเปลี่ยนแปลง
ของกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งก็ยังไดรับความสําคัญนอย ทําใหการพัฒนาประเทศทั้งในบริบท
การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ
ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี สังคมและโครงสรางประชากร สิ่งแวดลอม และ
พฤติกรรมการบริโภค มีผลพวงกอเกิดปญหาที่ซับซอนเปนภัยคุกคามตอสุขภาพและความ
อยูดีมีสุขของคนไทยตามมามากมายจากแนวทางการพัฒนาประเทศที่ผานมา และแนวทาง
การพัฒนาประเทศในอนาคตที่เนนคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา มุงสูสังคมที่อยูรวมกัน
ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
อยางมีความสุข ดวยความเสมอภาคเปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง
ดังนั้น การขับเคลื่อนกรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค จึงเปนสวน
สําคัญในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ภายใต
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559
วัตถุประสงค
กรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคระดับชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อ
1. เปนแนวทางใหทุกภาคสวนใชในการพัฒนาสุขภาพระดับบุคคลและสราง
ความเขมแข็งของชุมชน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน
2. บูรณาการการดําเนินงานและทรัพยากร เพื่อใหบรรลุเปาหมายการสรางเสริม
สุขภาพและปองกันโรค
สถานการณการเสริมสรางสุขภาพและปองกันโรค
การดําเนินงานงานดานสาธารณสุขในปจจุบันมีการพัฒนาเจริญกาวหนาอยาง
ตอเนื่อง มีการพัฒนาการบริการสาธารณสุขที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดมากขึ้น สามารถ
รักษาพยาบาลผูปวยไดมีประสิทธิภาพมากขึ้นดวยเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุข
ที่กาวหนา มีเครื่องมืออุปกรณ มีโรงพยาบาล และสถานพยาบาลที่ทันสมัยกวาสมัยกอน มี
การพัฒนาดานการสงเสริมสุขภาพในกลุมเปาหมายที่สําคัญ สามารถลดโรคที่เปนปญหา
สาธารณสุขในอดีตไดมากขึ้น อยางไรก็ตามปญหาสาธารณสุขยังไมหมดไป สภาวการณของ
โรคเปลี่ยนแปลงไปจากโรคติดตอที่ลดนอยลงไปเปนโรคไมติดตอเรื้อรังมากขึ้น ที่สวนใหญ
เกี่ยวของกับวิถีการดําเนินชีวิต ซึ่งพอจะสรุปสถานการณของสถานะสุขภาพ ปจจัยที่มีผลตอ
สุขภาพ และการดําเนินงานดานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค ดังนี้
ปจจัยเสี่ยงและภัยคุกคามที่สําคัญ
1. ปจจัยแวดลอมทางดานสังคม ที่สําคัญไดแก
1.1 โครงสรางประชากร จากความสําเร็จของนโยบายประชากรและการ
วางแผนครอบครัวในอดีต สงผลใหประเทศไทยมีอัตราภาวะเจริญพันธุอยูในระดับที่ต่ํากวา
ระดับทดแทนมาอยางตอเนื่อง โครงสรางประชากรจึงเปลี่ยนแปลงอยางมากในระยะ 20 ปที่
ผานมา จากป พ.ศ. 2513 สัดสวนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : วัยสูงอายุ เทากับ 45.1 :
49.9 : 4.9 เปลี่ยนเปน 29.3 : 63.4 : 7.3 ในป พ.ศ. 2523 และปจจุบันในป พ.ศ. 2552 มี
ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ระบบกลไกการบริหารจัดการระดับชาติ ทองถิ่น ดานการสรางเสริมสุขภาพและ
ปองกันโรค
1. โครงสรางและระบบบริหารจัดการ ในการดําเนินงานดานสุขภาพสามารถ
จําแนกโครงสรางการบริหารจัดการได ดังนี้
1.1 ระดับประเทศ
ปจจุบันในระบบสุขภาพแหงชาติ มีกลไก/องคกรตางๆ ดําเนินการดาน
สุขภาพเปนจํานวนมาก และจะมากยิ่งขึ้นในอนาคต ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง/
หนวยงานอื่นที่ดําเนินงานเกี่ยวของกับสุขภาพ องคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกประเภท
สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ และสถาบันวิชาการ
ดานสุขภาพ/องคกร/เครือขายวิชาชีพดานสุขภาพ องคกรพัฒนาสาธารณประโยชน เอกชน
เครือขาย ประชาสังคมที่ทํางานเกี่ยวกับสุขภาพ ฯลฯ โดยกลไก/องคกรเหลานี้ ดําเนินงาน
อยางอิสระไมขึ้นแกกันโดยตรง แตจําเปนตองมีการประสานเชื่อมโยง เพื่อใหการดําเนินงาน
เปนไปอยางสอดคลองกัน และสอดคลองกับทิศทางของระบบสุขภาพแหงชาติที่พึงประสงค
ดังภาพ
ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2541
เปนปที่ 53 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด
เกลาฯ ใหประกาศวา
โดย ที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลอันจะเปนการ
จํากัดเสรีภาพใน การประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปน
ธรรม ซึ่งมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัย
อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ
ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.
2541”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2504
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“สถานพยาบาล” หมายความวา สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซึ่งจัดไว
เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ
ผดุงครรภตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การประกอบวิชาชีพ
ทันตกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบําบัดตาม
กฎหมายวาดวยวิชาชีพกายภาพบําบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยตามกฎหมาย
วาดวยวิชาชีพเทคนิคการแพทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยและการ
ประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยประยุกตตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการแพทยแผนไทย
ทั้งนี้ โดยกระทําเปนปกติธุระไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนหรือไม แตไมรวมถึงสถานที่
ขายยาตามกฎหมายวาดวยยา ซึ่งประกอบธุรกิจการขายยาโดยเฉพาะ
“ผูปวย” หมายความวา ผูขอรับบริการในสถานพยาบาล
ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541
10. ถาผูดําเนินการพนจากหนาที่หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเกินเจ็ดวัน ผูรับอนุญาตอาจ
มอบหมายใหบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติดําเนินการแทนไดไมเกินกี่วัน
ก. สามสิบวัน ข. สี่สิบหาวัน
ค. หกสิบวัน ง. เกาสิบวัน
ตอบ ง. เกาสิบวัน
11. ในกรณีที่ใหบุคคลอื่นซึ่งมีคุณภาพดําเนินการในสถานพยาบาลแทน จะตองแจงเปน
หนังสือใหผูอนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตวันที่เขาดําเนินการแทน
ก. สามวัน ข. หาวัน
ค. เจ็ดวัน ง. สิบหาวัน
ตอบ ก. สามวัน
ถาผูดําเนินการพนจากหนาที่หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเกินเจ็ดวัน ผูรับอนุญาต
อาจมอบหมายใหบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ ดําเนินการแทนไดไมเกินเกาสิบวัน ในกรณีเชนวานี้
ใหผูไดรับมอบหมายใหดําเนินการแทนแจงเปนหนังสือใหผูอนุญาตทราบภายในสามวันนับ
แตวันที่เขาดําเนินการแทน
12.ผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแลวจะขอรับใบอนุญาตใหมอีกไมไดจนกวาจะพนกําหนด
เมื่อใดนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ก. หกเดือน ข. หนึ่งป
ค. สองป ง. สามป
ตอบ ค. สองป
ผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแลวจะขอรับใบอนุญาตใหมอีกไมไดจนกวาจะพนกําหนด
สองปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
13. หากผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตสถานพยาบาล มีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีไดภายใน
ระยะเวลากี่วันนับแตวันที่รับทราบคําสั่ง
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. สี่สิบหาวัน
ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ตอบ ค. สามสิบวัน
ผูที่ไดรับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบคําสั่ง
14.ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ ในการใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมาใหถอยคําหรือ
ใหสงเอกสารที่เกี่ยวของกับสถานพยาบาล ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสี่เดือน หรือปรับไมเกินสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ตองระวางโทษ
จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
15. ผูใดประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยไมไดรับใบอนุญาต ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสี่ป หรือปรับไมเกินเจ็ดหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ตอบ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
หามมิใหบุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เวนแตไดรับใบอนุญาตจากผู
อนุญาตตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
และศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใชในการประกอบกิจการสถานพยาบาลดวยก็ได
16. ใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน มีอัตรา
คาธรรมเนียมเทาใด
ก. 500 บาท ข. 1000 บาท
ค. 5000 บาท ง. 10000 บาท
ตอบ ข. 1000 บาท
17. ใบอนุญาตใหดําเนินการสถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืนที่มีเตียงเกิน 25
เตียง แตไมเกิน 50 เตียง
ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร
ประวัติของคอมพิวเตอร
ป ค.ศ. 1812 : Charles Babbage ไดประดิษฐเครื่องชื่อ Difference Engine
ที่สามารถคํานวณตารางลอการิทึม และฟงกชันทางตรีโกณขึ้น โดยตอมาเขาไดสรางขึ้นมา
อีกเครื่องหนึ่งชื่อ Analytic Engine ที่สามารถเก็บตัวเลข 50 หลัก ไดถึง 1,000 ตัวเลข และ
สามารถทําการบวกหรือลบได 60 ครั้งตอนาทีสําหรับตัวเลข 50 หลัก ซึ่งในการปอนขอมูล
เขาเครื่องนั้นจะใชแผนกระดาษที่เจาะรูเปนขอมูล โดยลักษณะที่กลาวมานี้ถือเปนรากฐาน
ของเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูในปจจุบัน แตการทํางานนั้นยังคงเปนการทํางานแบบ
เครื่องกล (machine Model) ไมใชทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส
ป ค.ศ. 1942 : Dr. John V. Atanasoff และ Clifford Berry ไดรวมกันตั้ง
Atanasoff Berry Computer Co. (ABC) ซึ่งไดสรางเครื่องคอมพิวเตอรไฟฟา โดยใช
หลอดแกวสุญญากาศ (Vacuum Tubes) ขึ้น เพื่อใชแกสมการที่ยุงยาก
ป ค.ศ. 1946 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดสรางเครื่อง
คอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสขึ้น โดยตั้งชื่อวา Eniac ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรประเภท
ตัวเลขที่ทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเครื่องแรก ประกอบดวยหลอดแกวสุญญากาศจํานวน
18,000 หลอด มีน้ําหนักราว 30 ตัน และใชเนื้อที่ประมาณ 1,500 ตารางฟุต
ป ค.ศ. 1951 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดซื้อลิขสิทธิ์
ของเครื่อง Eniac มาพัฒนาเปนเครื่องตั้งชื่อวา Edvac โดยบริษัท Remington Rand ไดเสนอ
ซื้อและพัฒนาจนกลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเก็บขอมูลขนาดใหญ ชื่อวา Univac I
ซึ่งถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรเชิงพาณิชยเครื่องแรกดวย
ป ค.ศ. 1951 – 1959 : ยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร (The First
Generation of Computers) การนําเครื่องคอมพิวเตอรยูนิแวกค (Univac) ออกสูตลาดในป
1951 นั้นถือเปนยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร อีกทั้งความสําเร็จนี้เปนผลใหเกิดระบบบัตร
ไอบีเอ็ม (IBM Card System) และเปนแรงผลักดันใหเกิดการแขงขันในการผลิตคอมพิวเตอร
เชิงพาณิชย เชน IBM 650
ป ค.ศ. 1959 – 1964 : ยุคที่สองของเครื่องคอมพิวเตอร (The Second
Generation of Computers) เปนยุคที่นําทรานซิสเตอร (transistor) เขามาใชงานกับ
คอมพิวเตอร ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดเร็วขึ้นมาก และมีความแมนยํามากขึ้น
ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร
Claude Shannon เปนผูอธิบายถึงความสัมพันธของวงจรไฟฟาเปด – ปด กับ
สภาวะฐานสองของพีชคณิตโดยใชระบบตัวเลข 2 ตัวคือ 0 และ 1
ภายในเครื่องคอมพิวเตอร เลขสองตัวนี้จะถูกเรียกวา เลขฐานสอง (Binary
Digit – Bit) ซึ่งเปนหนวยของขาวสารที่เล็กที่สุด โดยที่หนวยที่เล็กที่สุดนี้เมื่อรวมกัน 8 บิต
(Bits) จะกลายเปนหนวยเก็บขอมูล 1 ตัว ที่เรียกวา ไบต (Byte) ดังนั้นหนวยเก็บขอมูล 1
ตัว (Byte) จะเทากับ 8 บิต (Bits) ซึ่งหนวยนี้จะถูกใชในการแปลงรหัสใหเครื่องเขาใจทั้ง
ขอมูลที่เปนตัวเลข ตัวอักษร และตัวอักษรพิเศษ
การแปลงรหัสคาของเลขฐานสอง (Binary Digit) ในแตละไบต (Byte) เพื่อให
เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจ และทํางานไดนั้นมีหลายรหัส แตรหัสที่นิยมใชกันในปจจุบันคือ
– Extended Binary – Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)
– American Standard Code for Information Interchange (ASCII)
Extended Binary – Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC)
ในป ค.ศ. 1964 บริษัท IBM จํากัด ไดประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่ใช 8 –
Bit/Byte เปนหนวยความจําพื้นฐานและใชรหัส EBCDIC ในการแปลงรหัสขอมูลตัวอักษร/
ตัวเลข ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญของ IBM ทุกเครื่องจะใชรหัส EBCDIC ทั้งสิ้น
ยกเวนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร
เนื่องจากแตละบิตของไบตนี้สามารถเปนไดทั้งสภาวะ 0 และ 1 ดังนั้นรหัสนี้
จึงสามารถผสมกันไดถึง 28
= 256 รหัส โดยรหัส EBCDIC นี้จะแบงออกเปน 2 สวน แตละ
สวนจะประกอบดวย 4 บิต ซึ่งสวนแรกเรียกวา Zone Portion และสวนหลังเรียกวา Digit
Portion
American Standard Code for Information Interchange (ASCII)
จากการที่พยายามคิดคนรหัสอื่นนอกเหนือจากรหัส EBCDIC มาใช จึงทําให
สามารถสรางรหัสที่ใชเนื้อที่หนวยความจํา 7 – Bit/Byte ไดสําเร็จ เรียกรหัสนี้วา ASCII ซึ่ง
ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทั้งขนาดกลางและขนาดเล็ก คือ มินิคอมพิวเตอรและ
ไมโครคอมพิวเตอรหันมาใชรหัส ASCII นี้ทั้งสิ้น
รหัส ASCII นี้สามารถผสมกันไดแค 27
= 128 รหัส ทําใหประหยัดเนื้อที่ได
มากกวารหัส EBCDIC
ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การเปลี่ยนแปลงที่ทรงอานุภาพยิ่งใหญตอการเปลี่ยนสภาวะสิ่งแวดลอมทาง
ธุรกิจมี 2 ประการ คือ
1. การเปลี่ยนแปลงที่กอกําเนิดและสรางความแข็งแกรงใหกับเศรษฐกิจ
โลก (The Global Economy)
2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการแปลงระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและ
สังคม เขาสูการใหบริการฐานขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงที่กอกําเนิดและสรางความแข็งแกรงใหกับเศรษฐกิจ
โลก คือ การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมโลกดวยคุณคาของขาวสารตอบริษัท องคการ
และการเสนอโอกาสใหม ๆ ตอธุรกิจ ดวยบริการขาวสารผานสื่อการคมนาคมในการเสนอ
ขายสินคา การบริการธุรกรรม การจัดการ และการบริการการสงสินคาถึงลูกคาไดอยาง
รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพทั้งในประเทศและทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง
การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการแปลงระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและ
สังคม เขาสูการใหบริการฐานขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ คือ การปฏิรูป
ระบบเทคโนโลยีสมัยใหมดวยการปฏิวัติสารสนเทศและองคความรู (The Knowledge and
Information Revolution) ซึ่งสหรัฐฯ เปนประเทศแรกที่ไดเปลี่ยนตนเองเขาสูการใหบริการ
ฐานขอมูลขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ
วิวัฒนาการระบบเศรษฐกิจโลกสามารถแบงออกเปน 3 ชวง ดังนี้
1. ระบบเกษตรกรรม
2. ระบบอุตสาหกรรม
3. ระบบการใหบริการฐานขอมูลขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) มีความสําคัญตอการ
ตัดสินใจทางการบริหารและการจัดการเพื่อความอยูรอดขององคการ โดยจะเห็นไดวาการ
เติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศชวยใหเกิดการบริการแบบใหม ๆ เพื่อเสริมคุณคาทาง
เศรษฐกิจ จึงนับไดวาขาวสารหรือสารสนเทศและเทคโนโลยีจะกลายเปนทรัพยากรที่สําคัญ
และเปนกลยุทธในการบริการสําหรับบริษัท องคการ และผูบริหารในอนาคต
แนวคิดทางการบริหารเปนแนวคิดที่ไดรับการพัฒนามาจากองคความรู
หลากหลายสาขาวิชาการและนํามาประยุกตใช โดยเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “สังคมศาสตร
3. View คือ วิธีการแสดงรูปแบบสารสนเทศที่ผูใชตองการ
ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร
ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร หมายถึง การไมอนุญาตใหทําซ้ําเพื่อเผยแพรหรือ
จําหนาย นอกจากนี้การนําซอฟตแวรไปทําซ้ําเพื่อใชในคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายใน
หนวยงานเดียวกัน โดยที่เจาของลิขสิทธิ์ใหใชเพียงคอมพิวเตอรระบบเดียวก็ถือเปน
ความผิดเชนกัน
วิธีการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ กําหนดใหมีแผน Original System
ของซอฟตแวรทุกครั้งที่มีการรันโปรแกรมที่จะใชงาน มิฉะนั้นจะไมสามารถใชงานได เรา
เรียกแผน Original System Disk นี้วา Key Disk
การขอลิขสิทธิ์ซอฟตแวรมี 2 รูปแบบ คือ
1. Site Licensing หมายถึง การขออนุญาตการใชซอฟตแวรประเภท
ใดประเภทหนึ่ง กับคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายในหนวยงานเดียวกัน ซึ่งผูใชมีสิทธิ์ทํา
สําเนาซอฟตแวรไดหลาย ๆ สําเนา โดยแตละสําเนาเพื่อคอมพิวเตอร 1 ระบบ ซึ่งถือวา
เปนวิธีที่จะชวยประหยัดคาใชจายได
2. Network Licensing หมายถึง การมีซอฟตแวร 1 ระบบ และใช
ในคอมพิวเตอรระบบเครือขาย โดยจะมีการติดตั้งซอฟตแวรดังกลาวไวที่คอมพิวเตอรที่ทํา
หนาที่เปน Server และจะใชไดกับซอฟตแวรที่มีลักษณะเปน Multi–user เทานั้น
อาชญากรรมในทางคอมพิวเตอร
สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้คือ
1.การละเมิดลิขสิทธิ์ในการใชงานในระบบคอมพิวเตอรเปน
อาชญากรรมที่คอนขางจะปรากฏแพรหลายมากในหมูผูใชคอมพิวเตอร โดยปกติผูกอ
อาชญากรรมประเภทนี้มักจะไมคอยทําลายขอมูลในแฟมของระบบเทาใดนัก นอกจากจะ
เขาไปเพื่อขอดูสารสนเทศบางอยางที่ตนเองตองการทั้ง ๆ ที่ตนเองไมมีสิทธิ์
วิธีปองกันอาชญากรรมประเภทนี้คือ สรางระบบความปลอดภัยที่มี
การกําหนดการปองกันไวหลาย ๆ ระดับ เชน การกําหนดรหัสผาน (Password) เพื่อใช
สิทธิในการใชขอมูล หรืออาจใชวิธีการสอบถามหมายเลขโทรศัพทของผูใชดวย ซึ่งถาตอบ
ผิดจะไมอนุญาตใหเขาไปในระบบ
2. การโจรกรรมโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เปนการใช
คอมพิวเตอรในการยักยอกเงินจากผูอื่นโดยโอนเงินเขาบัญชีของตนเอง โดยปกติพวกที่กอ
อาชญากรรมประเภทนี้มักจะทําในกรณีของการประมวลผลแบบ Transaction
ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
3. การขโมยเวลาใชเครื่องคอมพิวเตอร เปนการใชเครื่อง
คอมพิวเตอรของสํานักงานเพื่อทําธุรกิจสวนตัว เชน การพิมพจดหมายสวนตัว หรือทํา
บัตรอวยพรของตน เปนตน
ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus)
ไวรัสคอมพิวเตอร คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งซึ่งซอนตัวอยูในโปรแกรมอื่นใน
ระบบ ไวรัสเหลานี้จะเปนโปรแกรมที่เขียนมาเพื่อเจตนาจะกอกวนและทําลายลางระบบการ
ทํางานของโปรแกรมอื่น โดยปกติแลวไวรัสนั้นมักจะเขาไปฝงตัวอยูในระบบปฏิบัติการ เชน
อยูบน COMMAND.COM บน DOS ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการที่นิยมใชกันบนเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร
วิธีการปองกันไวรัสบนคอมพิวเตอร อาจทําไดดังนี้
– อยา Load Program จากแผนดิสเกตตที่ไมแนใจปลอดไวรัสเขาสูระบบ
คอมพิวเตอร
– จะตองมีการตรวจสอบซอฟตแวรใหแนใจวาปลอดภัยจากไวรัสกอนจึงจะนํามาใช
งานได
– ใชโปรแกรมวัคซีน (Vaccine Program) โดยที่โปรแกรมวัคซีนจะมีหนาที่
ตรวจสอบซอฟตแวรที่จะใชวามีไวรัสหรือไม
บุคลากรที่ใชคอมพิวเตอรควรมีลักษณะอยางไร
ผูที่ใชคอมพิวเตอรไดนั้นไมจําเปนตองมีความรูหรือความเชี่ยวชาญในทาง
คณิตศาสตรในระดับสูง ผูที่จะใชคอมพิวเตอรเพื่อทํางานทางธุรกิจนั้น ขอใหมีความรูทาง
คณิตศาสตรในระดับพื้นฐาน เพื่อทํากิจกรรมทางธุรกิจบางอยาง เชน การวางแผนก็
เพียงพอแลวที่จะสั่งงานคอมพิวเตอรได
ผูที่ใชคอมพิวเตอรในระดับ User ไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมได เพราะ
