SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 25
Descargar para leer sin conexión
1
2
ขอบเขตเนื้อหา
สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย. 5
ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11
วิสัยทัศน 12
คานิยมองคกร 12
พันธกิจ 12
วัตถุประสงค 13
เปาหมายหลัก 14
ยุทธศาสตร 14
ภารกิจ/บริการ 16
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 20
การปลูกยางพารา 20
การบํารุงรักษา 33
โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 39
การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 46
การแปรรูปผลผลิต 49
มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 52
สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 55
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 70
แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4)
แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 81
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 88
สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงบุคลากร
องคกรและการจัดการ 95
องคการ (Organization) 95
ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) 96
การบริหารหรือการจัดการ (Management) 97
หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions) 99
บทบาททางการบริหาร (Management Roles) 100
ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) 101
ระบบการบริหาร (Management System) 102
การจัดการในอดีตและปจจุบัน 103
พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) 103
แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) 103
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory) 104
ทฤษฎีทางการบริหารโดยทั่วไป (General Administration Theory) 105
ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation) 109
ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร 111
วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 114
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม 114
วัฒนธรรมองคการ 115
3
สภาวะแวดลอม 116
การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 117
การกาวขึ้นเปนองคการระหวางประเทศ (Go International Organization) 120
ความรับผิดชอบทางสังคมและจริยธรรมทางธุรกิจ 121
ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) 121
จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) 122
การตัดสินใจทางการจัดการ 123
พื้นฐานการวางแผน 127
จุดมุงหมายของการวางแผน (Purposes of Planning) 128
ประเภทของแผนงาน (Types of Plans) 128
วัตถุประสงคขององคการ (Organization Objective) 132
แนวความคิดของการจัดการตามวัตถุประสงค 133
การจัดการเชิงกลยุทธ 134
การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) 134
เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 139
โครงการและการออกแบบองคการ 141
การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 141
การจัดการทรัพยากรมนุษย 153
ประเด็นปจจุบันในการจัดหาทรัพยากรมนุษย 158
การจัดการการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 159
เทคนิคในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Technique for Managing Change) 161
การพัฒนาองคการ (Organization Development – OD) 163
การกระตุนใหเกิดนวัตกรรม (Stimulating Innovation) 164
พื้นฐานของพฤติกรรม 165
การรับรู (Perception) 168
การเรียนรู (Learning) 169
การกําหนดรูปแบบของพฤติกรรม (Shaping Behavior) 170
การเขาใจกลุมและทีม 172
แนวคิดขั้นพื้นฐานของกลุม (Basic Group Concept) 173
การแกปญหาความขัดแยง (Conflict Resolution Approaches) 174
การตัดสินใจเปนกลุม (Group Decision Making) 175
การจูงใจพนักงาน 180
ภาวะผูนํา 184
ทฤษฎีภาวะผูนําในยุคเริ่มแรก (Early Theory of Leadership) 188
ทฤษฎีภาวะผูนําแบบพฤติกรรม (Behavior Theory) 188
ทฤษฎีตามสถานการณ 190
ผูนําและอํานาจ (Leader and Power) 194
พื้นฐานการควบคุม 196
การบริหารงานผลิต 200
เครื่องมือและเทคนิคในการควบคุม 204
ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 209
สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 223
การรางหนังสือราชการ 230
สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 237
แนวขอสอบบุคลากร 248
4
ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง
ประวัติ สกย.
ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง
การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงาน
ใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูก
ยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช
สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนง
ระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่
สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน
ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน
คือนายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย
หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดาน
การเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการได
รวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ
ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน
พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิต
ยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําให
เกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและ
ไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน
โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป
2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช
สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดม
พนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรง
อยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท
ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยาง
ไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือ
สังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของ
ชาวสวนยางพาราทั่วไป
5
วิสัยทัศน
"มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน”
พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป
เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรู
สูครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง
คานิยมองคกร
สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใช
เปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร
ดังนี้
O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน
R : Responsibility ความรับผิดชอบ
R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน
A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม
F : Faith ซื่อสัตยสุจริต
พันธกิจ
1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวย
พื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม
2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความ
เขมแข็งใหกับสถาบันเกษตรกร
3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาด
ยางพาราระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความ
รวมมือของเกษตรกร
4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและ
สิ่งแวดลอม
5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร
จัดการ
6
วัตถุประสงค
1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่ม
รายไดและลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร
2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มี
การดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง
3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมี
ความเหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการ
บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม
4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน
อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม
วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล
เปาหมายหลัก
1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา
ตนยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถ
ใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม
2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง
คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล
รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการ
จําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ
3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนิน
กิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม
และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล
4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก
ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของ
ราคาในตลาดทองถิ่น
5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และ
เสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง
เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
7
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง
การปลูกยางพารา
การเตรียมพื้นที่
การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับ
ปลูกยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผน
การใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การ
เตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการ
จัดทําขั้นบันไดเปนตน
การวางแนวปลูก
การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไม
นอยกวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม
การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การ
วางแนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามี
การไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน
ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนว
ระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได
ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได
- ปองกันการพังทลายของหนาดิน
- ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง
- ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย
- ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน
- งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน
ระยะปลูก
เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2
ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง
การเตรียมหลุมปลูก
การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่
ขุดเปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง
8
แลวยอยดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตรา
หลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุม
รวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x
ยาว x ลึก)
สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม
เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบน
ควนมากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี
การปลูก
วัสดุปลูกและวิธีการปลูก
วัสดุปลูก
วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2
ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช
ตนตอตา
ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก
ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไป
ไมนอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว
ตนยางชําถุง
ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใช
เวลาชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่
จะนําไปปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม.
ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู
พันธุยาง
กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม
1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง
เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251
สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600
2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
9
พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542
เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ
โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง
พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและ
เสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และ
มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจ
ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา
และยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ.
