SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
Descargar para leer sin conexión
~1~

 
~2~

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
ประวัติความเปนมา
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
อํานาจหนาที่
วิสัยทัศนและพันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues)

5
5
5
6
7

ความรูเฉพาะตําแหนงพัสดุ
ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ
ความหมายของการบริหารงานพัสดุ
ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ
การจัดมาตรฐานพัสดุ
การจัดหา
การบริหารพัสดุคงเหลือ
การจัดการคลังพัสดุ
การขนสง
การบํารุงรักษา
การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี
การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ

8
8
8
9
15
20
30
33
45
52
58
61

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัสดุ
ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545
ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงิน
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม
พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540
แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535
และแกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและ
การตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม
แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545
สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544
สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค
การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น
คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ
สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม
สภาองคการบริหารสวนจังหวัด
นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด
การงบประมาณและการคลัง
การกํากับดูแล
สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552
การจัดตั้งเทศบาล
สภาเทศบาล
อํานาจหนาที่ของนายกเทศมนตรี
เทศบัญญัติ

72
141
145
171
185
193
215
225
228
238
238
240
243
243
243
246
247
248
248
250
252
252
252
254
254
~3~
การคลังและทรัพยสินของเทศบาล
การควบคุมเทศบาล
คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล
สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง
ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552
สภาตําบล
การกํากับดูแลสภาตําบล
งบประมาณรายจายประจําป
การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล
สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3
พ.ศ. 2551
การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด
การบริหารงานบุคคลในเทศบาล
การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล
การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร
การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา
คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น
สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549
คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
พ.ศ. 2546
การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน
การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ
การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ

การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ
การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ
สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม
การบริหารเมืองพัทยา
สภาเมืองพัทยา
นายกเมืองพัทยา
ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา
ขอบัญญัติเมืองพัทยา
การกํากับดูแล

255
256
256
265
265
267
270
271
272
272
273
274
275
275
275
279
279
280
282
282
282
283
284
285
286
286
287
288
288
288
288
289
289
291
~4~

ประวัตความเปนมา
ิ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน
การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล
การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง
และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

อํานาจหนาที่
1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ
ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น
3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ
องคการปกครองสวนทองถิ่น
4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง
สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น
5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ
พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ
ปกครองสวนทองถิ่น
6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร
้
่
ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน
8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
~5~

การบริหารงานพัสดุ
ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ
ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย
คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management)
ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามที่จะ
คิดคนวิธีการที่จะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานที่ที่ตองการไดอยาง
เหมาะสม
การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงาน
พัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตอง
ลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือ
ตองหาวิธีใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด
การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอด
หรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน
ความหมายของการบริหารงานพัสดุ
การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใช
ในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิด
สภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคลื่อนยายพัสดุนี้
มา
วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง”
(Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ
การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย
ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ
การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุ
จะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ
ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้
1. การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ
2. การกําหนดความตองการ
~6~

3. การกําหนดงบประมาณ
4. การจัดหา
5. การเก็บรักษา
6. การแจกจาย
7. การบํารุงรักษา
8. การจําหนาย
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ
วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยาง
พอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด
ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยู
รอดและมีกําไร การที่เปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ขึ้นอยูกับปจจัยหลายดาน และ
ปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงาน
พัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ
กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ
1. พยายามซื้อพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพง
จะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากขึ้น และกําไรลดลง
2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว
พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการ
เก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง
3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมี
ประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถา
การรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได
4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทํา
ใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาได
ทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ
5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่
คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสีย
ไดอยางมาก
~7~

6. พยายามเลือกสรรผูขายที่ดี หากกิจการเลือกผูขายไดถูกตองเหมาะสม
ก็จะมีผลทําใหกิจการไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพดี มีปริมาณเพียงพอ ราคายุติธรรม และจัดสง
ไดทันเวลา
7. การพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานที่เหมาะสม การทํางานให
บรรลุเปาหมายไดนั้น จะตองอาศัยบุคลากรที่มีความรูความสามารถและความชํานาญ
เพื่อใหการปฏิบัติงานไปสูจุดมุงหมาย ผูบริหารจําเปนตองใหความสําคัญตอการพัฒนา
บุคลากร รวมทั้งตองคํานึงถึงคาใชจายในดานแรงงานดวย
8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี การมีขอมูลทางดานพัสดุจะเปนแนวทางใน
การวางแผนและคาดคะเนลวงหนา และชวยใหตัดสินใจไดแมนยํายิ่งขึ้น
9. การกําหนดมาตรฐานของพัสดุที่ใชในกิจการ จะชวยใหสามารถขจัด
รายการพัสดุอุปกรณที่ซ้ําซอนกันได ทําใหลดเนื้อที่คลังพัสดุ ลดงานดานจัดซื้อ ลดงานดาน
บัญชีและการควบคุมพัสดุลงได
หลักในการพิจารณากําหนดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้ คือ
1. ราคา ใหคํานึงถึงการคุมคาในการใช
2. คุณภาพ ใหสนองตอบความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ
3. ความยากงายในการจัดซื้อ มีจําหนายกันแพรหลายในตลาด หาซื้อไดงาย
4. ชนิดและขนาด สามารถครอบคลุมการใชไดอยางกวางขวาง
10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา จะชวยใหการกําหนดสินคาคงเหลือ
ราคาจัดซื้อ ระยะเวลาในการจัดหา ซึ่งจะทําใหการบริหารพัสดุคงเหลือมีประสิทธิภาพดีขึ้น
การบริหารงานพัสดุกับฐานะการเงินของธุรกิจ
การบริหารงานพัสดุมีความสําคัญตอกิจการอุตสาหกรรมโดยตรง เพราะธุรกิจแต
ละแหงตางก็มีขีดจํากัดในการลงทุนสรางโรงงาน ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร สรางสินคาคงคลัง
ลูกหนี้ และคาใชจายในการดําเนินงาน
ดังนั้น การลงทุนจึงตองพยายามใหเงินทุนนั้นไดประโยชนสูงสุด ซึ่งทําได 2 ทาง
คือ
1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต
2. การเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม
ความสําเร็จของการบริหารพัสดุจะทําใหบรรลุถึงเปาหมายทั้ง 2 ขอ เพราะถา
สามารถลดตนทุนหรือคาใชจายในการซื้อพัสดุไดจะทําใหผลกําไรเพิ่มขึ้น และการเพิ่ม
~8~