เปนหนาที่ของผูเขียนโปรแกรมเฉพาะดานอยูแลว ในระดับของผูใชนั้นก็เพียงแตตองมีการ
อบรมใหความรูในการใชงานก็เพียงพอแลว
ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบ พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ
คอมพิวเตอร พ.ศ.2550
4.ผูแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตาม พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร คือใคร
ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรี
ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายกรัฐมนตรี
ตอบ ข. รัฐมนตรี
“พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม
พระราชบัญญัตินี้ (พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550
มาตรา 3)
5.ผูรักษาการใน พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร คือใคร
ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม
ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ตอบ ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศแลการสื่อสารรักษาการตามพร
ราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
(พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 4)
6.ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงตองระวางโทษ
อยางไร
ก. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
ข. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 50,000 บาท
ง. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 50,000 บาท
ตอบ ก. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึง
โดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหก
เดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (พรบ. วาดวยการกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 5)
7.ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะและ
นําไปเปดเผยโดยมิชอบทําใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท
ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
ค. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท
ง. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
ตอบ ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท
ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปน
การเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความ
เสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท
หรือทั้งจําทั้งปรับ (พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ.
2550 มาตรา 6)
8.ในการติดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เปนเหตุใหผูอื่นเสียชื่อเสียง
ถูกดูหมิ่นหรือไดรับความเสียหายตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท
ข. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 60,000 บาท
ค. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท
ง. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 500,000 บาท
ตอบ ข. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 60,000 บาท
ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูล
คอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น
ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้โดย
ประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับ
อาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจํา
ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน
ราชการ พ.ศ.2547
7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท
ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท
ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท
ตอบ ข. 2 ประเภท
พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6)
8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน
พิเศษหมายถึงผูใด
ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป
ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ
ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ
พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่
ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มี
ความสําคัญและจําเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคล
ในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ขอ 6 (2))
9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด
ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน
ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน
ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน
ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนก
เปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7)
(1) กลุมงานบริการ
(2) กลุมงานเทคนิค
(3) กลุมงานบริหารทั่วไป
ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
(4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ
(5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ
(6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม
ก. 4 กลุม ข. 5 กลุม
ค. 6 กลุม ง. 7 กลุม
ตอบ ค. 6 กลุม
คําอธิบายดังขอขางตน
11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ
ก. กลุมงานบริการ ข. กลุมงานเทคนิค
ค. กลุมงานบริหาร ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ
ตอบ ค. กลุมงานบริหาร
คําอธิบายดังขอขางตน
12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ
ใคร
ก. อธิบดี ข. ปลัดทบวง
ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ
การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการ
กําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของ
คณะกรรมการ (ระเบียบฯ ขอ 7)
13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป
ก. 2 ป ข. 3 ป
ค. 4 ป ง. 5 ป
ตอบ ค. 4 ป
ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
แนวขอสอบคอมพิวเตอร ชุดที่ 3
6.ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) คือ
(1) อุปกรณชิ้นสวนของเครื่องรับโทรทัศน
(2) ตนกําเนิดของเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัว (Personal Computer)
(3) ชิป (Chip) ที่ทําหนาที่เฉพาะอยางในคอมพิวเตอร
(4) ขอ 2 และขอ 3 ถูก (5) ขอ 1 และขอ 3 ถูก
ตอบ 2
ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) คือ ชิปวงจรเชื่อมตอหนึ่งตัวที่สามารถทํางาน
ทุกอยางไดครบถวน โดยมีวงจรเปนแบบ VLSI (Very Large Scale Integration) ที่ถือ
เปนสมองหรือศูนยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร และยังถือเปนตนกําเนิดของเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer/Desktop Computer/Personal Computer)ยุคปจจุบัน
7.เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่ใชในการจองตั๋วเครื่องบิน เปนการประมวลผลในลักษณะ
(1) การกระจายการประมวลผล (2) การประมวลผลแบบรวมศูนย
(3) การประมวลผลแบบทํางานเดี่ยว (4) ขอ 1 และ ขอ 2 ถูก
(5) ถูกทุกขอ
ตอบ 2
เครือขายแบบดาว (Star Network) เปนเครือขายที่ประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร
และอุปกรณตอพวงอื่น ๆ ตอเชื่อมโดยตรงกับเครื่องคอมพิวเตอรหลัก โดยที่การสื่อสาร
ทั้งหมดที่จะตองผานไปยังเครื่องคอมพิวเตอรหลักกอน ซึ่งการทํางานลักษณะนี้จะเปนการ
ประมวลผลแบบรวมศูนย (Centralized Process) กลาวคือ การสื่อสารจากจุดใด ๆ ใน
เครือขายจะตองพึ่งพิงคอมพิวเตอรศูนยกลาง ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการปฏิบัติงานดานการ
ใหบริการตาง ๆ เชน การจองตั๋วเครื่องบิน ระบบการรับฝากเงินของธนาคาร เปนตน แต
มีขอเสีย คือ หากเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางเกิดขัดของก็จะทําใหการสื่อสารของจุดตางๆ
ในเครือขายขัดของไปดวย
8.เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่ใชตรวจผลสอบเอ็นทรานสเปนการประมวลผลในลักษณะ
(1) การกระจายการประมวลผล (2) การประมวลผลแบบรวมศูนย
(3) การประมวลผลแบบทํางานเดี่ยว (4) ขอ 1 และ ขอ 2 ถูก
ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
48.เครือขายอินเตอรเนตมีรูปแบบของเครือขาย (Topology) แบบใด
(1) Bus (2) Star
(3) Ring (4) ถูกทุกขอ
ตอบ 4
อินเตอรเน็ต (Internet) ระบบของการเชื่อมโยงขายงานคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก
ครอบคลุมไปทั่วโลก เพื่ออํานวยความสะดวกในการใหบริการสื่อสารขอมูล เชน การบันทึก
เขาระยะไกล (Remote Login) การถายโอนแฟม ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และกลุมอภิปราย
อินเตอรเน็ต เปนวิธีในการเชื่อมโยงขายงานหลากหลายรูปแบบของเครือขาย (Topology)
เพื่อการเขาถึงของแตละระบบที่มีสวนรวมอยู
49.อุปกรณเครือขายคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่หาเสนทางที่ดีในการสงขอมูลคือ
(1) Modem (2) Hub
(3) Router (4) Switch
ตอบ 3
Router เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอ LAN หลาย ๆ เครือขายเขาดวยกันคลายกับ
Switch แตจะมีสวนเพิ่มเติมขึ้นมา คือ Router สามารถเชื่อมตอ LAN ที่ใชโปรโตคอลในการ
รับสงขอมูลเหมือนกัน แตใช Media หรือสายสงตางชนิดกันได Router มีการทํางานใน
ระดับชั้นที่ 3 ของ OSI คือ Network Layer และสามารถรับสงขอมูลที่เปนกลุมขอมูล หรือ
Frame จากตนทางไปยังปลายทางได โดยเลือกหรือกําหนดเสนทางที่ดีที่สุดที่ขอมูลจะถูก
สงไป และแปลงขอมูลใหเหมาะสมกับอุปกรณฮารดแวรที่ใชรับสงใน 2 ชั้นลางถัดไปที่
เชื่อมตออยู
50.ตัวเลือกในขอใดไมใชหนาที่ของระบบปฏิบัติการ
(1) จัดสรรทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร
(2) ใหบริการแกผูใช
(3) ประมวลผลโปรแกรมประยุกต
(4) ควบคุมการทํางานของโปรแกรมประยุกต
ตอบ 3
หนาที่ของระบบปฏิบัติการ (Operating System) มีดังนี้
1. จัดสรรการใชทรัพยากรตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรใหกับโปรแกรมและผูใช
ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Destacado

แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการประพันธ์ เวารัมย์
 
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปประพันธ์ เวารัมย์
 
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศแนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศเดโช พระกาย
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)ประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดประพันธ์ เวารัมย์
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีประพันธ์ เวารัมย์
 

Destacado (14)

วุฒิสมัครสอบครู
วุฒิสมัครสอบครูวุฒิสมัครสอบครู
วุฒิสมัครสอบครู
 
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการแนวข้อสอบการวางแผน  แผนงาน โครงการ
แนวข้อสอบการวางแผน แผนงาน โครงการ
 
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และนักวิชาการคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และนักวิชาการคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และนักวิชาการคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล และนักวิชาการคอมพิวเตอร์
 
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
 
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
ความรู้ความสามารถด้านภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน(ชุด4)
 
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไปแนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
แนวข้อสอบภาค ก. เล่มที่ 1 ความรู้ความสามารถทั่วไป
 
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศแนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
แนวข้อสอบกองกองทัพอากาศ
 
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐแนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
แนวข้อสอบการการบริหาร วางแผนหรือโครงการในภาครัฐ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
แนวข้อสอบรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2557(51 ข้อ พร้อมเฉลย)
 
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัดคู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
คู่มือการบริหารงานบุคคลและคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานีตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
ตอบข้อหารือการเรียกคืนเงินทุนโครงการเศรษฐกิจชุมชน พ.ศ.2541 จ.อุดรธานี
 

Más de บ.ชีทราม จก.