2542”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช
กิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ใหยกเลิก
(1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481
(2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483
(3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และ
หมายความรวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใต
การควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้
“ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปน
ตนยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง
“ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน
ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตน
10
ยาง และหมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียาง
ธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง
“เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย
คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ
กําหนด
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวา
หนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกัน
มากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด
“ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง
บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผน
ดิบ
“เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง
“โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง
หรือยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ
ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึง
สถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ
“ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี
ประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยาง
ออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่
รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยาง
และการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
“คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ
รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
11
พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503
(ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
ในพระปรมาภิไธย
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
สังวาลย
ผูสําเร็จราชการแทนพระองค
ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503
เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน
โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อ
ชวยเหลือเจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น
พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญใน
ฐานะรัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห
การทําสวนยาง พ.ศ. 2503”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.)
“ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ
กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม
“สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แต
ละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน
“สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร
“สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไม
ถึงสองรอยหาสิบไร
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบ
ไรขึ้นไป
“เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผล
จากตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
12
“ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือ
ยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุ
ประดิษฐจากยาง
“การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิด
อื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืน
ตนเกาทั้งหมดหรือบางสวน
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่ง
ถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
“เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งให
เปนเจาพนักงานสงเคราะห
“คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวน
ยาง
“ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะห
การทําสวนยาง
“รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่ง
สงสมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุน
ใชจายในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อ
ดําเนินกิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการ
ใด ๆ ที่จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและ
สวนไมยืนตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการ
สงเคราะห กับใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืน
ตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย
ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญใน
กรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง”
มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไม
ยืนตนชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะห
เกษตรกรตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
13
แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวน
ยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530
5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด
ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก
ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ
ตอบ ง. สวนขนาดใหญ
“สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป
6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด
ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป
ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป
ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป
ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป
ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของ
ปถัดไป
“ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่
30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น
7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด
ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม
ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม
ตอบ ค. 5 กิโลกรัม
สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา
กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อ
การคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
14
8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง
ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย
ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยาง
อายุกวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย
9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย
ยอวาอะไร
ก. ก.ส.ย. ข. กสย.
ค. คสย. ง. ค.ส.ย.
ตอบ ก. ก.ส.ย.
10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด
ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร
ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ
11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของ
กับการยางมีจํานวนเทาใด
ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน
ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน
ตอบ ข. 4 คน / 2 คน
คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียก
โดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือ
รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและ
สหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรอง
ประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
15
แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542
6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของ
ทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือน
ถัดไป
ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม
ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ
ตอบ ง. วันที่สิบ
ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ
ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน
ถัดไป
7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรี
ภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุ
ใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ค. สามสิบวัน
ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี
คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ
ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปน
หนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือ
การไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต
แลวแตกรณี
8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
16
ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจง
ตอพนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ได
รับทราบถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว
9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผู
อนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ง. หกสิบวัน
ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยัง
ไมสิ้นอายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงค
จะประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แต
ตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย
10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่
วัน
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย
สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย
11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงาน
เจาหนาที่ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ
ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน
ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน
ตอบ ข. สิบหาวัน
ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการ
เลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและให
ถือวาใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
17
องคกรและการจัดการ
องคการ (Organization)
"องคการ" ตามแนวความคิดของ Stephen P. Robbins คือ การจัดการ
ของกลุมบุคคล โดยมีเจตนาที่จะใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายเปน
การเฉพาะ
องคการประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ
1.จุดมุงหมายโดยชัดเจน (Distinct Purpose) คือ การมีเปาหมายรวมกัน
2.บุคลากร (People) คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป
3.โครงสราง (Structure) ที่ชัดเจน คือ การมีปฏิสัมพันธตอกัน
ในปจจุบันนี้ องคการไดแปรเปลี่ยนจากองคการระบบปด (Closed
System)มาเปนองคการระบบเปด (Opened System) ซึ่งมีความยืดหยุนและตอบสนอง
การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา
ตารางเปรียบเทียบแนวความคิดขององคการที่แปรเปลี่ยนไป มีดังนี้
องคการแบบดั้งเดิม องคการสมัยใหม
1. คงสภาพอยูกับที่เดิม
2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ไมยืดหยุน
3. เนนตัวงานที่ดําเนินการ
4. กําหนดหนาที่โดยยึดตําแหนงงาน
5. เนนปจเจกชน (Individual)
6. ทํางานแบบถาวร (จางแบบถาวร)
7. เนนการสั่งการใหลูกนองทําตาม
8. การตัดสินใจอยูที่ผูจัดการ
9. เนนกฎระเบียบที่องคการกําหนดเปนหลัก
10.แรงงานมาจากคนแบบเดียวกัน
11. ระยะเวลาทํางาน 5 – 9 ชั่วโมง/วัน
ความสัมพันธในการทํางานเปนไปตามลําดับชั้นของ
การบังคับบัญชา
ทํางานเฉพาะในองคการและตามเวลาทีไดกําหนดไว
1. มีการปรับสภาพเคลื่อนไหวตามสภาพแวดลอม
2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ยืดหยุน
3. เนนทักษะหรือความเชี่ยวชาญ
4. กําหนดหนาที่โดยยึดภาระงานที่ตองกระทํา
5. เนนทีมงาน (Work Team)
6. นิยมจางทํางานแบบชั่วคราว
7. เนนความสัมพันธมากกวาการแสดงอํานาจ
8. การตัดสินใจใหพนักงานมีสวนรวม
9. เนนลูกคาเปนจุดศูนยกลางที่องคการจะตอบสนอง
10. แรงงานมีความหลากหลายในชาติพันธุ
11. ระยะเวลาทํางานไมกําหนดตายตัว
ความสัมพันธในการทํางานเปนแบบแนวราบ หรือแบบเครือขาย
ทํางานที่ใด เมื่อไรก็ได โดยสถานที่ทํางานอาจอยูภายนอกบริษัท
แตสามารถติดตอและตามตัวกันได โดยใชระบบสารสนเทศเขามา
ชวย
18
ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager)
"ผูบริหาร"หมายถึง สมาชิกในองคการซึ่งทําหนาที่รวบรวมและประสานงาน
กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในองคการ หรือหมายถึง บุคคลซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการ
ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ตามที่ไดกําหนดไว โดยอาศัยผูอื่นและทรัพยากรตาง ๆ
ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ผูบริหารเปนผูประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูอื่นกระทํามากกวาที่
จะเปนผูลงมือกระทําเอง
องคการธุรกิจโดยทั่วไปนิยมแบงผูบริหารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ
1. ผูบริหารระดับลาง (Lower หรือ First Manager หรือระดับ
ปฏิบัติการ คือผูบริหารในระดับที่ใกลชิดกับเนื้องาน เชน งานดานเทคนิค งานดาน
ธุรการตางๆ ฯลฯ และใกลชิดกับคนงานที่ทํางานในแตละวันมากที่สุด ซึ่งไดแก ผู
ควบคุมงานหรือหัวหนางาน (Supervisor) และหัวหนาคนงาน (Foreman) เปนตน
2. ผูบริหารระดับกลาง (Middle Manager) หรือ ผูบริหารที่อยู
ระหวางผูบริหารระดับลางกับผูบริหารระดับสูงขององคการ ซึ่งไดแก หัวหนาหนวย
หัวหนาสวน หัวหนาแผนก และหัวหนาฝายตาง ๆ เชน ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝาย
การตลาด ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบริการลูกคา ฝายธุรการ ฝายทรัพยากรมนุษย
ฝายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมทั้งผูจัดการสาขา เปนตน
3. ผูบริหารระดับสูง (Top Manager) คือ ผูบริหารที่อยูในระดับ
สูงสุดขององคการในดานการดําเนินงานในแตละวัน โดยมีหนาที่รับผิดชอบในการ
ตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และกําหนดกลยุทธ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบตอองคการโดยรวม
บุคคลกลุมนี้ไดแก ประธานกรรมการหรือประธานฝายบริหาร รองประธานกรรมการ
หรือรองประธานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญ
หรือผูจัดการบริษัท เปนตน
โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงนี้จะมีผูบริหารสูงสุดเพียง 1 คน เรียกวา
"หัวหนาฝายบริหาร" (Chief Executive Officer : CEO) หรือ "หัวหนาฝายปฏิบัติการ"
(Chief Operating Officer : COO)
ถึงแมจะมีการแบงระดับชั้นของผูบริหารออกเปน 3 ระดับแลวก็ตาม แต
ในทางปฏิบัตินั้นจะพบวาการปฏิบัติหนาที่ระหวางระดับตาง ๆ ก็ยังคงมีปญหาการ
เหลื่อมล้ํากันและกันเกิดขึ้นอยูเสมอ เพราะไมสามารถที่จะแบงแยกกันไดอยางชัดเจน
เชน ความสัมพันธระหวางระดับลางกับระดับกลาง หรือระหวางระดับกลางกับระดับสูง
แตก็ไมควรใหมีการเหลื่อมล้ําระหวางระดับลางกับระดับสูงเปนอันขาด
19
การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสื่อสารในองคการ (Organizational Communication)
การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การถายทอดและทําความ
เขาใจความหมาย ซึ่งจากคําจํากัดความดังกลาวจะเนนที่การถายทอดความหมาย นั่น
คือ เมื่อไมมีผูสงขอมูลขาวสารหรือความคิดออกไปยอมหมายถึงไมไดเกิดการสื่อสาร
นั่นเอง
การสื่อสารภายในองคการมี 2 ลักษณะ ไดแก
1. การสื่อสารอยางเปนทางการ (Formal Communication)
หมายถึง การสื่อสารที่เปนไปตามสายการบังคับบัญชา หรือเปนสวนหนึ่งในงานตาม
หนาที่ความรับผิดชอบ
2. การสื่อสารอยางไมเปนทางการ (Informal Communication)
หมายถึง การสื่อสาร ภายในองคการที่ไมไดกําหนดตามลําดับชั้นการบังคับบัญชาของ
องคการ
ทิศทางการไหลของขาวสารมี 4 ลักษณะ ไดแก
1. การสื่อสารในทิศทางจากบนลงลาง(Downward Communication)
เปนการสื่อสารจากผูบริหารลงไปยังพนักงาน เปนการแจงใหทราบสั่งการ ประสานงาน และ
การประเมินผลพนักงาน เมื่อผูบริหารตั้งเปาหมายใหกับพนักงานก็จะใชการสื่อสารในทิศทาง
จากบนลงลาง
2. การสื่อสารในทิศทางจากลางขึ้นบน(Upward Communication)
เปนการสื่อสารจากพนักงานขึ้นไปยังผูบริหาร เปนสิ่งที่ทําใหผูบริหารไดทราบวา
พนักงานรูสึกอยางไรเกี่ยวกับงาน เพื่อนรวมงาน และองคการโดยทั่วไป