การจัดมาตรฐานพัสดุ
การกําหนดมาตรฐานพัสดุ (Standardization) หมายถึง กระบวนการของการ
จัดตั้งขอตกลงเกี่ยวกับคุณภาพ รูปแบบ สวนประกอบ และอื่น ๆ เพื่อใชเปนเกณฑในการ
กําหนดมาตรฐานใหเปนแบบอยางเดียวกัน
การจัดมาตรฐานพัสดุ มีความหมายอยางกวาง ๆ วา หมายถึง การกระทําขั้น
สุดทายในการคัดแยก เพื่อลดจํานวนพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีอยูมากมายหลายชนิด ใหคงเหลือ
เทาที่เหมาะสมที่สุดเทานั้น และยังครอบคลุมไปถึงกรรมวิธีหรือวิธีปฏิบัติในการผลิต จัดหา
เก็บรักษา แจกจาย และซอมบํารุงพัสดุครุภัณฑเหลานั้นดวย
ความมุงหมายหรือวัตถุประสงคของการจัดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้
1. เพื่อลดจํานวนรายการพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีลักษณะและการใชงานที่เหมือน ๆ
กัน ใหมีขนาด ชนิด แบบ เหลือนอยที่สุด รวมทั้งกรรมวิธีปฏิบัติในการออกแบบ การพัฒนา
การผลิต และการสงกําลังบํารุง
2. เพื่อเปนการประหยัดในดานการเงิน กําลังเจาหนาที่ เวลา เครื่องอํานวยความ
สะดวก และทรัพยากรธรรมชาติ
3. เพื่อใหมีวัสดุครุภัณฑที่เชื่อถือไดแนนอน มีชิ้นสวน อะไหล หรือสวนประกอบ
ที่สามารถสับเปลี่ยนใชแทนกันไดมากที่สุด เพื่อการบํารุงรักษาพัสดุครุภัณฑใหคงสภาพได
นานที่สุด
ประเภทของมาตรฐาน แบงได 5 ประเภทใหญ ๆ คือ
1. มาตรฐานสําหรับวัดคา เปนพื้นฐานการวัดคาทางวิทยาศาสตรสําหรับ
วัดความยาว มวลสาร ความหนาแนน และปริมาตร เชน ระบบมาตรฐานอังกฤษ ระบบ
เมตริก และระบบ เอส. ไอ. (S.I. Unit)
2. มาตรฐานคาคงที่ เปนคาคงที่ที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางหนวยวัด
ตาง ๆ ที่ใชในอุตสาหกรรม
3. มาตรฐานคุณภาพ หมายถึง ขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่
บอกถึงคุณสมบัติตาง ๆ โดยมีระดับตัวเลขของคุณลักษณะที่ตองการ ซึ่งอาจรวมถึงการวัด
คาและทดสอบดวย
4. มาตรฐานสมรรถภาพ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะที่กําหนดสมรรถนะ
การปฏิบัติงานของเครื่องจักรและอุปกรณตาง ๆ ในการใชงาน เชน กําลังสงของมอเตอร
ความทนทานของเหล็ก ความเร็วรอบแรงดึงของเหล็กเสน ฯลฯ
~9~

การจัดทําสมุดรายการพัสดุ
การจัดทําสมุดรายการพัสดุมีจุดมุงหมายที่สําคัญ คือ
1. เพื่อชวยในการกําหนดความตองการเปนไปโดยรวดเร็ว ถูกตอง และแนนอน
2. เพื่อชวยในการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ ครุภัณฑ
3. เพื่อลดจํานวนการสํารวจตรวจสอบพัสดุ
4. เพื่อสะดวกในการคนหาเพื่อเลือกหรือกําหนดพัสดุที่สามารถสับเปลี่ยนใชแทนกัน
ได
5. เพื่อเปดโอกาสใหมีการแขงขันการผลิตสินคา และขยายแหลงที่มาของพัสดุให
กวางขวางยิ่งขึ้น
6. เพื่อใหการใชพัสดุครุภัณฑเปนไปอยางถูกตอง
7. เพื่อเปนเครื่องมือในการทําสถิติขอมูลเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณ
การจัดทําสมุดรายการพัสดุจะประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ดังนี้
1. การบัญญัติชื่อ (Naming) คือ การตั้งชื่อพัสดุจะตองเปนมาตรฐานอยางเดียวกัน
2. การบรรยายลักษณะ (Describing) คือ การบรรยายลักษณะพัสดุใหละเอียด
ชัดเจน
3. การจําแนกประเภท (Classifying) โดยจําแนกออกตามประเภทการใชงาน
4. การกําหนดหมายเลข (Identifying) โดยใชหมายเลขลําดับกอนหลังแตละรายการ
ระบบ Bar Code มี 2 ระบบ คือ
1. Universal Product Code (UPC) เปนระบบที่ใชในสหรัฐอเมริกา
2. European Article Numbering (EAN) เปนระบบที่ใชในยุโรป และเอเชีย-แปซิฟก
รวม 58 ประเทศ ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยเราดวยที่ใชระบบนี้
ตัวเลขในระบบ Bar Code มี 2 แบบ คือ แบบตัวเลข 13 หลัก และแบบตัวเลข 8
หลัก ซึ่งทั้ง 2 แบบนั้น ตัวเลข 3 ตัวแรกจะเปนหมายเลขที่แสดงรหัสประเทศ
ประโยชนของ Bar Code คือ ปองกันความผิดพลาดและเพิ่มความรวดเร็วในการ
คิดราคา, สามารถควบคุมสินคาคงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ, ลดขั้นตอน ประหยัดเวลา
และเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการบริหารงาน, ทําใหตลาดของสินคาเปดกวางขึ้น เปน
ผลดีตอการแขงขัน ฯลฯ

การจัดหา
ความหมายของการจัดหาพัสดุ
~ 10 ~

“การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ
ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ
“การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ
และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ
การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ
1. การซื้อ ได แ ก การซื้ อ พั ส ดุ ทุก ชนิด ทั้ง ที่ มี ก ารติ ด ตั้ ง ทดลอง และบริ ก ารที่
เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน
2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย
เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ
3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ
4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ
รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชสิ้นเปลืองระหวางหนวยงาน
6. การผลิตเอง เปนการจัดทําขึ้นมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน
พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล
7. การแลกเปลี่ยน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535
นั้น การแลกเปลี่ยนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการ
แลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุ
8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ
9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย
หนวยงานของรัฐ
วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ
วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ
1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง
2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน
พัสดุ
3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ
4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ
~ 11 ~

ระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535
แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2539 (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ. 2541 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543
(ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2547 (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวย
การบริหารราชการสวนทองถิ่นเสียใหมใหเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 43 และมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร
ราชการสวนจังหวัด(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499 มาตรา 69 และมาตรา 77 แหงพระราชบัญญัติ
เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 และมาตรา 88 แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ
บริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว
ดังตอไปนี้
ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวย
การบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535”
ขอ 2 ระเบียบนี้ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535
ขอ 3 ใหยกเลิก
(1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวน
ทองถิ่น พ.ศ. 2528
(2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวน
ทองถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2532
(3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการซื้อ การจาง และการจางที่ปรึกษาภายใต
โครงการที่ดําเนินการดวยเงินกูจากตางประเทศของเทศบาลและเมืองพัทยา พ.ศ. 2528
บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําสัง หรือหนังสือสัง การอื่นใด ที่ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้หรือที่มี
กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน
ขอ 4 ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความ
วินิจฉัยปญหา กําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบนี้
ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถินไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบติ
่
ั
ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ใหขอทําความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยกอนการปฏิบติ
ั
ปลัดกระทรวงมหาดไทยอาจมอบอํานาจตามวรรคสอง ใหอธิบดีกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นหรือผูวาราชการจังหวัด ก็ได

~ 12 ~

หมวด 1
ขอความทั่วไป
สวนที่ 1
นิยาม
ขอ 5 ในระเบียบนี้
“การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง
ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการ
ดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้
“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ
จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู
จากตางประเทศ
“การซื้อ” หมายความวา การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการ
ที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แตไมรวมถึงการจัดหาพัสดุในลักษณะการจาง
“การจาง” ใหหมายความรวมถึง การจางทําของและการรับขนตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยและการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของหนวยการบริหาร
ราชการสวนทองถิ่น
การรับขนในการเดินทางไปราชการตามระเบียบวาดวยคาใชจายในการเดินทางไป
ราชการของเจาหนาที่ทองถิ่น การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน และการ
จางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย
“การจางที่ปรึกษา” หมายความวา การจางบริการจากที่ปรึกษา แตไมรวมถึงการ
จางออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ
"การจางออกแบบและควบคุมงาน" หมายความวา การจางบริการจากนิติบุคคล
หรือบุคคลธรรมดา ที่ประกอบธุรกิจบริการดานงานออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคาร
ดวยเงินงบประมาณ
“เงินงบประมาณ” หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจาย
เพิ่มเติม แตไมรวมถึงเงินกู และเงินชวยเหลือตามระเบียบนี้
“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น
จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทศใหเปนการเฉพาะเจาะจง
ิ
“เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ

“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ
~ 13 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย
วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535
และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553
5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ”
ก. วัสดุ
ข. ครุภัณฑ
ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ
จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู
จากตางประเทศ
6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปน
การเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด
ก. เงินเฉพาะกิจ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินกู
ง. เงินยืม
ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ
“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น
จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง
7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด
ก. เงินยืม
ข. เงินกู
ค. เงินชวยเหลือ
ง. เงินกูเฉพาะกิจ
ตอบ ข. เงินกู
“เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ
8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด
ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ
ก. มูลธินิปวีณา
ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ
~ 14 ~

“เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ
องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับ
รัฐบาลและที่มิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ
9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น”
ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล
ข.องคการบริหารสวนตําบล
ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน
จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชย
ของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย
10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. นายกเทศมนตรี
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก
องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล
11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง
ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง
ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
“รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ
12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดใน
กิจการนั้น
ก. รอยละยี่สิบ
ข. รอยละยี่สิบหา
~ 15 ~

ค. รอยละสี่สิบหา
ง. รอยละหาสิบเอ็ด
ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา
คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละยี่สิบหา
ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนด
สําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด
13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูใด
ก. ปลัดอําเภอ
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด
14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน
เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งโดยตองอุทธรณภายใน
ระยะเวลาใด
ก. 3 วัน
ข. 5 วัน
ค. 7 วัน
ง. 15 วัน
ตอบ ก. 3 วัน
ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนอ
งานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูวา
ราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของ
การอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย
15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี
ก. 3 วิธี
ข. 4 วิธี
ค. 5 วิธี
ง. 6 วิธี
ตอบ ค. 5 วิธี
วิธีซื้อและวิธีจาง
การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ
(1) วิธีตกลงราคา
~ 16 ~

44. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคา
คุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง
ก. รอยละ 2
ข. รอยละ 3
ค. รอยละ 10
ง. รอยละ 50
ตอบ ก. รอยละ 2
การจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน
10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 2
ของวงเงินงบประมาณคากอสราง
45. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน
10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใด
ของวงเงินงบประมาณคากอสราง
ก. รอยละ 1
ข. รอยละ 1.25
ค. รอยละ 1.5
ค. รอยละ 1.75
ตอบ ค. รอยละ 1.75
อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน
10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 1.75
ของวงเงินงบประมาณคากอสรางการจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน ไมรวมถึงคา
สํารวจและวิเคราะหดินฐานราก
46.ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหารราชการ
สวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงหนวยงานใดใหรับทราบ
ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน
ข. สํานักงบประมาณ
ค. กรมบัญชีกลาง
ง. กองคลัง
ตอบ ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน
ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหาร
ราชการสวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงสํานักงานตรวจเงินแผนดิน หรือสํานักงานตรวจเงิน
แผนดินภูมิภาค แลวแตกรณี ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับครุภัณฑ
~ 17 ~

47.ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป น ต อ งจ า ยเงิ น ค า เช า ล ว งหน า ในการเช า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย แ ละ
สังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกินเทาใด
ก. 1 ป
ข. 2 ป
ค. 3 ป
ง. 4 ป
ตอบ ค. 3 ป
ในกรณีที่มีความจําเปนตองจายเงินคาเชาลวงหนาในการเชาอสังหาริมทรัพยและ
สังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกิน 3 ป
48.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากสวนราชการ หนวยการบริหาร
ราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวน
ทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอยละเทาใดของคาเชาทั้งสัญญา
ก. รอยละ 25
ข. รอยละ 35
ค. รอยละ 45
ง. รอยละ 50
ตอบ ง. รอยละ 50
การเชาจากสวนราชการ หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมี
กฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอย
ละหาสิบของคาเชาทั้งสัญญา
49.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละเทาใด
ของคาเชาทั้ง
ก. รอยละ 25
ข. รอยละ 35
ค. รอยละ 45
ง. รอยละ 50
ตอบ ก. รอยละ 25
การเชาจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละยี่สิบของคาเชาทั้ง สัญญาการจายเงินคาเชา
ลวงหนานอกเหนือจากหลักเกณฑขางตน ใหขอทําความตกลงกับผูวาราชการจังหวัดกอน
50.กอนดําเนินการเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพย ใหเจาหนาที่พัสดุทํา
รายงานเสนอหัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น โดยตองมีรายการ
ใด
ก. เหตุผลและความจําเปนที่จะตองเชา
~ 18 ~

แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิก
จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกร
ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543
4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด
ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. สภาเทศบาล
ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
“สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล
สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด
ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด
ข. นายกเทศมนตรี
ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี
คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง
6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครอง
สวนทองถิ่น หมายถึง
ก. ตูนิรภัย
ข. กลองบรรจุ
ค. หีบหอ
ง. ตูเซฟ
ตอบ ก. ตูนิรภัย
“ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับ
เก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา
ก. หลักฐานจายเงิน
ข. หลักฐานการจาย
ค. ใบสําคัญคูจาย
ง. ใบสําคัญจาย
~ 19 ~

ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน
“หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก
ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว
8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา
ก. หลักฐานจายเงิน
ข. หลักฐานการจาย
ค. ใบสําคัญคูจาย
ง. ใบสําคัญจาย
ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย
“ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐาน
ของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่
ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย
9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา
ก. เงินรายรับ
ข. เงินจัดเก็บ
ค. เงินนอกงบประมาณ
ง. เงินทุน
ตอบ ก. เงินรายรับ
“เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือ
ไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม
10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏ
ตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุ
วัตถุประสงค เรียกวา
ก. เงินรายรับ
ข. เงินจัดเก็บ
ค. เงินนอกงบประมาณ
ง. เงินทุน
ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ
“เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล
อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค
~ 20 ~

11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใด
ยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา
ก. เงินงบประมาณ
ข. เงินนอกงบประมาณ
ค. เงินยืม
ง. เงินยืมจาย
ตอบ ค. เงินยืม
“เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร
ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือ
ปฏิบัติราชการอื่นใด
12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือ
ตามที่กฎหมายกําหนด เรียกวา
ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา
ข. แผนพัฒนาสามป
ค. แผนพัฒนา
ง. แนวนโยบายของรัฐ
ตอบ ค. แผนพัฒนา
“แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามป
ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด
13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด
ก. สามเดือน
ข. หกเดือน
ค. หนึ่งป
ง. ปครึ่ง
ตอบ ก. สามเดือน
“แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน
ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง
ทุระยะสามเดือน
14. ยอดเงินสะสมประจําทุกสิ้นปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด
ก. รอยละหา
ข. รอยละสิบ
ค. รอยละสิบหา
ง. รอยละยี่สิบหา
~ 21 ~

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (8)

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบ นักวิชาการพัสดุ 3 แนวข้อสอบกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ปี 57