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...บ.ชีทราม จก.
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรบ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...บ.ชีทราม จก.
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นบ.ชีทราม จก.
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (12)

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ประกาศ เปิดรับสมัครสอบครูมืออาชีพ 2557 ...
 
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตร
กรมฝนหลวงและการบินเกษตร
 
216
216216
216
 
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
ข้อสอบ สกย แนวข้อสอบนักวิชาการเผยแพร่ สนง.E-BOOK กองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง แ...
 
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่นคณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
คณะกรรมการกลางการสอบแข่งขันพนักงานส่วนท้องถิ่น
 
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK Download นักวิชาการคอมพิวเตอร์ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ (NVT)

  • 1. ห น า | 1ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ
  • 2. ห น า | 2ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5 คานิยม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5 วิสัยทัศน กรมสนับสนุนบริการบริการสุขภาพ 5 พันธกิจ 5 อํานาจหนาที่ 5 ประเด็นยุทธศาสตร 8 โครงสรางกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 8 นโยบาย/แผนธรรมาภิบาล 9 นโยบายกํากับองคการที่ดี 9 ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 13 สถานการณการเสริมสรางสุขภาพและปองกันโรค 14 แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร 29 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของกับกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 33 พระราชบัญญัติการประกอบโรคศิลปะ พ.ศ. 2542 52 พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2556 82 แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 105 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนง ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 111 ประวัติของคอมพิวเตอร 111 ระบบคอมพิวเตอร (Computer System) 115 อุปกรณที่ใชในการสื่อสารกับเครื่องคอมพิวเตอร 123 เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร 130 ระบบฐานขอมูล และการใชฐานขอมูล 131 แฟมขอมูลและการจัดการแฟมขอมูล 132 การจัดการของแฟมขอมูล (File Organizing) 135
  • 3. ห น า | 3ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ประเภทการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร 139 ระบบฐานขอมูลและการใชฐานขอมูล 142 ระบบเครือขาย 143 อินเตอรเน็ต (Internet) 147 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 149 ประเภทขาวสารขอมูล 151 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) 158 โปรแกรมประยุกตใชงานประเภทตางๆ 162 การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร 166 ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) 167 ไมโครซอฟท เวิรด (Microsoft Word) 169 ไมโครซอฟท เอ็กเซล (Microsoft Excel) 172 ไมโครซอฟท พาวเวอรพอยท (Microsoft PowerPoint) 173 สวนที่ 4 กฎหมายที่เกี่ยวของ พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 186 ระเบียบวาดวยพนักงานราชการ 195 แนวขอสอบ พรบ.วาดวยการกระทําผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร 206 แนวขอสอบ ระเบียบวาดวยพนักงานราชการ 211 สวนที่ 5 ตัวอยางแนวขอสอบ แนวขอสอบ Microsoft Excel 175 แนวขอสอบ Microsoft Word 179 แนวขอสอบ Microsoft PowerPoint 184 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 1 211 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 2 220 แนวขอสอบ คอมพิวเตอร ชุดที่ 3 239
  • 4. ห น า | 4ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ คานิยม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ “มุงมั่นดวยใจ ใฝรูสรางสรรค รวมแรงใจกัน ยึดมั่นคุณธรรม นําจิตบริการ” วิสัยทัศน กรมสนับสนุนบริการบริการสุขภาพ “เปนองคกรหลักดานบริการสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน” พันธกิจ 1.สงเสริม สนับสนุน ควบคุม กํากับ และพัฒนาระบบบริการสุขภาพใหเปนไปตาม กฎหมายที่เกี่ยวของ เพื่อใหสถานบริการสุขภาพมีคุณภาพมาตรฐาน 2.สงเสริม สนับสนุน พัฒนาอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.) ภาคี เครือขายและทองถิ่นในการดําเนินงานสาธารณสุขมูลฐานรวมทั้งการจัดการน วัตรกรรม สุขภาพชุมชนเพื่อการพึ่งตนเองดานสุขภาพของประชาชน 3.สงเสริม สนับสนุน และพัฒนางานดานสุขศึกษาเชิงรุก เพื่อพัฒนาพฤติกรรมดาน สุขภาพที่ถูกตองของประชาชน 4.ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา ระบบบริหารสุขภาพและระบบสุขภาพภาคประชาชน รวมทั้งดําเนินการถายทอดองคความรูและเทคโนโลยีแกองคกรภาครัฐ องคกรภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น และภาคประชาชน อํานาจหนาที่ 1.ดําเนินการเกี่ยวกับงาน ดานกฎหมายตามกฎหมายวาดวยสถานพยาบาล กฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ กฎหมายวาดวยสถานประกอบการเพื่อสุขภาพ และ กฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ 2.ดําเนินพัฒนากฎหมายทั้งในประเทศและระหวางประเทศที่อยูในความรับผิดชอบ ของกรมเพื่อรองรับการเขาสูระดับสากล 3.ประสานความรวมมือดานกฎหมายเกี่ยวกับการบริการสุขภาพระหวางประเทศ 4.ดําเนินการเกี่ยวกับงานนิติกรรมและสัญญา การดําเนินมาตรการทางปกครอง การ ระงับขอ พิพาท งานเกี่ยวกับความรับผิดทางแพง ทางอาญา งานคดีปกครอง และงานคดีอื่น ที่อยูในอํานาจหนาที่ของกรม
  • 5. ห น า | 5ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 5.ดําเนินการเกี่ยวกับการดําเนินการทางวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การ คุมครองระบบคุณธรรม และดําเนินการเกี่ยวกับการเสริมสรางวินัย คุณธรรม และ จรรยาบรรณของขาราชการและ ลูกจางของกรม 6.ดําเนินการเรื่องรองเรียนและประสานการเจรจาไกลเกลี่ย 7.ดําเนินการบังคับใชกฎหมายเพื่อคุมครองและพิทักษสิทธิ์ผูรับบริการดานบริการ สุขภาพ 8.การใหคําปรึกษาและความเห็นทางกฎหมาย รวมทั้งการเผยแพรความรูทาง กฎหมายที่เกี่ยวของ 9.ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นที่เกี่ยวของ หรือที่ ไดรับมอบหมาย ฝายบริหารทั่วไป มีหนาที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ ราง โตตอบหนังสือราชการ การรับ-สง จัดเก็บหนังสือเอกสารตางๆ งานแผนงาน งานงบประมาณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานบุคลากร งานการประชุม งานธุรการ รวบรวมขอมูลสถิติ งานบริหารทั่วไป ปฏิบัติงานรวมหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของทุกกลุม ประสานงานกับหนวยงานอื่นๆ และ งานที่ไดรับมอบหมาย กลุมแผนงานและประเมินผล 1.วิเคราะห วางแผน จัดทําตัวชี้วัด ตามคํารับรอง คําของบประมาณ และประสาน แผนงานโครงการของสํานักกฎหมายรวมทั้งเรงรัดติดตามและประเมินผลการ ปฏิบัติงานของ หนวยงาน 2.ติดตอ ประสานงานกับองคการหรือหนวยงานตางๆทั้งภายในและภายนอก กลุมเสริมสรางวินัยและระบบคุณธรรม รับผิดชอบเกี่ยวกับ การพิจารณาเรื่องกลาวหารองเรียนดานวินัย การสืบสวน ขอเท็จจริงการดําเนินการทางวินัยไมรายแรง การดําเนินการทางวินัยรายแรง การสั่งพัก ราชการหรือสั่งใหออกจากราชการไวกอน การเสริมสรางและพัฒนาใหมีวินัยและการปองกัน การกระทําผิดวินัย การใหคําปรึกษาและความเห็นทางดานวินัย การเผยแพรความรูทางดาน วินัยและการรักษาวินัย การอุทธรณและการรองทุกข การคุมครองระบบคุณธรรม การรักษา จรรยาขาราชการและลูกจางของกรม และปฏิบัติงานอื่นๆ ที่ไดรับมอบหมาย
  • 6. ห น า | 6ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ นโยบายกํากับองคการที่ดี 1. ดานรัฐ สังคมและสิ่งแวดลอม สรางระบบการมีสวนของภาคีเครือขายดานสุขภาพ โดยมุง เนน การหาฉันทามติที่ เกิดประโยชนตอสังคมไทย 2. ดานผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย 2.1 มุงมั่นสรางจิตสํานึกในการใหบริการ สามารถตอบสนอง ความตองการ ของผูรับบริการ และผูมีสวนไดสวนเสียอยาง เสมอภาค 2.2 พัฒนาระบบการเรียนรูความตองการและความคาดหวัง ของผูรับบริการ และความคาดหวังของผูรับบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย เพื่อสามารถตอบสนองได ครอบคลุมทุกกลุม 2.3 ใหความสําคัญกับกระบวนการจัดการขอรองเรียน ขอ เสนอแนะคําชมเชย เกี่ยวกับบริการ ของผูรับบริการและผูมี สวนไดสวนเสีย 3. ดานองคการ 3.1 มุงมั่นในการดําเนินงานตามภารกิจขององคการใหเปนที่ ยอมรับของ สังคม และบรรลุผลสัมฤทธิ์ โดยใชทรัพยากรให เกิดประโยชนสูงสุดและเกิดความคุมคา 3.2 สรางและสนับสนุนการมีสวนรวมของทีมบุคลากรเพื่อให องคการมีความ เขมแข็ง สามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพ และเกิดประโยชนสูงสุด 3.3 สงเสริมใหเกิดระบบสรางจิตสํานึก คุณธรรม จริยธรรม ในการปฏิบัติ ภารกิจของบุคลากร โดยยึดหลักธรรมาภิบาล 4. ดานผูปฏิบัติงาน 4.1 มุงมั่นสงเสริมใหบุคลากร มีสมรรถนะที่สามารถตอบ สนองความตองการ และความคาดหวังของผูรับบริการ โดย ใหกระบวนการบริหารการจัดการความรูที่เหมาะสม 4.2 เสริมสรางบรรยากาศการเรียนรูขององคกร เพื่อเปน องคกรแหงการ เรียนรู หนาที่ความรับผิดชอบของหนวยงานตาง ๆ ในสังกัดกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ สํานักบริหาร 1. ดําเนินการเกี่ยวกับงานบริหารทั่วไปและปฏิบัติงานสารบรรณของกรม 2. ดําเนินการเกี่ยวกับงานชวยอํานวยการและงานเลขานุการของกรม