3. การสื่อสารในทิศทางดานขาง (Leteral Communication) เปน
การสื่อสารในระดับพนักงานดวยกันในองคการเดียวกัน ในปจจุบันซึ่งสภาพแวดลอม
เปลี่ยนแปลงคอนขางรวดเร็วและสับสน การสื่อสารในดานขางเปนสิ่งจําเปนอยางมาก
เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลาและเอื้อตอการประสานงาน
4. การสื่อสารในทิศทางทแยง (Diagonal Communication) เปน
การสื่อสารขามไปมาระหวางหนวยงานตาง ๆ และในระดับตาง ๆ ขององคการ
20
การจัดการทรัพยากรมนุษย
การจัดบุคคลเขาทํางาน (Staffing) ซึ่งในปจจุบันนิยมเรียกวา "การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย"(Human Resource Management) คือ การจัดหาคนมาทํางานและ
บํารุงรักษา หรือเปนการระบุความตองการในกําลังแรงงาน (Work Force) การจัดการ
ดูแลคนที่ไดมา การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก การวางตําแหนงการสงเสริม
การประเมินผล การวางแผนงานอาชีพ การจายเงินชดเชย และการฝกอบรมบุคคล
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM Process)
กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกิจกรรมที่สําคัญในการจัดคนเขา
ทํางาน และดํารงไวซึ่งผลการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับสูง โดยมี 8 ขั้นตอน คือ
1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning)
System Approach คือ แนวความคิดแบบระบบหรือการวิเคราะหเชิง
ระบบ เปนระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่สรางความมั่นใจใหแกผูบริหารวา ไดมี
บุคคลที่มีความสามารถในการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยมีการ
วางแผนดานกําลังคน การฝกอบรม การพัฒนา และเนนในดานแรงงานสัมพันธ
2. การสรรหาบุคคล(Recruitment)และการลดกําลังคน (Decruitment)
การสรรหา (Recruitment) เปนกระบวนการของการกําหนดพื้นที่หลัก
แหลง และดึงดูดความสามารถของบุคคลใหมาสมัครงาน เพราะผูบริหารจําเปนตองสรร
หาบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนหลักการแรกของการบริหารทรัพยากรมนุษย
การลดกําลังคน (Decruitment) เปนเทคนิคในการลดอุปทานดาน
แรงงานภายในองคการ ซึ่งประกอบดวย การไลออก ปลดออก ลดเวลาทํางาน
เกษียณอายุกอนเวลา และการจัดแบงงานกันทํา โดยความจําเปนในการลดกําลังคนอาจ
เกิดขึ้นไดทุกขณะเพื่อความเหมาะสมและตามความตองการของฝายบริหาร เชน
ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหธุรกิจตองลดกําลังคนทํางานลง จึงจะ
ทําใหธุรกิจผานพนวิกฤติไปได
3. การคัดเลือก (Selection)
การคัดเลือก (Selection) เปนกระบวนการในการกลั่นกรองผูที่มาสมัคร
งาน เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมที่สุดมาทํางาน และยังเปนการวางแผนความตองการเพื่อ
21
การบริหารงานอยางละเอียดลึกซึ้ง เปนพื้นฐานที่สําคัญตามความตองการของตําแหนง
งาน
การคัดเลือกถือเปนการพยากรณหรือการคาดการณอยางหนึ่ง ซึ่งจะมีผล
ออกมา 4 ประการ คือ การตัดสินใจที่ถูกตอง (การปฏิเสธคนไมดี), การยอมรับ
ขอผิดพลาด, การปฏิเสธขอผิดพลาด และการตัดสินใจที่ถูกตอง (การยอมรับคนดี)
ขอผิดพลาดในการคัดเลือกสามารถชักนําไปสูความเปนจริงตามหลักการ
ของ Peter ซึ่งกลาววาผูบริหารมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมใหไปอยูในระดับ
ความสามารถของตัว ถึงแมวาจะมีขอแนะนําจากหลาย ๆ ฝายวา การตัดสินใจคัดเลือก
ควรขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชาที่ตําแหนงนั้นสังกัดอยู
ความเที่ยงตรง (Validity) หรือความถูกตอง ความสมบูรณ คือ การ
พิสูจนวาความสัมพันธระหวางเครื่องมือในการคัดเลือกกับเกณฑที่ใชเขากันไดดี
ความเชื่อถือได (Reliability) หรือความไวใจได คือ ความสามารถ
ของเครื่องมือที่ใชคัดเลือกสามารถวัดสิ่งเดียวกันไดอยางสม่ําเสมอ
กระบวนการคัดเลือกควรประกอบดวยการสัมภาษณ การทดสอบ และใช
ศูนยการวัดผล เพื่อหลีกเลี่ยงความไมพอใจ และการหมุนเวียนเขาออกของคนงาน
โดยกิจการควรใหความมั่นใจแกพนักงานใหมเพื่อใหรูจักและคุนเคยกับคนงานอื่น ๆ ใน
องคการ
เครื่องมือในการคัดเลือก (Selection Device) ไดแก แบบฟอรมใบ
สมัคร, การทดสอบขอเขียน, การทดสอบความรูความสามารถโดยลงมือปฏิบัติจริง
เชน การศึกษา ความรู ทักษะและความชํานาญ, การสัมภาษณ, การตรวจสอบ
หลักฐานและขอมูลของผูสมัคร, การตรวจรางกาย
4. การปฐมนิเทศ (Orientation)
การปฐมนิเทศจัดทําขึ้นมาเพื่อตองการแนะนําพนักงานใหมใหรูจักและ
คุนเคยกับองคการ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เปนการลดความกระวนกระวายใจใน
เบื้องตน, ทําใหพนักงานใหมคุนเคยกับงาน สถานที่ทํางานและองคการ, ทําใหคนเกา
กับคนใหมปรับตัวเขาหากัน
5. การฝกอบรม (Training)
การฝกอบรม เปนกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ซึ่ง
จะทําใหเขาเหลานั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น และความสามารถของ
พนักงานที่ทํางานในองคการจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายนั้น พนักงานควรไดรับการ
22
แนวขอสอบบุคลากร
73.ปญหาการทํางานต่ํากวาระดับการศึกษา (Underemployment)
ก. การพัฒนาที่เนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม
ข. การพัฒนาที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน
ตอบ ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน
การพัฒนาที่เนนการสรางงาน มีแนวคิดหลักที่สําคัญดังนี้
1. การโยกยายแรงงานสวนเกินจากภาคเกษตรกรรมมาทํางานในภาคอุตสาหกรรมอาจ
กอใหเกิดการวางงานขึ้นได
2. จํานวนแรงงานในชนบทที่เขามาทํางานในเมืองมีจํานวนมากกวาจํานวนงานที่มีอยูใน
เมือง จึงทําใหเกิดแรงงานสวนเกินในเมือง
3. ปญหาการวางงานโดยเปดเผยไมใชปญหาที่รุนแรง แตปญหาที่นาเปนหวงก็คือ
การทํางานต่ํากวาระดับการศึกษา
74.เศรษฐกิจระดับเมืองกับเศรษฐกิจระดับชนบท
ก. การพัฒนาที่เนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม
ข. การพัฒนาที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน
ตอบ ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจมีแนวคิดหลักที่สําคัญดังนี้
1. เนนเรื่องการสะสมทุนเปนอยางมาก โดยชี้ใหเห็นวายิ่งมีการออมและการสะสมทุน
มากขึ้นก็ยิ่งมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น
2. ตองคํานึงถึงปจจัยภายนอก เชนทุนจากตางประเทศ สต็อกเงินตราตางประเทศ
ทักษะความชํานาญงานดานการจัดการตาง ๆ ที่มาจากตางประเทศ เปนตน
3. ใหความสนใจเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ 2 ระดับ คือ เศรษฐกิจระดับเมือง และ
เศรษฐกิจระดับชนบท
23
93.คุณภาพชีวิตในการทํางานเกี่ยวของกับเรื่องใด
ก. การเคารพและยอมรับศักดิ์ศรีความเปนมนุษย
ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน
ค. การสรางความเจริญกาวหนาใหผูปฏิบัติงาน
ง. การสรางสรรคงานเพื่อใหผูปฏิบัติไดใชความคิดและทักษะ
ตอบ ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน
คุณภาพชีวิตในการทํางาน มี 2 ลักษณะคือ การพิจารณาปฏิกิริยาของผูปฏิบัติงาน
วามีความพึงพอใจมากนอยเพียงใด ลักษณะที่สองเปนการพิจารณาจากแนวปฏิบัติหรือ
วิธีการเทคนิคในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค
94.ขั้นตอนตอไปนี้ขั้นตอนใดตองทําเปนอันดับแรก
ก. การเกลี่ยอัตรากําลัง
ข. การจัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ
ค. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบัติอยูหรือไม
ง. การเสนอคําขอพรอมเหตุผลที่ไมยุบเลิกอัตราตําแหนงที่เกษียณอายุ
ตอบ ข. การจัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ
มีขั้นตอนในการทํางานดังตอไปนี้
1. จัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ
2. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบัติอยูหรือไม
3. การนําเสนอคําขอรองเหตุที่ไมยุบเลิกอัตราตําแหนงเกษียณ
4. การเกลี่ยอัตรากําลัง
5. การจัดการระบบขอมูลสนเทศดานกําลังเพื่อใชในการตรวจสอบอัตรากําลัง
95.หนวยงานใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ
ก.สํานักงานตรวจเงินแผนดิน
ข. คณะกรรมการกําหนดเงินเดือนแหงชาติ
ค. สํานักงบประมาณ
ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก
ตอบ ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก
หนวยงานที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก
1. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.)