  • 2. ~2~ ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ประวัติความเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อํานาจหนาที่ วิสัยทัศนและพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) 5 5 5 6 7 ความรูเฉพาะตําแหนงพัสดุ ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ความหมายของการบริหารงานพัสดุ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ การจัดมาตรฐานพัสดุ การจัดหา การบริหารพัสดุคงเหลือ การจัดการคลังพัสดุ การขนสง การบํารุงรักษา การจําหนายพัสดุออกจากบัญชี การบริหารงานพัสดุและการจัดหาของสวนราชการ 8 8 8 9 15 20 30 33 45 52 58 61 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัสดุ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติม ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงิน ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของทางราชการ พ.ศ.2540 แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และแกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการรับเงิน การเบิกจายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและ การตรวจเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2547 และแกไขเพิ่มเติม แนวขอสอบ ระเบียบฯ วาดวยการตรวจสอบภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2545 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลาง การจัดระเบียบบริหารราชการสวนภูมิภาค การจัดระเบียบบริหารราชการสวนทองถิ่น คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม สภาองคการบริหารสวนจังหวัด นายกองคการบริหารสวนจังหวัด อํานาจหนาที่ขององคการบริหารสวนจังหวัด การงบประมาณและการคลัง การกํากับดูแล สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 การจัดตั้งเทศบาล สภาเทศบาล อํานาจหนาที่ของนายกเทศมนตรี เทศบัญญัติ 72 141 145 171 185 193 215 225 228 238 238 240 243 243 243 246 247 248 248 250 252 252 252 254 254
  • 3. ~3~ การคลังและทรัพยสินของเทศบาล การควบคุมเทศบาล คณะกรรมการที่ปรึกษาการเทศบาล สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 สภาตําบล การกํากับดูแลสภาตําบล งบประมาณรายจายประจําป การกํากับดูแลองคการบริหารสวนตําบล สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนจังหวัด การบริหารงานบุคคลในเทศบาล การบริหารงานบุคคลในองคการบริหารสวนตําบล การบริหารงานบุคคลในกรุงเทพมหานคร การบริหารงานบุคคลในเมืองพัทยา คณะกรรมการมาตรฐานการบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 คณะกรรมการการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 การบริหารกิจการบานเมืองที่ดี การบริหารราชการเพื่อใหเกิดประโยชนสุขของประชาชน การบริหารราชการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตอภารกิจของรัฐ การบริหารราชการอยางมีประสิทธิภาพและเกิดความคุมคาในเชิงภารกิจของรัฐ  การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การปรับปรุงภารกิจของสวนราชการ การอํานวยความสะดวกและการตอบสนองความตองการของประชาชน การประเมินผลการปฏิบัติราชการ สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 และแกไขเพิ่มเติม การบริหารเมืองพัทยา สภาเมืองพัทยา นายกเมืองพัทยา ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา ขอบัญญัติเมืองพัทยา การกํากับดูแล 255 256 256 265 265 267 270 271 272 272 273 274 275 275 275 279 279 280 282 282 282 283 284 285 286 286 287 288 288 288 288 289 289 291
  • 4. ~4~ ประวัตความเปนมา ิ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ อํานาจหนาที่ 1. ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 2. สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น 3. ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ องคการปกครองสวนทองถิ่น 4. กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น 5. สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ ปกครองสวนทองถิ่น 6. สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร ้ ่ ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน 8. สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
  • 5. ~5~ การบริหารงานพัสดุ ความสําคัญของการบริหารงานพัสดุ ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารธุรกิจประสบผลสําเร็จ ไดแก 4’m อันประกอบดวย คน (Man), เงิน (Money), พัสดุ (Material) และการบริหาร (Management) ปจจัยดาน Material จึงเปนปจจัยที่มนุษยรูจักมาตั้งแตเกิด และพยายามที่จะ คิดคนวิธีการที่จะหาพัสดุมาใชตามปริมาณ คุณภาพ เวลา และสถานที่ที่ตองการไดอยาง เหมาะสม การบริหารงานพัสดุเปนเรื่องสําคัญและมีความหมายตอธุรกิจ การบริหารงาน พัสดุจึงมีบทบาทในองคการธุรกิจเปนอันมาก เนื่องจากทรัพยากรอันมีจํากัด และธุรกิจตอง ลงทุนซื้อพัสดุมาใชในธุรกิจของตน จึงตองมีการควบคุมใหมีการใชพัสดุอยางสัมฤทธิ์ผล หรือ ตองหาวิธีใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนมากที่สุด การบริหารงานพัสดุถือเปนงานหลักของทุกธุรกิจ เพราะจะมีผลตอความอยูรอด หรือกําไรของธุรกิจเทา ๆ กับหนาที่อื่น เชน การตลาด การบัญชี การผลิต การเงิน เปนตน ความหมายของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุ หมายถึง การนําเอาวิทยาการหรือศิลปะในการบริหารมาใช ในการจัดพัสดุตาง ๆ ที่มีอยูในคลังและใชอยูในกิจการใหมีประสิทธิภาพมากที่สุด เพื่อใหเกิด สภาพคลองตัว และลดคาใชจายตาง ๆ ที่เกิดจากการจัดหา เก็บรักษา และเคลื่อนยายพัสดุนี้ มา วิชาการบริหารงานพัสดุเริ่มมาจากทางทหารกอน ซึ่งเรียกวา “การสงกําลังบํารุง” (Logistic)อันเปนการจัดกิจกรรมทางดานยุทโธปกรณและยุทธภัณฑแกหนวยทหารที่ปฏิบัติ การอยูในพื้นที่ตาง ๆ เพื่อใหการปฏิบัติงานทางทหารบรรลุเปาหมาย ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ การบริหารงานพัสดุจะตองดําเนินตามนโยบายขององคการ ฝายบริหารงานพัสดุ จะตองทําการวางแผนใหสอดคลองกับนโยบายขององคการธุรกิจ ขอบเขตของการบริหารงานพัสดุ แบงออกไดตามลําดับดังนี้ 1. การวางแผนหรือการกําหนดโครงการ 2. การกําหนดความตองการ