  • 7. ห น า | 7ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูเกี่ยวกับ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ทิศทางการพัฒนาสุขภาพในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 จากวิสัยทัศน “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” และกรอบยุทธศาสตรที่สําคัญ ดังนี้ 1. ยุทธศาสตรการสรางความเปนธรรมในสังคม 2. ยุทธศาสตรการพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิตอยางยั่งยืน 3. ยุทธศาสตรการสรางความสมดุลและมั่นคงของอาหารและพลังงาน 4. ยุทธศาสตรการสรางเศรษฐกิจฐานความรูและการสรางปจจัยแวดลอม 5. ยุทธศาสตรการสรางความเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจในภูมิภาค 6. ยุทธศาสตรการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน เปาหมายของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 มุงเนนที่จะพัฒนา ใหบรรลุเปาหมายของ MDGs ในป 2558 ซึ่งมีเปาหมายสําคัญที่เกี่ยวของกับการพัฒนา สุขภาพโดยเฉพาะเรื่องอัตราตายของเด็กและทารก อัตรามารดาตาย การปองกันและควบคุม โรคติดตอที่สําคัญ ฯลฯ อยางไรก็ตาม สถานการณแนวโนมที่สุขภาพของประชากรมีความเสี่ยงมากเพิ่มขึ้น จากการเปลี่ยนแปลงของประชากรและสิ่งแวดลอม รวมทั้งพฤติกรรมและวัฒนธรรมการใช ชีวิตอันมีสาเหตุจากการพัฒนาประเทศและระบบเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตอยูบนฐานของการ ใชทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางสิ้นเปลือง กอใหเกิดความขัดแยงและความเสื่อม ของสังคม สภาพแวดลอมถูกทําลายสูความเสื่อมของสุขภาพมนุษย การขาดความสมดุล ระหวางการพัฒนาและการใชทุนทางเศรษฐกิจ สังคม และทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอม ที่เนนดานปริมาณมากกวาคุณภาพ ทําใหทุนตาง ๆ ลดนอยลงและไมไดรับการ พัฒนาเทาที่ควรโดยเฉพาะการพัฒนาทุนทางสังคมที่เปนทุนมนุษยเปนปจจัยหลักที่มี ความสําคัญมากที่สุดตอการพัฒนาสรางทุนอื่น ๆ และนําไปสูการพัฒนาคนและสังคมใหมีสุข ภาวะ ตลอดจนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศชาติใหเจริญกาวหนาเทาทันการเปลี่ยนแปลง ของกระแสโลกาภิวัตน ซึ่งก็ยังไดรับความสําคัญนอย ทําใหการพัฒนาประเทศทั้งในบริบท การเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี สังคมและโครงสรางประชากร สิ่งแวดลอม และ พฤติกรรมการบริโภค มีผลพวงกอเกิดปญหาที่ซับซอนเปนภัยคุกคามตอสุขภาพและความ อยูดีมีสุขของคนไทยตามมามากมายจากแนวทางการพัฒนาประเทศที่ผานมา และแนวทาง การพัฒนาประเทศในอนาคตที่เนนคนเปนศูนยกลางของการพัฒนา มุงสูสังคมที่อยูรวมกัน
  • 8. ห น า | 8ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ อยางมีความสุข ดวยความเสมอภาคเปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง ดังนั้น การขับเคลื่อนกรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค จึงเปนสวน สําคัญในการดําเนินงานเพื่อใหบรรลุเปาหมายตามแผนพัฒนาสุขภาพแหงชาติ ภายใต แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559 วัตถุประสงค กรอบยุทธศาสตรงานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรคระดับชาติ มีวัตถุประสงคเพื่อ 1. เปนแนวทางใหทุกภาคสวนใชในการพัฒนาสุขภาพระดับบุคคลและสราง ความเขมแข็งของชุมชน ใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน 2. บูรณาการการดําเนินงานและทรัพยากร เพื่อใหบรรลุเปาหมายการสรางเสริม สุขภาพและปองกันโรค สถานการณการเสริมสรางสุขภาพและปองกันโรค การดําเนินงานงานดานสาธารณสุขในปจจุบันมีการพัฒนาเจริญกาวหนาอยาง ตอเนื่อง มีการพัฒนาการบริการสาธารณสุขที่ประชาชนสามารถเขาถึงไดมากขึ้น สามารถ รักษาพยาบาลผูปวยไดมีประสิทธิภาพมากขึ้นดวยเทคโนโลยีทางการแพทยและสาธารณสุข ที่กาวหนา มีเครื่องมืออุปกรณ มีโรงพยาบาล และสถานพยาบาลที่ทันสมัยกวาสมัยกอน มี การพัฒนาดานการสงเสริมสุขภาพในกลุมเปาหมายที่สําคัญ สามารถลดโรคที่เปนปญหา สาธารณสุขในอดีตไดมากขึ้น อยางไรก็ตามปญหาสาธารณสุขยังไมหมดไป สภาวการณของ โรคเปลี่ยนแปลงไปจากโรคติดตอที่ลดนอยลงไปเปนโรคไมติดตอเรื้อรังมากขึ้น ที่สวนใหญ เกี่ยวของกับวิถีการดําเนินชีวิต ซึ่งพอจะสรุปสถานการณของสถานะสุขภาพ ปจจัยที่มีผลตอ สุขภาพ และการดําเนินงานดานสรางเสริมสุขภาพและปองกันโรค ดังนี้ ปจจัยเสี่ยงและภัยคุกคามที่สําคัญ 1. ปจจัยแวดลอมทางดานสังคม ที่สําคัญไดแก 1.1 โครงสรางประชากร จากความสําเร็จของนโยบายประชากรและการ วางแผนครอบครัวในอดีต สงผลใหประเทศไทยมีอัตราภาวะเจริญพันธุอยูในระดับที่ต่ํากวา ระดับทดแทนมาอยางตอเนื่อง โครงสรางประชากรจึงเปลี่ยนแปลงอยางมากในระยะ 20 ปที่ ผานมา จากป พ.ศ. 2513 สัดสวนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : วัยสูงอายุ เทากับ 45.1 : 49.9 : 4.9 เปลี่ยนเปน 29.3 : 63.4 : 7.3 ในป พ.ศ. 2523 และปจจุบันในป พ.ศ. 2552 มี
  • 9. ห น า | 9ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ระบบกลไกการบริหารจัดการระดับชาติ ทองถิ่น ดานการสรางเสริมสุขภาพและ ปองกันโรค 1. โครงสรางและระบบบริหารจัดการ ในการดําเนินงานดานสุขภาพสามารถ จําแนกโครงสรางการบริหารจัดการได ดังนี้ 1.1 ระดับประเทศ ปจจุบันในระบบสุขภาพแหงชาติ มีกลไก/องคกรตางๆ ดําเนินการดาน สุขภาพเปนจํานวนมาก และจะมากยิ่งขึ้นในอนาคต ไดแก กระทรวงสาธารณสุข กระทรวง/ หนวยงานอื่นที่ดําเนินงานเกี่ยวของกับสุขภาพ องคกรปกครองสวนทองถิ่นทุกประเภท สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ และสถาบันวิชาการ ดานสุขภาพ/องคกร/เครือขายวิชาชีพดานสุขภาพ องคกรพัฒนาสาธารณประโยชน เอกชน เครือขาย ประชาสังคมที่ทํางานเกี่ยวกับสุขภาพ ฯลฯ โดยกลไก/องคกรเหลานี้ ดําเนินงาน อยางอิสระไมขึ้นแกกันโดยตรง แตจําเปนตองมีการประสานเชื่อมโยง เพื่อใหการดําเนินงาน เปนไปอยางสอดคลองกัน และสอดคลองกับทิศทางของระบบสุขภาพแหงชาติที่พึงประสงค ดังภาพ
  • 10. ห น า | 10ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2541 เปนปที่ 53 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรด เกลาฯ ใหประกาศวา โดย ที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยสถานพยาบาลอันจะเปนการ จํากัดเสรีภาพใน การประกอบกิจการหรือประกอบอาชีพและการแขงขันโดยเสรีอยางเปน ธรรม ซึ่งมาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัย อํานาจตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและ ยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิกพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2504 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “สถานพยาบาล” หมายความวา สถานที่รวมตลอดถึงยานพาหนะซึ่งจัดไว เพื่อการประกอบโรคศิลปะตามกฎหมายวาดวยการประกอบโรคศิลปะ การประกอบวิชาชีพ เวชกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพเวชกรรม การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการ ผดุงครรภตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ การประกอบวิชาชีพ ทันตกรรมตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพทันตกรรม การประกอบวิชาชีพกายภาพบําบัดตาม กฎหมายวาดวยวิชาชีพกายภาพบําบัด การประกอบวิชาชีพเทคนิคการแพทยตามกฎหมาย วาดวยวิชาชีพเทคนิคการแพทย หรือการประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยและการ ประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทยประยุกตตามกฎหมายวาดวยวิชาชีพการแพทยแผนไทย ทั้งนี้ โดยกระทําเปนปกติธุระไมวาจะไดรับประโยชนตอบแทนหรือไม แตไมรวมถึงสถานที่ ขายยาตามกฎหมายวาดวยยา ซึ่งประกอบธุรกิจการขายยาโดยเฉพาะ “ผูปวย” หมายความวา ผูขอรับบริการในสถานพยาบาล
  • 11. ห น า | 11ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบพระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ. 2541 10. ถาผูดําเนินการพนจากหนาที่หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเกินเจ็ดวัน ผูรับอนุญาตอาจ มอบหมายใหบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติดําเนินการแทนไดไมเกินกี่วัน ก. สามสิบวัน ข. สี่สิบหาวัน ค. หกสิบวัน ง. เกาสิบวัน ตอบ ง. เกาสิบวัน 11. ในกรณีที่ใหบุคคลอื่นซึ่งมีคุณภาพดําเนินการในสถานพยาบาลแทน จะตองแจงเปน หนังสือใหผูอนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตวันที่เขาดําเนินการแทน ก. สามวัน ข. หาวัน ค. เจ็ดวัน ง. สิบหาวัน ตอบ ก. สามวัน ถาผูดําเนินการพนจากหนาที่หรือไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเกินเจ็ดวัน ผูรับอนุญาต อาจมอบหมายใหบุคคลซึ่งมีคุณสมบัติ ดําเนินการแทนไดไมเกินเกาสิบวัน ในกรณีเชนวานี้ ใหผูไดรับมอบหมายใหดําเนินการแทนแจงเปนหนังสือใหผูอนุญาตทราบภายในสามวันนับ แตวันที่เขาดําเนินการแทน 12.ผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแลวจะขอรับใบอนุญาตใหมอีกไมไดจนกวาจะพนกําหนด เมื่อใดนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต ก. หกเดือน ข. หนึ่งป ค. สองป ง. สามป ตอบ ค. สองป ผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตแลวจะขอรับใบอนุญาตใหมอีกไมไดจนกวาจะพนกําหนด สองปนับแตวันที่ถูกเพิกถอนใบอนุญาต 13. หากผูใดถูกเพิกถอนใบอนุญาตสถานพยาบาล มีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีไดภายใน ระยะเวลากี่วันนับแตวันที่รับทราบคําสั่ง ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. สี่สิบหาวัน
  • 12. ห น า | 12ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ตอบ ค. สามสิบวัน ผูที่ไดรับคําสั่งมีสิทธิอุทธรณตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ทราบคําสั่ง 14.ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ ในการใหบุคคลใดบุคคลหนึ่งมาใหถอยคําหรือ ใหสงเอกสารที่เกี่ยวของกับสถานพยาบาล ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสี่เดือน หรือปรับไมเกินสี่พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการ หรือคณะอนุกรรมการ ตองระวางโทษ จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 15. ผูใดประกอบกิจการสถานพยาบาล โดยไมไดรับใบอนุญาต ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสี่ป หรือปรับไมเกินเจ็ดหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ตอบ ค. จําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ หามมิใหบุคคลใดประกอบกิจการสถานพยาบาล เวนแตไดรับใบอนุญาตจากผู อนุญาตตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ และศาลจะสั่งริบบรรดาสิ่งของที่ใชในการประกอบกิจการสถานพยาบาลดวยก็ได 16. ใบอนุญาตใหประกอบกิจการสถานพยาบาลประเภทที่ไมรับผูปวยไวคางคืน มีอัตรา คาธรรมเนียมเทาใด ก. 500 บาท ข. 1000 บาท ค. 5000 บาท ง. 10000 บาท ตอบ ข. 1000 บาท 17. ใบอนุญาตใหดําเนินการสถานพยาบาลประเภทที่รับผูปวยไวคางคืนที่มีเตียงเกิน 25 เตียง แตไมเกิน 50 เตียง