2. กระทรวง ทบวง กรม
24
3. จังหวัด
4. องคกรปกครองสวนทองถิ่น
5. ฝายบริหารงานบุคคลของหนวยงาน
6. หนวยงานกําหนดและกํากับนโยบายหรือแผนฯ ระดับชาติ
7. อื่น ๆ เชน ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC)
เปนตน
96.คําวา “Forced Labor" หมายความวาอยางไร
ก. แรงงานเด็ก ข. แรงงานวัยรุน
ค. การดูแลไมใหมีแรงงานเด็กในหนวยงาน ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก
ตอบ ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก
Forced Labor เปนการกําหนดคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน
97.คาตอบแทนประเภทใดถือปฏิบัติเหมือนเงินเดือน
ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง
ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ข. เงินประจําตําแหนง
คาตอบแทนของขาราชการมีทั้งเปนตัวเงิน และเปนประโยชนเกื้อกูลกัน
คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก
1. บําเหน็จบํานาญ
2. เงินประจําตําแหนง
3. เงินชวยเหลือบุตรเปนตน
คาตอบแทนที่เปนผลประโยชนเกื้อกูล
1. การไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ
2. การนับอายุราชการเปนทวีคูณ
3. สิทธิในการลาของราชการ
98.การนับอายุราชการเปนทวีคูณเกี่ยวของกับขอใด
ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง
ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ก. บําเหน็จบํานาญ
25
สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740
แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่
LINE ID : sheetram
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080,
085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (7)

ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK แนวข้อสอบกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง บุคลากร E-BOOK แนวข้อสอบ สกย คู่มือเตรียมสอบ สกย

  • 1. 1
  • 2. 2 ขอบเขตเนื้อหา สวนที่ 1 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. 5 ภารกิจ/ยุทธศาสตร สกย. 11 วิสัยทัศน 12 คานิยมองคกร 12 พันธกิจ 12 วัตถุประสงค 13 เปาหมายหลัก 14 ยุทธศาสตร 14 ภารกิจ/บริการ 16 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง 20 การปลูกยางพารา 20 การบํารุงรักษา 33 โรคและศัตรูพืชที่สําคัญของยางพารา 39 การปฏิบัติระยะตนยางใหผลผลิต 46 การแปรรูปผลผลิต 49 มาตรฐานคุณภาพของยางแผนดิบ 52 สวนที่ 2 กฎหมายที่เกี่ยวของ พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 55 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 แกไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 70 แนวขอสอบพรบ.กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) แกไขเพิ่มเติมถึงพ.ศ. 2530 81 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 88 สวนที่ 3 ความรูเฉพาะตําแหนงบุคลากร องคกรและการจัดการ 95 องคการ (Organization) 95 ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) 96 การบริหารหรือการจัดการ (Management) 97 หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions) 99 บทบาททางการบริหาร (Management Roles) 100 ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills) 101 ระบบการบริหาร (Management System) 102 การจัดการในอดีตและปจจุบัน 103 พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background) 103 แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory) 103 ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory) 104 ทฤษฎีทางการบริหารโดยทั่วไป (General Administration Theory) 105 ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation) 109 ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร 111 วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม 114 แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม 114 วัฒนธรรมองคการ 115
  • 3. 3 สภาวะแวดลอม 116 การจัดการในยุคโลกาภิวัตน 117 การกาวขึ้นเปนองคการระหวางประเทศ (Go International Organization) 120 ความรับผิดชอบทางสังคมและจริยธรรมทางธุรกิจ 121 ความรับผิดชอบตอสังคมของผูบริหาร (Social Responsibility) 121 จริยธรรมทางธุรกิจ (Managerial Ethics) 122 การตัดสินใจทางการจัดการ 123 พื้นฐานการวางแผน 127 จุดมุงหมายของการวางแผน (Purposes of Planning) 128 ประเภทของแผนงาน (Types of Plans) 128 วัตถุประสงคขององคการ (Organization Objective) 132 แนวความคิดของการจัดการตามวัตถุประสงค 133 การจัดการเชิงกลยุทธ 134 การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) 134 เครื่องมือและเทคนิคในการวางแผน 139 โครงการและการออกแบบองคการ 141 การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 141 การจัดการทรัพยากรมนุษย 153 ประเด็นปจจุบันในการจัดหาทรัพยากรมนุษย 158 การจัดการการเปลี่ยนแปลงและนวัตกรรม 159 เทคนิคในการบริหารการเปลี่ยนแปลง (Technique for Managing Change) 161 