  • 6. ~6~ 3. การกําหนดงบประมาณ 4. การจัดหา 5. การเก็บรักษา 6. การแจกจาย 7. การบํารุงรักษา 8. การจําหนาย กลยุทธการบริหารงานพัสดุ วัตถุประสงคที่สําคัญของการวางแผนงานพัสดุ คือ เพื่อใหมีพัสดุไวใชอยาง พอเพียง ตอเนื่อง มีประสิทธิภาพ และเปนไปโดยประหยัด ธุรกิจโดยทั่วไปยอมมีเปาหมายหลักในการดําเนินการ ซึ่งก็คือ การใหธุรกิจอยู รอดและมีกําไร การที่เปาหมายจะบรรลุวัตถุประสงคไดนั้นก็ขึ้นอยูกับปจจัยหลายดาน และ ปจจัยดานหนึ่งก็คือ การบริหารงานพัสดุที่ดี มีประสิทธิภาพ และเพื่อใหบรรลุผลผูบริหารงาน พัสดุจะตองกําหนดกลยุทธการบริหารพัสดุ กลยุทธการบริหารงานพัสดุ มีวิธีการดําเนินงานดังนี้ คือ 1. พยายามซื้อพัสดุใหไดราคาที่ถูกตอง เพราะการซื้อพัสดุที่มีราคาแพง จะทําใหตนทุนการผลิตสูง มีผลทําใหสินคาขายไดยากขึ้น และกําไรลดลง 2. อัตราหมุนเวียนของพัสดุคงเหลือสูง หมายถึง มีการใชพัสดุออกไปเร็ว พัสดุคงเหลือมีสภาพคลอง ทําใหไดผลตอบแทนจากการลงทุนเร็ว ในขณะที่คาใชจายในการ เก็บรักษาพัสดุจะต่ําลงดวย จึงมีผลตอกําไรของธุรกิจโดยตรง 3. พยายามใหคาใชจายของการเก็บรักษาต่ํา ถาการเก็บรักษาพัสดุมี ประสิทธิภาพ จะทําใหความเสียหายของพัสดุลดลง และคาใชจายในการเก็บรักษาต่ํา แตถา การรับพัสดุและการเก็บรักษาไมถูกวิธีจะทําใหมีพัสดุเสียหายได 4. ใหการสนับสนุนทางดานพัสดุอยางตอเนื่อง ถาพัสดุขาดแคลนจะทํา ใหเกิดผลกระทบตอการดําเนินงานของธุรกิจ เชน การผลิตอาจตองหยุดชะงัก ผลิตสินคาได ทันตามกําหนด และทําใหเสียโอกาสทางธุรกิจ 5. พัสดุที่ใชมีคุณภาพดีสม่ําเสมอ การใชพัสดุอุปกรณที่มีคุณภาพคงที่ คุณภาพ7ดีสม่ําเสมอจะเพิ่มพูน ประสิทธิภาพในการผลิต ปองกันการหยุดชะงักและสูญเสีย ไดอยางมาก
  • 7. ~7~ 6. พยายามเลือกสรรผูขายที่ดี หากกิจการเลือกผูขายไดถูกตองเหมาะสม ก็จะมีผลทําใหกิจการไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพดี มีปริมาณเพียงพอ ราคายุติธรรม และจัดสง ไดทันเวลา 7. การพัฒนาบุคลากรและการจางแรงงานที่เหมาะสม การทํางานให บรรลุเปาหมายไดนั้น จะตองอาศัยบุคลากรที่มีความรูความสามารถและความชํานาญ เพื่อใหการปฏิบัติงานไปสูจุดมุงหมาย ผูบริหารจําเปนตองใหความสําคัญตอการพัฒนา บุคลากร รวมทั้งตองคํานึงถึงคาใชจายในดานแรงงานดวย 8. มีระบบการเก็บบันทึกที่ดี การมีขอมูลทางดานพัสดุจะเปนแนวทางใน การวางแผนและคาดคะเนลวงหนา และชวยใหตัดสินใจไดแมนยํายิ่งขึ้น 9. การกําหนดมาตรฐานของพัสดุที่ใชในกิจการ จะชวยใหสามารถขจัด รายการพัสดุอุปกรณที่ซ้ําซอนกันได ทําใหลดเนื้อที่คลังพัสดุ ลดงานดานจัดซื้อ ลดงานดาน บัญชีและการควบคุมพัสดุลงได หลักในการพิจารณากําหนดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้ คือ 1. ราคา ใหคํานึงถึงการคุมคาในการใช 2. คุณภาพ ใหสนองตอบความตองการไดอยางมีประสิทธิภาพ 3. ความยากงายในการจัดซื้อ มีจําหนายกันแพรหลายในตลาด หาซื้อไดงาย 4. ชนิดและขนาด สามารถครอบคลุมการใชไดอยางกวางขวาง 10. กําหนดใหมีการพยากรณลวงหนา จะชวยใหการกําหนดสินคาคงเหลือ ราคาจัดซื้อ ระยะเวลาในการจัดหา ซึ่งจะทําใหการบริหารพัสดุคงเหลือมีประสิทธิภาพดีขึ้น การบริหารงานพัสดุกับฐานะการเงินของธุรกิจ การบริหารงานพัสดุมีความสําคัญตอกิจการอุตสาหกรรมโดยตรง เพราะธุรกิจแต ละแหงตางก็มีขีดจํากัดในการลงทุนสรางโรงงาน ซื้อเครื่องมือ เครื่องจักร สรางสินคาคงคลัง ลูกหนี้ และคาใชจายในการดําเนินงาน ดังนั้น การลงทุนจึงตองพยายามใหเงินทุนนั้นไดประโยชนสูงสุด ซึ่งทําได 2 ทาง คือ 1. การเพิ่มกําไรสวนเกินสําหรับแตละหนวยผลิต 2. การเพิ่มผลผลิตใหมากขึ้นโดยใชปจจัยการผลิตเทาเดิม ความสําเร็จของการบริหารพัสดุจะทําใหบรรลุถึงเปาหมายทั้ง 2 ขอ เพราะถา สามารถลดตนทุนหรือคาใชจายในการซื้อพัสดุไดจะทําใหผลกําไรเพิ่มขึ้น และการเพิ่ม
  • 8. ~8~ การจัดมาตรฐานพัสดุ การกําหนดมาตรฐานพัสดุ (Standardization) หมายถึง กระบวนการของการ จัดตั้งขอตกลงเกี่ยวกับคุณภาพ รูปแบบ สวนประกอบ และอื่น ๆ เพื่อใชเปนเกณฑในการ กําหนดมาตรฐานใหเปนแบบอยางเดียวกัน การจัดมาตรฐานพัสดุ มีความหมายอยางกวาง ๆ วา หมายถึง การกระทําขั้น สุดทายในการคัดแยก เพื่อลดจํานวนพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีอยูมากมายหลายชนิด ใหคงเหลือ เทาที่เหมาะสมที่สุดเทานั้น และยังครอบคลุมไปถึงกรรมวิธีหรือวิธีปฏิบัติในการผลิต จัดหา เก็บรักษา แจกจาย และซอมบํารุงพัสดุครุภัณฑเหลานั้นดวย ความมุงหมายหรือวัตถุประสงคของการจัดมาตรฐานพัสดุ มีดังนี้ 1. เพื่อลดจํานวนรายการพัสดุ ครุภัณฑ ที่มีลักษณะและการใชงานที่เหมือน ๆ กัน ใหมีขนาด ชนิด แบบ เหลือนอยที่สุด รวมทั้งกรรมวิธีปฏิบัติในการออกแบบ การพัฒนา การผลิต และการสงกําลังบํารุง 2. เพื่อเปนการประหยัดในดานการเงิน กําลังเจาหนาที่ เวลา เครื่องอํานวยความ สะดวก และทรัพยากรธรรมชาติ 3. เพื่อใหมีวัสดุครุภัณฑที่เชื่อถือไดแนนอน มีชิ้นสวน อะไหล หรือสวนประกอบ ที่สามารถสับเปลี่ยนใชแทนกันไดมากที่สุด เพื่อการบํารุงรักษาพัสดุครุภัณฑใหคงสภาพได นานที่สุด ประเภทของมาตรฐาน แบงได 5 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. มาตรฐานสําหรับวัดคา เปนพื้นฐานการวัดคาทางวิทยาศาสตรสําหรับ วัดความยาว มวลสาร ความหนาแนน และปริมาตร เชน ระบบมาตรฐานอังกฤษ ระบบ เมตริก และระบบ เอส. ไอ. (S.I. Unit) 2. มาตรฐานคาคงที่ เปนคาคงที่ที่แสดงถึงความสัมพันธระหวางหนวยวัด ตาง ๆ ที่ใชในอุตสาหกรรม 3. มาตรฐานคุณภาพ หมายถึง ขอกําหนดคุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ บอกถึงคุณสมบัติตาง ๆ โดยมีระดับตัวเลขของคุณลักษณะที่ตองการ ซึ่งอาจรวมถึงการวัด คาและทดสอบดวย 4. มาตรฐานสมรรถภาพ หมายถึง คุณลักษณะเฉพาะที่กําหนดสมรรถนะ การปฏิบัติงานของเครื่องจักรและอุปกรณตาง ๆ ในการใชงาน เชน กําลังสงของมอเตอร ความทนทานของเหล็ก ความเร็วรอบแรงดึงของเหล็กเสน ฯลฯ
  • 9. ~9~ การจัดทําสมุดรายการพัสดุ การจัดทําสมุดรายการพัสดุมีจุดมุงหมายที่สําคัญ คือ 1. เพื่อชวยในการกําหนดความตองการเปนไปโดยรวดเร็ว ถูกตอง และแนนอน 2. เพื่อชวยในการกําหนดมาตรฐานของพัสดุ ครุภัณฑ 3. เพื่อลดจํานวนการสํารวจตรวจสอบพัสดุ 4. เพื่อสะดวกในการคนหาเพื่อเลือกหรือกําหนดพัสดุที่สามารถสับเปลี่ยนใชแทนกัน ได 5. เพื่อเปดโอกาสใหมีการแขงขันการผลิตสินคา และขยายแหลงที่มาของพัสดุให กวางขวางยิ่งขึ้น 6. เพื่อใหการใชพัสดุครุภัณฑเปนไปอยางถูกตอง 7. เพื่อเปนเครื่องมือในการทําสถิติขอมูลเกี่ยวกับการจัดทํางบประมาณ การจัดทําสมุดรายการพัสดุจะประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ดังนี้ 1. การบัญญัติชื่อ (Naming) คือ การตั้งชื่อพัสดุจะตองเปนมาตรฐานอยางเดียวกัน 2. การบรรยายลักษณะ (Describing) คือ การบรรยายลักษณะพัสดุใหละเอียด ชัดเจน 3. การจําแนกประเภท (Classifying) โดยจําแนกออกตามประเภทการใชงาน 4. การกําหนดหมายเลข (Identifying) โดยใชหมายเลขลําดับกอนหลังแตละรายการ ระบบ Bar Code มี 2 ระบบ คือ 1. Universal Product Code (UPC) เปนระบบที่ใชในสหรัฐอเมริกา 2. European Article Numbering (EAN) เปนระบบที่ใชในยุโรป และเอเชีย-แปซิฟก รวม 58 ประเทศ ซึ่งรวมทั้งประเทศไทยเราดวยที่ใชระบบนี้ ตัวเลขในระบบ Bar Code มี 2 แบบ คือ แบบตัวเลข 13 หลัก และแบบตัวเลข 8 หลัก ซึ่งทั้ง 2 แบบนั้น ตัวเลข 3 ตัวแรกจะเปนหมายเลขที่แสดงรหัสประเทศ ประโยชนของ Bar Code คือ ปองกันความผิดพลาดและเพิ่มความรวดเร็วในการ คิดราคา, สามารถควบคุมสินคาคงคลังไดอยางมีประสิทธิภาพ, ลดขั้นตอน ประหยัดเวลา และเพิ่มประสิทธิภาพในการวางแผนการบริหารงาน, ทําใหตลาดของสินคาเปดกวางขึ้น เปน ผลดีตอการแขงขัน ฯลฯ การจัดหา ความหมายของการจัดหาพัสดุ