  • 13. ห น า | 13ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร ประวัติของคอมพิวเตอร ป ค.ศ. 1812 : Charles Babbage ไดประดิษฐเครื่องชื่อ Difference Engine ที่สามารถคํานวณตารางลอการิทึม และฟงกชันทางตรีโกณขึ้น โดยตอมาเขาไดสรางขึ้นมา อีกเครื่องหนึ่งชื่อ Analytic Engine ที่สามารถเก็บตัวเลข 50 หลัก ไดถึง 1,000 ตัวเลข และ สามารถทําการบวกหรือลบได 60 ครั้งตอนาทีสําหรับตัวเลข 50 หลัก ซึ่งในการปอนขอมูล เขาเครื่องนั้นจะใชแผนกระดาษที่เจาะรูเปนขอมูล โดยลักษณะที่กลาวมานี้ถือเปนรากฐาน ของเครื่องคอมพิวเตอรที่ใชอยูในปจจุบัน แตการทํางานนั้นยังคงเปนการทํางานแบบ เครื่องกล (machine Model) ไมใชทํางานแบบอิเล็กทรอนิกส ป ค.ศ. 1942 : Dr. John V. Atanasoff และ Clifford Berry ไดรวมกันตั้ง Atanasoff Berry Computer Co. (ABC) ซึ่งไดสรางเครื่องคอมพิวเตอรไฟฟา โดยใช หลอดแกวสุญญากาศ (Vacuum Tubes) ขึ้น เพื่อใชแกสมการที่ยุงยาก ป ค.ศ. 1946 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดสรางเครื่อง คอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสขึ้น โดยตั้งชื่อวา Eniac ซึ่งนับวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรประเภท ตัวเลขที่ทํางานดวยระบบอิเล็กทรอนิกสเครื่องแรก ประกอบดวยหลอดแกวสุญญากาศจํานวน 18,000 หลอด มีน้ําหนักราว 30 ตัน และใชเนื้อที่ประมาณ 1,500 ตารางฟุต ป ค.ศ. 1951 : Dr. John W. Mauchly และ J. Presper Eckert ไดซื้อลิขสิทธิ์ ของเครื่อง Eniac มาพัฒนาเปนเครื่องตั้งชื่อวา Edvac โดยบริษัท Remington Rand ไดเสนอ ซื้อและพัฒนาจนกลายเปนเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเก็บขอมูลขนาดใหญ ชื่อวา Univac I ซึ่งถือวาเปนเครื่องคอมพิวเตอรเชิงพาณิชยเครื่องแรกดวย ป ค.ศ. 1951 – 1959 : ยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร (The First Generation of Computers) การนําเครื่องคอมพิวเตอรยูนิแวกค (Univac) ออกสูตลาดในป 1951 นั้นถือเปนยุคแรกของเครื่องคอมพิวเตอร อีกทั้งความสําเร็จนี้เปนผลใหเกิดระบบบัตร ไอบีเอ็ม (IBM Card System) และเปนแรงผลักดันใหเกิดการแขงขันในการผลิตคอมพิวเตอร เชิงพาณิชย เชน IBM 650 ป ค.ศ. 1959 – 1964 : ยุคที่สองของเครื่องคอมพิวเตอร (The Second Generation of Computers) เปนยุคที่นําทรานซิสเตอร (transistor) เขามาใชงานกับ คอมพิวเตอร ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทํางานไดเร็วขึ้นมาก และมีความแมนยํามากขึ้น
  • 14. ห น า | 14ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ เลขฐานในเครื่องคอมพิวเตอร Claude Shannon เปนผูอธิบายถึงความสัมพันธของวงจรไฟฟาเปด – ปด กับ สภาวะฐานสองของพีชคณิตโดยใชระบบตัวเลข 2 ตัวคือ 0 และ 1 ภายในเครื่องคอมพิวเตอร เลขสองตัวนี้จะถูกเรียกวา เลขฐานสอง (Binary Digit – Bit) ซึ่งเปนหนวยของขาวสารที่เล็กที่สุด โดยที่หนวยที่เล็กที่สุดนี้เมื่อรวมกัน 8 บิต (Bits) จะกลายเปนหนวยเก็บขอมูล 1 ตัว ที่เรียกวา ไบต (Byte) ดังนั้นหนวยเก็บขอมูล 1 ตัว (Byte) จะเทากับ 8 บิต (Bits) ซึ่งหนวยนี้จะถูกใชในการแปลงรหัสใหเครื่องเขาใจทั้ง ขอมูลที่เปนตัวเลข ตัวอักษร และตัวอักษรพิเศษ การแปลงรหัสคาของเลขฐานสอง (Binary Digit) ในแตละไบต (Byte) เพื่อให เครื่องคอมพิวเตอรเขาใจ และทํางานไดนั้นมีหลายรหัส แตรหัสที่นิยมใชกันในปจจุบันคือ – Extended Binary – Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC) – American Standard Code for Information Interchange (ASCII) Extended Binary – Coded Decimal Interchange Code (EBCDIC) ในป ค.ศ. 1964 บริษัท IBM จํากัด ไดประดิษฐเครื่องคอมพิวเตอรที่ใช 8 – Bit/Byte เปนหนวยความจําพื้นฐานและใชรหัส EBCDIC ในการแปลงรหัสขอมูลตัวอักษร/ ตัวเลข ซึ่งเครื่องคอมพิวเตอรขนาดใหญของ IBM ทุกเครื่องจะใชรหัส EBCDIC ทั้งสิ้น ยกเวนเครื่องไมโครคอมพิวเตอร เนื่องจากแตละบิตของไบตนี้สามารถเปนไดทั้งสภาวะ 0 และ 1 ดังนั้นรหัสนี้ จึงสามารถผสมกันไดถึง 28 = 256 รหัส โดยรหัส EBCDIC นี้จะแบงออกเปน 2 สวน แตละ สวนจะประกอบดวย 4 บิต ซึ่งสวนแรกเรียกวา Zone Portion และสวนหลังเรียกวา Digit Portion American Standard Code for Information Interchange (ASCII) จากการที่พยายามคิดคนรหัสอื่นนอกเหนือจากรหัส EBCDIC มาใช จึงทําให สามารถสรางรหัสที่ใชเนื้อที่หนวยความจํา 7 – Bit/Byte ไดสําเร็จ เรียกรหัสนี้วา ASCII ซึ่ง ทําใหเครื่องคอมพิวเตอรทั้งขนาดกลางและขนาดเล็ก คือ มินิคอมพิวเตอรและ ไมโครคอมพิวเตอรหันมาใชรหัส ASCII นี้ทั้งสิ้น รหัส ASCII นี้สามารถผสมกันไดแค 27 = 128 รหัส ทําใหประหยัดเนื้อที่ได มากกวารหัส EBCDIC
  • 15. ห น า | 15ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ การเปลี่ยนแปลงที่ทรงอานุภาพยิ่งใหญตอการเปลี่ยนสภาวะสิ่งแวดลอมทาง ธุรกิจมี 2 ประการ คือ 1. การเปลี่ยนแปลงที่กอกําเนิดและสรางความแข็งแกรงใหกับเศรษฐกิจ โลก (The Global Economy) 2. การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการแปลงระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและ สังคม เขาสูการใหบริการฐานขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงที่กอกําเนิดและสรางความแข็งแกรงใหกับเศรษฐกิจ โลก คือ การพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมโลกดวยคุณคาของขาวสารตอบริษัท องคการ และการเสนอโอกาสใหม ๆ ตอธุรกิจ ดวยบริการขาวสารผานสื่อการคมนาคมในการเสนอ ขายสินคา การบริการธุรกรรม การจัดการ และการบริการการสงสินคาถึงลูกคาไดอยาง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพทั้งในประเทศและทั่วโลกตลอด 24 ชั่วโมง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการแปลงระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมและ สังคม เขาสูการใหบริการฐานขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ คือ การปฏิรูป ระบบเทคโนโลยีสมัยใหมดวยการปฏิวัติสารสนเทศและองคความรู (The Knowledge and Information Revolution) ซึ่งสหรัฐฯ เปนประเทศแรกที่ไดเปลี่ยนตนเองเขาสูการใหบริการ ฐานขอมูลขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ วิวัฒนาการระบบเศรษฐกิจโลกสามารถแบงออกเปน 3 ชวง ดังนี้ 1. ระบบเกษตรกรรม 2. ระบบอุตสาหกรรม 3. ระบบการใหบริการฐานขอมูลขาวสารและองคความรูทางเศรษฐกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology – IT) มีความสําคัญตอการ ตัดสินใจทางการบริหารและการจัดการเพื่อความอยูรอดขององคการ โดยจะเห็นไดวาการ เติบโตของเทคโนโลยีสารสนเทศชวยใหเกิดการบริการแบบใหม ๆ เพื่อเสริมคุณคาทาง เศรษฐกิจ จึงนับไดวาขาวสารหรือสารสนเทศและเทคโนโลยีจะกลายเปนทรัพยากรที่สําคัญ และเปนกลยุทธในการบริการสําหรับบริษัท องคการ และผูบริหารในอนาคต แนวคิดทางการบริหารเปนแนวคิดที่ไดรับการพัฒนามาจากองคความรู หลากหลายสาขาวิชาการและนํามาประยุกตใช โดยเรียกอีกชื่อหนึ่งวา “สังคมศาสตร 3. View คือ วิธีการแสดงรูปแบบสารสนเทศที่ผูใชตองการ
  • 16. ห น า | 16ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ การละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟตแวร ลิขสิทธิ์ซอฟตแวร หมายถึง การไมอนุญาตใหทําซ้ําเพื่อเผยแพรหรือ จําหนาย นอกจากนี้การนําซอฟตแวรไปทําซ้ําเพื่อใชในคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายใน หนวยงานเดียวกัน โดยที่เจาของลิขสิทธิ์ใหใชเพียงคอมพิวเตอรระบบเดียวก็ถือเปน ความผิดเชนกัน วิธีการปองกันการละเมิดลิขสิทธิ์ คือ กําหนดใหมีแผน Original System ของซอฟตแวรทุกครั้งที่มีการรันโปรแกรมที่จะใชงาน มิฉะนั้นจะไมสามารถใชงานได เรา เรียกแผน Original System Disk นี้วา Key Disk การขอลิขสิทธิ์ซอฟตแวรมี 2 รูปแบบ คือ 1. Site Licensing หมายถึง การขออนุญาตการใชซอฟตแวรประเภท ใดประเภทหนึ่ง กับคอมพิวเตอรหลาย ๆ ระบบภายในหนวยงานเดียวกัน ซึ่งผูใชมีสิทธิ์ทํา สําเนาซอฟตแวรไดหลาย ๆ สําเนา โดยแตละสําเนาเพื่อคอมพิวเตอร 1 ระบบ ซึ่งถือวา เปนวิธีที่จะชวยประหยัดคาใชจายได 2. Network Licensing หมายถึง การมีซอฟตแวร 1 ระบบ และใช ในคอมพิวเตอรระบบเครือขาย โดยจะมีการติดตั้งซอฟตแวรดังกลาวไวที่คอมพิวเตอรที่ทํา หนาที่เปน Server และจะใชไดกับซอฟตแวรที่มีลักษณะเปน Multi–user เทานั้น อาชญากรรมในทางคอมพิวเตอร สามารถแบงออกไดเปน 3 ประเภท ดังนี้คือ 1.การละเมิดลิขสิทธิ์ในการใชงานในระบบคอมพิวเตอรเปน อาชญากรรมที่คอนขางจะปรากฏแพรหลายมากในหมูผูใชคอมพิวเตอร โดยปกติผูกอ อาชญากรรมประเภทนี้มักจะไมคอยทําลายขอมูลในแฟมของระบบเทาใดนัก นอกจากจะ เขาไปเพื่อขอดูสารสนเทศบางอยางที่ตนเองตองการทั้ง ๆ ที่ตนเองไมมีสิทธิ์ วิธีปองกันอาชญากรรมประเภทนี้คือ สรางระบบความปลอดภัยที่มี การกําหนดการปองกันไวหลาย ๆ ระดับ เชน การกําหนดรหัสผาน (Password) เพื่อใช สิทธิในการใชขอมูล หรืออาจใชวิธีการสอบถามหมายเลขโทรศัพทของผูใชดวย ซึ่งถาตอบ ผิดจะไมอนุญาตใหเขาไปในระบบ 2. การโจรกรรมโดยใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือ เปนการใช คอมพิวเตอรในการยักยอกเงินจากผูอื่นโดยโอนเงินเขาบัญชีของตนเอง โดยปกติพวกที่กอ อาชญากรรมประเภทนี้มักจะทําในกรณีของการประมวลผลแบบ Transaction
  • 17. ห น า | 17ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 3. การขโมยเวลาใชเครื่องคอมพิวเตอร เปนการใชเครื่อง คอมพิวเตอรของสํานักงานเพื่อทําธุรกิจสวนตัว เชน การพิมพจดหมายสวนตัว หรือทํา บัตรอวยพรของตน เปนตน ไวรัสคอมพิวเตอร (Computer Virus) ไวรัสคอมพิวเตอร คือ โปรแกรมชนิดหนึ่งซึ่งซอนตัวอยูในโปรแกรมอื่นใน ระบบ ไวรัสเหลานี้จะเปนโปรแกรมที่เขียนมาเพื่อเจตนาจะกอกวนและทําลายลางระบบการ ทํางานของโปรแกรมอื่น โดยปกติแลวไวรัสนั้นมักจะเขาไปฝงตัวอยูในระบบปฏิบัติการ เชน อยูบน COMMAND.COM บน DOS ซึ่งเปนระบบปฏิบัติการที่นิยมใชกันบนเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร วิธีการปองกันไวรัสบนคอมพิวเตอร อาจทําไดดังนี้ – อยา Load Program จากแผนดิสเกตตที่ไมแนใจปลอดไวรัสเขาสูระบบ คอมพิวเตอร – จะตองมีการตรวจสอบซอฟตแวรใหแนใจวาปลอดภัยจากไวรัสกอนจึงจะนํามาใช งานได – ใชโปรแกรมวัคซีน (Vaccine Program) โดยที่โปรแกรมวัคซีนจะมีหนาที่ ตรวจสอบซอฟตแวรที่จะใชวามีไวรัสหรือไม บุคลากรที่ใชคอมพิวเตอรควรมีลักษณะอยางไร ผูที่ใชคอมพิวเตอรไดนั้นไมจําเปนตองมีความรูหรือความเชี่ยวชาญในทาง คณิตศาสตรในระดับสูง ผูที่จะใชคอมพิวเตอรเพื่อทํางานทางธุรกิจนั้น ขอใหมีความรูทาง คณิตศาสตรในระดับพื้นฐาน เพื่อทํากิจกรรมทางธุรกิจบางอยาง เชน การวางแผนก็ เพียงพอแลวที่จะสั่งงานคอมพิวเตอรได ผูที่ใชคอมพิวเตอรในระดับ User ไมจําเปนตองเขียนโปรแกรมได เพราะ เปนหนาที่ของผูเขียนโปรแกรมเฉพาะดานอยูแลว ในระดับของผูใชนั้นก็เพียงแตตองมีการ อบรมใหความรูในการใชงานก็เพียงพอแลว