การพัฒนาองคการ (Organization Development – OD) 163 การกระตุนใหเกิดนวัตกรรม (Stimulating Innovation) 164 พื้นฐานของพฤติกรรม 165 การรับรู (Perception) 168 การเรียนรู (Learning) 169 การกําหนดรูปแบบของพฤติกรรม (Shaping Behavior) 170 การเขาใจกลุมและทีม 172 แนวคิดขั้นพื้นฐานของกลุม (Basic Group Concept) 173 การแกปญหาความขัดแยง (Conflict Resolution Approaches) 174 การตัดสินใจเปนกลุม (Group Decision Making) 175 การจูงใจพนักงาน 180 ภาวะผูนํา 184 ทฤษฎีภาวะผูนําในยุคเริ่มแรก (Early Theory of Leadership) 188 ทฤษฎีภาวะผูนําแบบพฤติกรรม (Behavior Theory) 188 ทฤษฎีตามสถานการณ 190 ผูนําและอํานาจ (Leader and Power) 194 พื้นฐานการควบคุม 196 การบริหารงานผลิต 200 เครื่องมือและเทคนิคในการควบคุม 204 ระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2548 209 สรุปพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ.2540 223 การรางหนังสือราชการ 230 สรุประเบียบวาดวยรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ.2544 237 แนวขอสอบบุคลากร 248
  • 4. 4 ความรูเกี่ยวกับกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง ประวัติ สกย. ทศวรรษแรก (ป 2503-2513) สรางความเชื่อมั่นแกชาวสวนยาง การ ดําเนินงานในทศวรรษแรก สมัยรัฐบาลจอม พลสฤษดิ์ ธนรัชต มีสํานักงาน ใหญตั้งอยูที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ และมีสํานักงานสวนภูมิภาค ตั้งอยูในเขตปลูก ยาง หนาแนน ในภาคใต และภาคตะวันออก รวม 6 เขต ไดแก ภูเก็ต นครศรีธรรมราช สงขลา ยะลา และจันทบุรี มีขุนวิจิตรพา หนการ เปนผูอํานวยการ คนแรก ดํารงตําแหนง ระหวางวันที่ 1 มกราคม 2504 – 30 กันยายน 2508 คณะทํางานชุดแรกเปน พนักงานที่ สําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาตรีดานการเกษตร จํานวน 11 คนเปนหลัก ทํางานทั้งดาน ภาคสนามและการเงิน การบัญชี ซึ่งพนักงานชุดแรกนี้ตอมาไดเปน ผอ.สกย. ถึง 3 คน คือนายณรงค สุจเร นายสมศักดิ์ โรหิตรัตนะ และนายเสวต ทองรมย หลังจากนั้นอีก ประมาณ 5-6 เดือน จึงมีพนักงาน ดานการเกษตรและดาน การเงินและบัญชี เขามาปฏิบัติงานเสริมอีก 25 คน ทําใหการสงเคราะห ดําเนินการได รวดเร็ว และ คลองตัวยิ่งขึ้น ดวยความที่งานดานการสงเคราะหเปนงานใหมของประเทศ ไทย การทํางานในยุคเริ่มตน จึงประสบความ ลําบาก ในการทําความเขาใจกับประชาชน พอสมควร แตดวยความมุงมั่น และอุดมการณอันแรงกลา ที่จะพลิกสถานการณ การผลิต ยาง ของประเทศ และนํามาซึ่งความอยูดีกินดีของชาวสวนยาง ในขณะนั้น ทําให เกษตรกรเขาใจในเหตุผล และ ประโยชนที่จะไดรับในที่สุด อีกทั้งใหความเชื่อมั่นและ ไววางใจเปนอยางสูง อยางที่ไมมีหนวยงานราชการใดเคยไดรับมากอน โดยเฉพาะอยาง ยิ่งสิ่งที่พนักงาน สกย. ตองจดจํา ไวเปนพิเศษ คือในชวงป 2505 หลังจากกอตั้ง สกย. เพียง 2 ปเศษ ไดเกิดวาตภัยครั้งใหญที่ จ.นครศรีธรรมราช สงผลให ประชาชนตองประสบความเสียหายทั้งชีวิตและทรัพยสิน สกย. ไดระดม พนักงานจํานวนมาก ไปชวยเหลือเกษตรกร ชาว สวนยางที่ประสบภัยพิบัติอันรายแรง อยางไมเคยเปนมากอน พนักงาน สกย. ทั้งหมดตางเรงเขาไปในพื้นที่ ระดมพลังทุมเท ความสามารถที่มีอยู เพื่อบรรเทาความเดือดรอนใหเกษตรกรผูประสบภัยเหลานั้น อยาง ไมเห็นแกเหน็ดเหนื่อย แมทุกคนจะ ทุกขกายแตตางสุขใจและภาคภูมิที่ได ชวยเหลือ สังคมอยางเต็มกําลัง ทําใหชื่อเสียงของ สกย. โดดเดนขึ้นมาอยูในความ ทรงจําของ ชาวสวนยางพาราทั่วไป
  • 5. 5 วิสัยทัศน "มุงพัฒนายางพาราครบวงจร นําสังคมชาวสวนยางไปสูความเขมแข็งและยั่งยืน” พัฒนายางพาราจากการผลิต เริ่มตั้งแตการปลูกจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผลผลิต การแปรรูป เบื้องตน เปนผลิตภัณฑยางอุตสาหกรรมและการตลาด โดยเริ่มจากตัวเกษตรกรมีความรู สูครอบครัวที่อบอุน ชุมชน และสังคมชาวสวนยางเขมแข็ง คานิยมองคกร สกย. ไดกําหนดคานิยมองคกรที่จะใชเปนบรรทัดฐานสําหรับพนักงานไดนําไปใช เปน หลักปฏิบัติเพื่อรวมกันขับเคลื่อนองคกรใหกาวหนาบรรลุสูเปาหมายของ องคกร ดังนี้ O : Outcome มุงผลสําเร็จของการทํางาน R : Responsibility ความรับผิดชอบ R : Relationship สรางความสัมพันธที่ดีระหวางกัน A : Active Teamwork การทํางานเปนทีม F : Faith ซื่อสัตยสุจริต พันธกิจ 1. สงเสริมและพัฒนาศักยภาพการผลิตของเกษตรกรเพื่อเพิ่มผลผลิตตอหนวย พื้นที่ ลดตนทุนการผลิต และปลูกยางเพิ่มในพื้นที่ที่เหมาะสม 2. สงเสริมการดําเนินการเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเกษตรกร และสรางความ เขมแข็งใหกับสถาบันเกษตรกร 3. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการตลาดยางพารา และขยายตลาด ยางพาราระดับทองถิ่น ใหครอบคลุมทุกพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูกยาง บนพื้นฐานความ รวมมือของเกษตรกร 4. สงเสริมการปลูกสรางสวนยางใหมีมาตรฐาน เกื้อกูลระบบนิเวศนและ สิ่งแวดลอม 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการองคกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการ
  • 6. 6 วัตถุประสงค 1. เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตยางพารา และพัฒนาระบบตลาด เพิ่ม รายไดและลดตนทุนการผลิตใหกับเกษตรกร 2. เพื่อใหเกษตรกรมีความมั่นคงในการประกอบอาชีพ และสถาบันเกษตรกร มี การดําเนินการที่มีมาตรฐานอยางตอเนื่อง 3. เพื่อใหการใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ คุมคา และฟนฟูทรัพยากรใหมี ความเหมาะสมตอการผลิต โดยเกษตรกร และสถาบันเกษตรกรเขามามีสวนรวมในการ บริหารจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดลอม 4. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการองคกร บุคลากรสามารถปฏิบัติงาน อยางเต็มศักยภาพ สอดรับกับการเปลี่ยนแปลง ใหการปฏิบัติงานเปนไปตาม วัตถุประสงค เปาหมาย และเปนองคกรที่ดําเนินกิจกรรมภายใตหลักธรรมาภิบาล เปาหมายหลัก 1. เพิ่มผลผลิตโดยการใหการสงเคราะหปลูกแทนโดยใชพันธุยางที่ใหผลิตสูงกวา ตนยางเกา และใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อใหสวนสงเคราะหตั้งแตรุนป 2555 สามารถ ใหผลผลิตไดภายใน 6 ป และสงเสริมใหมีการปลูกยางเพิ่มในพื้นที่เหมาะสม 2. ลดตนทุนการผลิตโดยการสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยาง ใชทรัพยากรอยาง คุมคา อนุรักษสิ่งแวดลอมและมีความรูสามารถใชเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการดูแล รักษาสวนและเก็บเกี่ยวผลผลิต รวมทั้งรวมกันในการบริหารจัดการผลผลิต และการ จําหนายผลผลิตอยางมีประสิทธิภาพ 3. สรางความมั่นคงใหกับเกษตรกร โดยสงเสริมใหมีการรวมตัวเพื่อดําเนิน กิจกรรม และชวยเหลือซึ่งกันและกัน ในเรื่องการผลิต การแปรรูป การตลาด อาชีพเสริม และอื่นๆ ตามความเหมาะสม และพัฒนาไปสูเปนสถาบันเกษตรกรที่เปนนิติบุคคล 4. ดําเนินการตลาดประมูลยางระดับทองถิ่น ครอบคลุมพื้นที่ที่สงเสริมใหปลูก ยางพารา และตลาดไดรับการยอมรับจากผูใชบริการ ราคาซื้อขายเปนราคาอางอิงของ ราคาในตลาดทองถิ่น 5. ปรับปรุงระบบบริหารจัดการองคกร ใหเทียบเทามาตรฐานสากล และ เสริมสรางทัศนคติ คานิยม วัฒนธรรมการทํางาน พรอมรับการเปลี่ยนแปลง รวมถึง เสริมสรางศักยภาพในการดําเนินงานสูความเปนเลิศภายใตหลักธรรมาภิบาล
  • 7. 7 ความรูทั่วไปเกี่ยวกับสวนยาง การปลูกยางพารา การเตรียมพื้นที่ การเตรียมพื้นที่ปลูกสรางสวนยาง เปนการปรับพื้นที่ใหมีสภาพเหมาะสมสําหรับ ปลูกยางทั้งดานการปฏิบัติงานในสวนยางและการอนุรักษดินและน้ํา จําเปนตองวางแผน การใชพื้นที่อยางมีประสิทธิภาพ เพื่อความสะดวกในการดูแลบํารุงรักษาตนยาง การ เตรียมพื้นที่ปลูกยาง ไดแก การทําความสะอาดพื้นที่ การวางแนว การขุดหลุม และการ จัดทําขั้นบันไดเปนตน การวางแนวปลูก การวางแนวปลูกในพื้นที่ราบ เริ่มจากการวางแถวหลัก หางจากแนวเขตสวนไม นอยกวา 1.5 เมตร ตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ไมขวางทิศทางลม การวางแนวปลูกในพื้นที่ลาดเท ในพื้นที่ลาดเทหรือพื้นที่ที่อยูบนควนเขา การ วางแนวปลูกไมสามารถใชวิธีแบบเดียวกับพื้นที่ราบได เนื่องจากที่ลาดเทหรือที่ควนเขามี การไหลบาของน้ําในขณะที่มีฝนตก เปนผลใหเกิดการชะลางและพังทลายของหนาดิน ดังนั้น เพื่อปองกันการชะลางและการพังทลายของดินจึงจําเปนตองวางแนวปลูกตามแนว ระดับ หากพื้นที่มีความลาดเทมากกวา 15 องศา ตองทําขั้นบันได ประโยชนของการทําแนวระดับและขั้นบันได - ปองกันการพังทลายของหนาดิน - ปองกันการชะลางปุยที่ใสใหกับตนยาง - ทําใหรากตนยางยึดแนนกับดิน ไมถูกน้ําเซาะลมไดงาย - ชวยรักษาความชุมชื้นในดิน - งายและสะดวกแกการปฏิบัติงานในสวน ระยะปลูก เพื่อปองกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับตนยาง จึงกําหนดระยะปลูกเปน 2 ระยะ ตามความตองการปลูกพืชแซมและลักษณะประจําพันธุยาง การเตรียมหลุมปลูก การขุดหลุมปลูกยางใหขุดดานใดดานหนึ่งของไมชะมบตลอดแนว โดยแยกดินที่ ขุดเปน 2 กอง คือ ดินชั้นบนและดินชั้นลาง ผึ่งแดดไวประมาณ 10 วัน เพื่อใหดินแหง
  • 8. 8 แลวยอยดินชั้นบนใสรองกนหลุม สวนดินชั้นลางใหผสมกับปุยหินฟอสเฟต (0-3-0) อัตรา หลุมละ 170 กรัม ในแหลงปลูกยางใหมควรใสปุยอินทรียตนละ 5 กก. รองกนหลุม รวมกับปุยหินฟอสเฟต แลวกลบหลุม ขนาดของหลุม 50 x 50 x 50 เซนติเมตร (กวาง x ยาว x ลึก) สําหรับการขุดหลุมปลูกในพื้นที่ลาดเท เมื่อปกไมชะมบเรียบรอยแลวควรขุดหลุม เยื้องไปดานในควนเล็กนอย เมื่อปลูกยางไปแลวอาจตองแตงชานเพิ่มเติม โดยขุดดินบน ควนมากลบดานนอก ซึ่งจะทําใหตนยางอยูกลางขั้นบันไดพอดี การปลูก วัสดุปลูกและวิธีการปลูก วัสดุปลูก วัสดุปลูก หรือตนยางที่ใชปลูก แบงออกเปน ตนตอตาและตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ควรเลือกวัสดุปลูกที่แข็งแรงสมบูรณปราศจากโรคและศัตรูพืช ตนตอตา ตนตอตา หมายถึง ตนกลายางที่ไดรับการติดตาดวยยางพันธุดี แตตายังไมแตก ออกมา มีแผนตาและตาที่เปนตุมติดอยูเทานั้น ขุดถอนแลวตัดตนเดิมเหนือแผนตาขึ้นไป ไมนอยกวา 8 ซม. เพื่อนําไปปลูกในแปลงที่เตรียมพื้นที่ไวเรียบรอยแลว ตนยางชําถุง ตนยางชําถุง หมายถึง วัสดุปลูกที่ไดจากการนําเอาตนตอตามาชําในถุง โดยใช เวลาชําในถุงประมาณ 2-3 เดือน จนไดตนยางชําถุงขนาด 1-2 ฉัตร ซึ่งมีสภาพพรอมที่ จะนําไปปลูกในแปลงได ขนาดของถุงที่ใชชําคือ 5 x 15 นิ้ว สีดํา เจาะรูขนาด 3 มม. ประมาณ 3 แถว ๆ ละ 5-7 รู พันธุยาง กรมวิชาการเกษตร ไดแนะนําพันธุยาง 3 กลุม 1. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางสูง เปนพันธุที่ใหผลผลิตเนื้อยางสูงเปนหลัก มี4 พันธุคือ พันธุสาถาบันวิจัยยาง 251 สถาบันวิจัยยาง226 BPM 24 และ RRIM 600 2. กลุมพันธุยางผลผลิตน้ํายางและเนื้อไมสูง