  • 10. ~ 10 ~ “การจัดหา” หมายถึง การดําเนินการเพื่อใหไดมาซึ่งพัสดุที่มีคุณภาพที่ตองการ ในปริมาณที่ถูกตอง ทันเวลา และในราคาที่เหมาะสม หรือ “การจัดหา” หมายถึง กรรมวิธีในการดําเนินงานเพื่อใหไดมาซึ่งวัสดุอุปกรณ และการบริการตาง ๆ ภายในขอบเขตของกฎหมายหรือบริการ การจัดหามีวิธีการตาง ๆ ดังนี้คือ 1. การซื้อ ได แ ก การซื้ อ พั ส ดุ ทุก ชนิด ทั้ง ที่ มี ก ารติ ด ตั้ ง ทดลอง และบริ ก ารที่ เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ เพื่อใชในหนวยงาน 2. การเชา ไดแก การเชาทรัพยสินตาง ๆ ทั้งสังหาริมทรัพยและอสังหาริมทรัพย เชน ที่ดิน อาคาร สถานที่ เครื่องจักรอุปกรณ เพื่อใชประกอบกิจการ 3. การโอน ไดแก การโอนพัสดุเหลือใชเพื่อนําไปใชในงานอื่น ๆ 4. การจาง ไดแก การจางทําของ จางแรงงาน และจางเหมาตาง ๆ ตลอดจนการ รับขนตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย 5. การยืม เปนการยืมพัสดุคงรูปและใชสิ้นเปลืองระหวางหนวยงาน 6. การผลิตเอง เปนการจัดทําขึ้นมาเอง เพื่อประหยัดและปองกันการขาดแคลน พัสดุ หรือเพื่อปองกันความลับรั่วไหล 7. การแลกเปลี่ยน ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. 2535 นั้น การแลกเปลี่ยนพัสดุใหกระทําไดเฉพาะการแลกเปลี่ยนครุภัณฑกับครุภัณฑ และการ แลกเปลี่ยนวัสดุกับวัสดุ 8. การบริจาค เปนการใหทรัพยสินแกมูลนิธิหรือหนวยราชการ 9. การยึด ซึ่งปกติมักทําในยามสงครามหรือกรณีฉุกเฉิน ซึ่งกระทําโดย หนวยงานของรัฐ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุ วัตถุประสงคของการจัดหาพัสดุที่สําคัญ มีดังนี้คือ 1. เพื่อใหการผลิตเปนไปอยางสม่ําเสมอและตอเนื่อง 2. เพื่อใหเกิดการประหยัดดานคาใชจายในการจัดหา การเก็บรักษา และตนทุนดาน พัสดุ 3. เพื่อใหไดพัสดุที่มีคุณสมบัติและมาตรฐานตามตองการ 4. เพื่อสรางความสัมพันธอันดีระหวางผูขายกับผูซื้อ
  • 11. ~ 11 ~ ระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2539 (ฉบับที่ 3 - 5) พ.ศ. 2541 (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2543 (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2545 (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2547 (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553 โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวย การบริหารราชการสวนทองถิ่นเสียใหมใหเหมาะสมกับสภาพการณในปจจุบัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 43 และมาตรา 49 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ บริหารราชการสวนจังหวัด พ.ศ. 2498 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหาร ราชการสวนจังหวัด(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2499 มาตรา 69 และมาตรา 77 แหงพระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 5 และมาตรา 88 แหงพระราชบัญญัติสภาตําบลและองคการ บริหารสวนตําบล พ.ศ. 2537 รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยจึงออกระเบียบไว ดังตอไปนี้ ขอ 1 ระเบียบนี้เรียกวา “ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวย การบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535” ขอ 2 ระเบียบนี้ใชบังคับตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2535 ขอ 3 ใหยกเลิก (1) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวน ทองถิ่น พ.ศ. 2528 (2) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวน ทองถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2532 (3) ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยการซื้อ การจาง และการจางที่ปรึกษาภายใต โครงการที่ดําเนินการดวยเงินกูจากตางประเทศของเทศบาลและเมืองพัทยา พ.ศ. 2528 บรรดาระเบียบ ขอบังคับ คําสัง หรือหนังสือสัง การอื่นใด ที่ขัดหรือแยงกับระเบียบนี้หรือที่มี กําหนดไวแลวในระเบียบนี้ ใหใชระเบียบนี้แทน ขอ 4 ใหปลัดกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามระเบียบนี้ และใหมีอํานาจตีความ วินิจฉัยปญหา กําหนดหลักเกณฑและวิธีปฏิบัติเพื่อดําเนินการใหเปนไปตามระเบียบนี้ ในกรณีที่องคกรปกครองสวนทองถินไมสามารถปฏิบัติตามหลักเกณฑและวิธีปฏิบติ ่ ั ที่กําหนดในวรรคหนึ่ง ใหขอทําความตกลงกับปลัดกระทรวงมหาดไทยกอนการปฏิบติ ั ปลัดกระทรวงมหาดไทยอาจมอบอํานาจตามวรรคสอง ใหอธิบดีกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่นหรือผูวาราชการจังหวัด ก็ได 
  • 12. ~ 12 ~ หมวด 1 ขอความทั่วไป สวนที่ 1 นิยาม ขอ 5 ในระเบียบนี้ “การพัสดุ” หมายความวา การจัดทําเอง การซื้อ การจาง การจางที่ปรึกษาการจาง ออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเชา การควบคุม การจําหนาย และการ ดําเนินการอื่นๆ ที่กําหนดไวในระเบียบนี้ “พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู จากตางประเทศ “การซื้อ” หมายความวา การซื้อพัสดุทุกชนิดทั้งที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการ ที่เกี่ยวเนื่องอื่นๆ แตไมรวมถึงการจัดหาพัสดุในลักษณะการจาง “การจาง” ใหหมายความรวมถึง การจางทําของและการรับขนตามประมวลกฎหมาย แพงและพาณิชยและการจางเหมาบริการ แตไมรวมถึงการจางลูกจางของหนวยการบริหาร ราชการสวนทองถิ่น การรับขนในการเดินทางไปราชการตามระเบียบวาดวยคาใชจายในการเดินทางไป ราชการของเจาหนาที่ทองถิ่น การจางที่ปรึกษา การจางออกแบบและควบคุมงาน และการ จางแรงงานตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย “การจางที่ปรึกษา” หมายความวา การจางบริการจากที่ปรึกษา แตไมรวมถึงการ จางออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคารดวยเงินงบประมาณ "การจางออกแบบและควบคุมงาน" หมายความวา การจางบริการจากนิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดา ที่ประกอบธุรกิจบริการดานงานออกแบบและควบคุมงานกอสรางอาคาร ดวยเงินงบประมาณ “เงินงบประมาณ” หมายความวา งบประมาณรายจายประจําป งบประมาณรายจาย เพิ่มเติม แตไมรวมถึงเงินกู และเงินชวยเหลือตามระเบียบนี้ “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทศใหเปนการเฉพาะเจาะจง ิ “เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ  “เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ
  • 13. ~ 13 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการพัสดุของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น พ.ศ. 2535 และที่แกไขเพิ่มเติม ถึง (ฉบับที่ 9) พ.ศ. 2553 5. ขอใด หมายถึง “พัสดุ” ก. วัสดุ ข. ครุภัณฑ ค. ที่ดินและสิ่งกอสราง ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “พัสดุ” หมายความวา วัสดุ ครุภัณฑ ที่ดินและสิ่งกอสราง ที่กําหนดไวในหนังสือการ จําแนกประเภทรายจายตามงบประมาณ หรือการจําแนกประเภทรายจายตามสัญญาเงินกู จากตางประเทศ 6. เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นจัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปน การเฉพาะเจาะจง หมายความถึงขอใด ก. เงินเฉพาะกิจ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินกู ง. เงินยืม ตอบ ข. เงินนอกงบประมาณ “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินที่หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น จัดหารายไดเปนครั้งคราวหรือมีผูอุทิศใหเปนการเฉพาะเจาะจง 7. เงินกูจากตางประเทศ หมายถึงเงินขอใด ก. เงินยืม ข. เงินกู ค. เงินชวยเหลือ ง. เงินกูเฉพาะกิจ ตอบ ข. เงินกู “เงินกู” หมายความวา เงินกูจากตางประเทศ 8. “เงินชวยเหลือ” หมายความถึงเงินชวยเหลือจากขอใด ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ ก. มูลธินิปวีณา ค. เงินชวยเหลือจากรัฐบาล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ข. สถาบันการเงินระหวางประเทศ
  • 14. ~ 14 ~ “เงินชวยเหลือ” หมายความวา เงินที่ไดรับความชวยเหลือจากรัฐบาลตางประเทศ องคการระหวางประเทศ สถาบันการเงินระหวางประเทศ องคการตางประเทศทั้ง ในระดับ รัฐบาลและที่มิใชระดับรัฐบาล มูลนิธิหรือเอกชนตางประเทศ 9. ขอใด หมายถึง “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” ก. องคการบริหารสวนจังหวดเทศบาล ข.องคการบริหารสวนตําบล ค. กิจการพาณิชยของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายความวา องคการบริหารสวน จังหวดเทศบาล และองคการบริหารสวนตําบล ทั้งนี้ ใหหมายความรวมถึงกิจการพาณิชย ของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นดวย 10. “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึงใคร ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “หัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น” หมายถึง นายก องคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี และนายกองคการบริหารสวนตําบล 11. “รัฐวิสาหกิจ” หมายความถึง ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ ข. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการคลัง ค. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการพัสดุ ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ “รัฐวิสาหกิจ” หมายความวา รัฐวิสาหกิจตามกฎหมายวาดวยวิธีการงบประมาณ 12. คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละเทาใดใน กิจการนั้น ก. รอยละยี่สิบ ข. รอยละยี่สิบหา
  • 15. ~ 15 ~ ค. รอยละสี่สิบหา ง. รอยละหาสิบเอ็ด ตอบ ข. รอยละยี่สิบหา คําวา “ผูถือหุนรายใหญ” ใหหมายความวาผูถือหุนซึ่งถือหุนเกินกวารอยละยี่สิบหา ในกิจการนั้นหรือในอัตราอื่น ตามที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยเห็นสมควรประกาศกําหนด สําหรับกิจการบางประเภทหรือบางขนาด 13.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูใด ก. ปลัดอําเภอ ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ตอบ ข. ผูวาราชการจังหวัด 14.ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนองาน เพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งโดยตองอุทธรณภายใน ระยะเวลาใด ก. 3 วัน ข. 5 วัน ค. 7 วัน ง. 15 วัน ตอบ ก. 3 วัน ผูเสนอราคาหรือผูเสนองานที่ถูกตัดรายชื่อออกจากการเปนผูเสนอราคาหรือผูเสนอ งานเพราะเหตุเปนผูเสนอราคาที่มีผลประโยชนรวมกัน อาจอุทธรณคําสั่งดังกลาวตอผูวา ราชการจังหวัด โดยอุทธรณภายใน 3 วัน นับแตวันที่ไดรับแจงพรอมทั้ง แสดงเหตุผลของ การอุทธรณและเอกสารที่เกี่ยวของมาดวย 15. การซื้อหรือการจางกระทําไดกี่วิธี ก. 3 วิธี ข. 4 วิธี ค. 5 วิธี ง. 6 วิธี ตอบ ค. 5 วิธี วิธีซื้อและวิธีจาง การซื้อหรือการจางกระทําได 5 วิธี คือ (1) วิธีตกลงราคา
  • 16. ~ 16 ~ 44. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคา คุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใดของวงเงินงบประมาณคากอสราง ก. รอยละ 2 ข. รอยละ 3 ค. รอยละ 10 ง. รอยละ 50 ตอบ ก. รอยละ 2 การจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางไมเกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบ หรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 2 ของวงเงินงบประมาณคากอสราง 45. อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละเทาใด ของวงเงินงบประมาณคากอสราง ก. รอยละ 1 ข. รอยละ 1.25 ค. รอยละ 1.5 ค. รอยละ 1.75 ตอบ ค. รอยละ 1.75 อาคารที่มีงบประมาณคากอสรางเกิน 10,000,000 บาท สําหรับ ในสวนที่เกิน 10,000,000 บาท ใหจายคาออกแบบหรือคาคุมงาน อยางใดอยางหนึ่งในอัตรารอยละ 1.75 ของวงเงินงบประมาณคากอสรางการจายเงินคาออกแบบและควบคุมงาน ไมรวมถึงคา สํารวจและวิเคราะหดินฐานราก 46.ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหารราชการ สวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงหนวยงานใดใหรับทราบ ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน ข. สํานักงบประมาณ ค. กรมบัญชีกลาง ง. กองคลัง ตอบ ก. สํานักงานตรวจเงินแผนดิน ครุภัณฑที่ไดรับจากการแลกเปลี่ยนเมื่อลงทะเบียนครุภัณฑของหนวยการบริหาร ราชการสวนทองถิ่นนั้นแลว ใหแจงสํานักงานตรวจเงินแผนดิน หรือสํานักงานตรวจเงิน แผนดินภูมิภาค แลวแตกรณี ทราบภายใน 30 วัน นับแตวันที่ไดรับครุภัณฑ