  • 18. ห น า | 18ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบ พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร พ.ศ.2550 4.ผูแตงตั้งพนักงานเจาหนาที่ตาม พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร คือใคร ก. ปลัดกระทรวง ข. รัฐมนตรี ค. ผูวาราชการจังหวัด ง. นายกรัฐมนตรี ตอบ ข. รัฐมนตรี “พนักงานเจาหนาที่” หมายความวา ผูซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งใหปฏิบัติการตาม พระราชบัญญัตินี้ (พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 3) 5.ผูรักษาการใน พรบ.วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร คือใคร ก. รัฐมนตรีวาการกระทรวงยุติธรรม ข. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย ค. รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ตอบ ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร รัฐมนตรีวาการกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศแลการสื่อสารรักษาการตามพร ราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้ (พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 4) 6.ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึงตองระวางโทษ อยางไร ก. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท ข. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 50,000 บาท ง. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 50,000 บาท ตอบ ก. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท
  • 19. ห น า | 19ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ ผูใดเขาถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอรที่มีมาตรการปองกันการเขาถึง โดยเฉพาะ และมาตรการนั้นมิไดมีไวสําหรับตน ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหก เดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (พรบ. วาดวยการกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 5) 7.ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปนการเฉพาะและ นําไปเปดเผยโดยมิชอบทําใหเกิดความเสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท ข. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท ค. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท ง. จําคุกไมเกินหกเดือน หรือปรับไมเกิน 10,000 บาท ตอบ ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกิน 20,000 บาท ผูใดลวงรูมาตรการปองกันการเขาถึงระบบคอมพิวเตอรที่ผูอื่นจัดทําขึ้นเปน การเฉพาะ ถานํามาตรการดังกลาวไปเปดเผยโดยมิชอบในประการที่นาจะเกิดความ เสียหายแกผูอื่น ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ (พรบ. วาดวยการกระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร พ.ศ. 2550 มาตรา 6) 8.ในการติดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส เปนเหตุใหผูอื่นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่นหรือไดรับความเสียหายตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 30,000 บาท ข. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 60,000 บาท ค. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกิน 100,000 บาท ง. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกิน 500,000 บาท ตอบ ข. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกิน 60,000 บาท ผูใดนําเขาสูระบบคอมพิวเตอร ที่ประชาชนทั่วไปอาจเขาถึงไดซึ่งขอมูล คอมพิวเตอรที่ปรากฏเปนภาพของผูอื่น และภาพนั้นเปนภาพที่เกิดจากการสรางขึ้น ตัดตอ เติม หรือดัดแปลงดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกสหรือวิธีการอื่นใด ทั้งนี้โดย ประการที่นาจะทําใหผูอื่นนั้น เสียชื่อเสียง ถูกดูหมิ่น ถูกเกลียดชัง หรือไดรับความอับ อาย ตองระวางโทษจําคุกไมเกินสามป หรือปรับไมเกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจํา
  • 20. ห น า | 20ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยพนักงาน ราชการ พ.ศ.2547 7.พนักงานราชการมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท ตอบ ข. 2 ประเภท พนักงานราชการมีสองประเภท (ระเบียบฯ ขอ 6) 8.พนักงานราชการที่ปฏิบัติงานในลักษณะที่ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปน พิเศษหมายถึงผูใด ก. พนักงานราชการ ข. พนักงานราชการทั่วไป ค. พนักงานราชการพิเศษ ง. พนักงานราชการเชี่ยวชาญ ตอบ ค. พนักงานราชการพิเศษ พนักงานราชการพิเศษ ไดแก พนักงานราชการซึ่งปฏิบัติงานในลักษณะที่ ตองใชความรูหรือความเชี่ยวชาญสูงมากเปนพิเศษเพื่อปฏิบัติงานในเรื่องที่มี ความสําคัญและจําเปนเฉพาะเรื่องของสวนราชการ หรือมีความจําเปนตองใชบุคคล ในลักษณะดังกลาว (ระเบียบฯ ขอ 6 (2)) 9.ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการจะจําแนกเปนกลุมงานโดยพิจารณาจากสิ่งใด ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ข. ลักษณะงานและคุณภาพของงาน ค. ประเภทและผลผลิตของงาน ง. ประเภทและคุณภาพของงาน ตอบ ก. ลักษณะงานและผลผลิตของงาน ในการกําหนดตําแหนงของพนักงานราชการ ใหกําหนดตําแหนงโดยจําแนก เปนกลุมงานตามลักษณะงานและผลผลิตของงาน (ระเบียบฯ ขอ 7) (1) กลุมงานบริการ (2) กลุมงานเทคนิค (3) กลุมงานบริหารทั่วไป
  • 21. ห น า | 21ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ (4) กลุมงานวิชาชีพเฉพาะ (5) กลุมงานเชี่ยวชาญเฉพาะ (6) กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ 10.ตําแหนงของพนักงานราชการมีกี่กลุม ก. 4 กลุม ข. 5 กลุม ค. 6 กลุม ง. 7 กลุม ตอบ ค. 6 กลุม คําอธิบายดังขอขางตน 11.ขอใดไมใชกลุมงานของพนักงานราชการ ก. กลุมงานบริการ ข. กลุมงานเทคนิค ค. กลุมงานบริหาร ง. กลุมงานเชี่ยวชาญพิเศษ ตอบ ค. กลุมงานบริหาร คําอธิบายดังขอขางตน 12.ในการกําหนดตําแหนงของกลุมงานและกําหนดลักษณะงานใหเปนไปตามประเภทของ ใคร ก. อธิบดี ข. ปลัดทบวง ค. ปลัดกระทรวง ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ ตอบ ง. คณะกรรมการบริหารพนักงานราชการ การกําหนดใหพนักงานราชการประเภทใดมีตําแหนงในกลุมงานใด และการ กําหนดลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะของกลุมงาน ใหเปนไปตามประกาศของ คณะกรรมการ (ระเบียบฯ ขอ 7) 13.กรอบอัตรากําลังพนักงานราชการมีระยะเวลากี่ป ก. 2 ป ข. 3 ป ค. 4 ป ง. 5 ป ตอบ ค. 4 ป
  • 22. ห น า | 22ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ แนวขอสอบคอมพิวเตอร ชุดที่ 3 6.ไมโครโพรเซสเซอร (Microprocessor) คือ (1) อุปกรณชิ้นสวนของเครื่องรับโทรทัศน (2) ตนกําเนิดของเครื่องคอมพิวเตอรสวนตัว (Personal Computer) (3) ชิป (Chip) ที่ทําหนาที่เฉพาะอยางในคอมพิวเตอร (4) ขอ 2 และขอ 3 ถูก (5) ขอ 1 และขอ 3 ถูก ตอบ 2 ไมโครโปรเซสเซอร (Microprocessor) คือ ชิปวงจรเชื่อมตอหนึ่งตัวที่สามารถทํางาน ทุกอยางไดครบถวน โดยมีวงจรเปนแบบ VLSI (Very Large Scale Integration) ที่ถือ เปนสมองหรือศูนยประมวลผลกลางของคอมพิวเตอร และยังถือเปนตนกําเนิดของเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร (Microcomputer/Desktop Computer/Personal Computer)ยุคปจจุบัน 7.เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่ใชในการจองตั๋วเครื่องบิน เปนการประมวลผลในลักษณะ (1) การกระจายการประมวลผล (2) การประมวลผลแบบรวมศูนย (3) การประมวลผลแบบทํางานเดี่ยว (4) ขอ 1 และ ขอ 2 ถูก (5) ถูกทุกขอ ตอบ 2 เครือขายแบบดาว (Star Network) เปนเครือขายที่ประกอบดวยเครื่องคอมพิวเตอร และอุปกรณตอพวงอื่น ๆ ตอเชื่อมโดยตรงกับเครื่องคอมพิวเตอรหลัก โดยที่การสื่อสาร ทั้งหมดที่จะตองผานไปยังเครื่องคอมพิวเตอรหลักกอน ซึ่งการทํางานลักษณะนี้จะเปนการ ประมวลผลแบบรวมศูนย (Centralized Process) กลาวคือ การสื่อสารจากจุดใด ๆ ใน เครือขายจะตองพึ่งพิงคอมพิวเตอรศูนยกลาง ดังนั้นจึงเหมาะสําหรับการปฏิบัติงานดานการ ใหบริการตาง ๆ เชน การจองตั๋วเครื่องบิน ระบบการรับฝากเงินของธนาคาร เปนตน แต มีขอเสีย คือ หากเครื่องคอมพิวเตอรศูนยกลางเกิดขัดของก็จะทําใหการสื่อสารของจุดตางๆ ในเครือขายขัดของไปดวย 8.เครื่องไมโครคอมพิวเตอรที่ใชตรวจผลสอบเอ็นทรานสเปนการประมวลผลในลักษณะ (1) การกระจายการประมวลผล (2) การประมวลผลแบบรวมศูนย (3) การประมวลผลแบบทํางานเดี่ยว (4) ขอ 1 และ ขอ 2 ถูก
  • 23. ห น า | 23ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ 48.เครือขายอินเตอรเนตมีรูปแบบของเครือขาย (Topology) แบบใด (1) Bus (2) Star (3) Ring (4) ถูกทุกขอ ตอบ 4 อินเตอรเน็ต (Internet) ระบบของการเชื่อมโยงขายงานคอมพิวเตอรขนาดใหญมาก ครอบคลุมไปทั่วโลก เพื่ออํานวยความสะดวกในการใหบริการสื่อสารขอมูล เชน การบันทึก เขาระยะไกล (Remote Login) การถายโอนแฟม ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส และกลุมอภิปราย อินเตอรเน็ต เปนวิธีในการเชื่อมโยงขายงานหลากหลายรูปแบบของเครือขาย (Topology) เพื่อการเขาถึงของแตละระบบที่มีสวนรวมอยู 49.อุปกรณเครือขายคอมพิวเตอรที่ทําหนาที่หาเสนทางที่ดีในการสงขอมูลคือ (1) Modem (2) Hub (3) Router (4) Switch ตอบ 3 Router เปนอุปกรณที่ใชเชื่อมตอ LAN หลาย ๆ เครือขายเขาดวยกันคลายกับ Switch แตจะมีสวนเพิ่มเติมขึ้นมา คือ Router สามารถเชื่อมตอ LAN ที่ใชโปรโตคอลในการ รับสงขอมูลเหมือนกัน แตใช Media หรือสายสงตางชนิดกันได Router มีการทํางานใน ระดับชั้นที่ 3 ของ OSI คือ Network Layer และสามารถรับสงขอมูลที่เปนกลุมขอมูล หรือ Frame จากตนทางไปยังปลายทางได โดยเลือกหรือกําหนดเสนทางที่ดีที่สุดที่ขอมูลจะถูก สงไป และแปลงขอมูลใหเหมาะสมกับอุปกรณฮารดแวรที่ใชรับสงใน 2 ชั้นลางถัดไปที่ เชื่อมตออยู 50.ตัวเลือกในขอใดไมใชหนาที่ของระบบปฏิบัติการ (1) จัดสรรทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร (2) ใหบริการแกผูใช (3) ประมวลผลโปรแกรมประยุกต (4) ควบคุมการทํางานของโปรแกรมประยุกต ตอบ 3 หนาที่ของระบบปฏิบัติการ (Operating System) มีดังนี้ 1. จัดสรรการใชทรัพยากรตาง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอรใหกับโปรแกรมและผูใช
  • 24. ห น า | 24ลิขสิทธิ์โดย นักวิชาการเตรียมสอบขาราชการ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740