  • 17. ~ 17 ~ 47.ในกรณี ที่ มี ค วามจํ า เป น ต อ งจ า ยเงิ น ค า เช า ล ว งหน า ในการเช า อสั ง หาริ ม ทรั พ ย แ ละ สังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกินเทาใด ก. 1 ป ข. 2 ป ค. 3 ป ง. 4 ป ตอบ ค. 3 ป ในกรณีที่มีความจําเปนตองจายเงินคาเชาลวงหนาในการเชาอสังหาริมทรัพยและ สังหาริมทรัพย ใหกระทําไดเฉพาะกรณีการเชาซึ่งมีระยะเวลาไมเกิน 3 ป 48.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากสวนราชการ หนวยการบริหาร ราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมีกฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวน ทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอยละเทาใดของคาเชาทั้งสัญญา ก. รอยละ 25 ข. รอยละ 35 ค. รอยละ 45 ง. รอยละ 50 ตอบ ง. รอยละ 50 การเชาจากสวนราชการ หนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่นอื่น หนวยงานอื่น ซึ่งมี กฎหมายบัญญัติใหมีฐานะเปนราชการบริหารสวนทองถิ่น หรือรัฐวิสาหกิจ จายไดไมเกินรอย ละหาสิบของคาเชาทั้งสัญญา 49.การเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพยจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละเทาใด ของคาเชาทั้ง ก. รอยละ 25 ข. รอยละ 35 ค. รอยละ 45 ง. รอยละ 50 ตอบ ก. รอยละ 25 การเชาจากเอกชนจายไดไมเกินรอยละยี่สิบของคาเชาทั้ง สัญญาการจายเงินคาเชา ลวงหนานอกเหนือจากหลักเกณฑขางตน ใหขอทําความตกลงกับผูวาราชการจังหวัดกอน 50.กอนดําเนินการเชาสังหาริมทรัพย และการเชาอสังหาริมทรัพย ใหเจาหนาที่พัสดุทํา รายงานเสนอหัวหนาฝายบริหารของหนวยการบริหารราชการสวนทองถิ่น โดยตองมีรายการ ใด ก. เหตุผลและความจําเปนที่จะตองเชา
  • 18. ~ 18 ~ แนวขอสอบระเบียบกระทรวงมหาดไทย วาดวยการรับเงิน การเบิก จายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงินและการตรวจเงินขององคกร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2547 แกไขเพิ่มเติมถึง(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2543 4. สภาทองถิ่น หมายความถึงขอใด ก. สภาองคการบริหารสวนจังหวัด ข. สภาเทศบาล ค. สภาองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ “สภาทองถิ่น” หมายความวา สภาองคการบริหารสวนจังหวัด สภาเทศบาล สภาองคการบริหารสวนตําบล และสภาทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 5. “ผูบริหารทองถิ่น” หมายความถึงขอใด ก. นายกองคการบริหารสวนจังหวัด ข. นายกเทศมนตรี ค. นายกองคการบริหารสวนตําบล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูบริหารทองถิ่น” หมายความวา นายกองคการบริหารสวนจังหวัด นายกเทศมนตรี คณะเทศมนตรี นายกองคการบริหารสวนตําบล และผูบริหารทองถิ่นอื่นที่มีกฎหมายจัดตั้ง 6. กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคง ซึ่งใชสําหรับเก็บรักษาเงินขององคกรปกครอง สวนทองถิ่น หมายถึง ก. ตูนิรภัย ข. กลองบรรจุ ค. หีบหอ ง. ตูเซฟ ตอบ ก. ตูนิรภัย “ตูนิรภัย” หมายความรวมถึง กําปนหรือตูเหล็กหรือหีบเหล็กอันมั่นคงซึ่งใชสําหรับ เก็บรักษาเงินขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 7. หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแกผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย
  • 19. ~ 19 ~ ตอบ ก. หลักฐานจายเงิน “หลักฐานการจาย” หมายความวา หลักฐานแสดงวาไดมีการจายเงินใหแก ผูรับหรือเจาหนี้ตามขอผูกพันแลว 8.หลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ธนาคาร เรียกวา ก. หลักฐานจายเงิน ข. หลักฐานการจาย ค. ใบสําคัญคูจาย ง. ใบสําคัญจาย ตอบ ค. ใบสําคัญคูจาย “ใบสําคัญคูจาย” หมายความวา หลักฐานการจายเงินที่เปนใบเสร็จรับเงินหลักฐาน ของธนาคารแสดงการจายเงินแกเจาหนี้ หรือหลักฐานการนําเงินเขาบัญชีเงินฝากของผูรับที่ ธนาคาร และใหรวมถึงใบนําสงเงินตอหนวยงานคลังดวย 9.เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บ เรียกวา ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน ตอบ ก. เงินรายรับ “เงินรายรับ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจัดเก็บหรือ ไดรับไวเปนกรรมสิทธิ์ตามกฎหมาย ระเบียบ ขอบังคับ หรือจากนิติกรรม 10. เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบขององคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏ ตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาลอุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุ วัตถุประสงค เรียกวา ก. เงินรายรับ ข. เงินจัดเก็บ ค. เงินนอกงบประมาณ ง. เงินทุน ตอบ ค. เงินนอกงบประมาณ “เงินนอกงบประมาณ” หมายความวา เงินทั้งปวงที่อยูในความรับผิดชอบของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น เวนแตเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจาย และเงินที่รัฐบาล อุดหนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นโดยระบุวัตถุประสงค
  • 20. ~ 20 ~ 11. เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกรปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใด ยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือปฏิบัติราชการอื่นใด เรียกวา ก. เงินงบประมาณ ข. เงินนอกงบประมาณ ค. เงินยืม ง. เงินยืมจาย ตอบ ค. เงินยืม “เงินยืม” หมายความวา เงินงบประมาณหรือเงินนอกงบประมาณที่องคกร ปกครองสวนทองถิ่นจายใหแกบุคคลใดยืมเพื่อเปนคาใชจายในการเดินทางไปราชการหรือ ปฏิบัติราชการอื่นใด 12. แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามปขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือ ตามที่กฎหมายกําหนด เรียกวา ก. แผนยุทธศาสตรการพัฒนา ข. แผนพัฒนาสามป ค. แผนพัฒนา ง. แนวนโยบายของรัฐ ตอบ ค. แผนพัฒนา “แผนพัฒนา” หมายความรวมถึง แผนยุทธศาสตรการพัฒนาและแผนพัฒนาสามป ขององคกรปกครองสวนทองถิ่น หรือตามที่กฎหมายกําหนด 13. แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงินของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุกระยะเวลาใด ก. สามเดือน ข. หกเดือน ค. หนึ่งป ง. ปครึ่ง ตอบ ก. สามเดือน “แผนการใชจายเงิน” หมายความวา แผนแสดงรายละเอียดการใชจายเงิน ของหนวยงานผูเบิกในชวงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งหนวยงานผูเบิกไดยื่นตอหนวยงานคลัง ทุระยะสามเดือน 14. ยอดเงินสะสมประจําทุกสิ้นปงบประมาณ เพื่อรักษาเสถียรภาพการเงินการคลังของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ควรอยูที่เทาใด ก. รอยละหา ข. รอยละสิบ ค. รอยละสิบหา ง. รอยละยี่สิบหา
  • 21. ~ 21 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740