  • 9. 9 พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร. ใหไว ณ วันที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 เปนปที่ 54 ในรัชกาลปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการ โปรดเกลาฯ ใหประกาศวา โดยที่เปนการสมควรปรับปรุงกฎหมายวาดวยการควบคุมยาง พระราชบัญญัตินี้มีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจํากัดสิทธิและ เสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา 29 ประกอบกับมาตรา 35 มาตรา 36 มาตรา 48 และ มาตรา 50 ของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย บัญญัติใหกระทําไดโดยอาศัยอํานาจ ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนํา และยินยอมของรัฐสภา ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราช กิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ใหยกเลิก (1) พระราชบัญญัติควบคุมยาง พุทธศักราช 2481 (2) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2483 (3) พระราชบัญญัติควบคุมยาง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2490 มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea brasiliensis) และ หมายความรวมถึงตนยางชนิดอื่นซึ่งรัฐมนตรีประกาศกําหนดใหเปนตนยางที่อยูภายใต การควบคุมตามพระราชบัญญัตินี้ “ตนยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางที่รัฐมนตรีประกาศกําหนดวาเปน ตนยางพันธุที่เหมาะสมที่จะใชปลูกเปนสวนยาง “ยาง” หมายความวา น้ํายางสด ยางกอน เศษยาง น้ํายางขน ยางแผน ยางแทง ยางเครพ หรือยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตน
  • 10. 10 ยาง และหมายความรวมถึงยางผสมไมวาในสภาพของแข็งหรือของเหลวซึ่งมียาง ธรรมชาติผสมกับสารเคมีหรือสารอื่น แตไมรวมถึงวัตถุประดิษฐสําเร็จรูปจากยาง “เนื้อยาง” หมายความวา เนื้อยางที่มีอยูในน้ํายางหรือยางแตละชนิดโดย คํานวณเปนน้ําหนักตามกรรมวิธีที่กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ กําหนด “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินซึ่งมีตนยางปลูกอยูในเนื้อที่ไมนอยกวา หนึ่งไร แตละไรมีตนยางไมนอยกวาสิบตน หรือในกรณีที่มีเนื้อที่ปลูกยางติดตอกัน มากกวาหนึ่งไร ตองมีสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตนของจํานวนเนื้อที่ทั้งหมด “ทําสวนยาง” หมายความวา ปลูกตนยางในสภาพที่เปนสวนยาง บํารุงรักษาตนยาง กรีดตนยาง หรือทําน้ํายางสดใหเปนยางกอน เศษยาง หรือยางแผน ดิบ “เขตควบคุมการขนยายยาง” หมายความวา เขตพื้นที่ที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดเปนเขตควบคุมการขนยายยาง “โรงทํายาง” หมายความวา สถานที่ที่ใชน้ํายางสด ยางกอน เศษยาง หรือยางแผนดิบมาแปรรูปเปนน้ํายางขน ยางผึ่งแหง ยางแผนรมควัน ยางแทง ยางเครพ ยางดิบชนิดอื่น ๆ อยางหนึ่งอยางใดหรือหลายอยางรวมกัน และหมายความรวมถึง สถานที่ที่ผลิตยางผสม แตไมรวมถึงสถานที่ที่ทํายางแผนดิบ “ปริมาณควบคุมเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศกําหนดใหผูทําสวนยางทําการผลิตเนื้อยางไดตามปริมาณและระยะเวลาที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “ปริมาณจัดสรรเนื้อยาง” หมายความวา ปริมาณเนื้อยางที่รัฐมนตรี ประกาศจัดสรรใหผูนํายางเขาหรือผูสงยางออก นําเนื้อยางเขามาในหรือสงเนื้อยาง ออกไปนอกราชอาณาจักรได ตามปริมาณและระยะเวลาที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “มาตรฐานยาง” หมายความวา ลักษณะของยางแตละชนิดหรือชั้นตามที่ รัฐมนตรีประกาศกําหนด “วิธีการมัดยางและการบรรจุหีบหอยาง” หมายความวา วิธีการมัดยาง และการบรรจุหีบหอยางตามวิธีการที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด “คายาง” หมายความวา ซื้อ ขาย หรือแลกเปลี่ยนยาง และหมายความ รวมถึงซื้อยาง ขายยาง ตามตราสารที่บุคคลหนึ่งบุคคลใดเปนผูออกตราสารนั้นหรือโดย
  • 11. 11 พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 ในพระปรมาภิไธย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สังวาลย ผูสําเร็จราชการแทนพระองค ใหไว ณ วันที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2503 เปนปที่ 15 ในรัชกาลปจจุบัน โดยที่เปนการสมควรจัดใหมีกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง เพื่อ ชวยเหลือเจาของสวนยางปรับปรุงสวนยางใหดีขึ้น พระมหากษัตริยโดยคําแนะนําและยินยอมของสภารางรัฐธรรมนูญใน ฐานะรัฐสภา จึงมีพระบรมราชโองการใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไว ดังตอไปนี้ มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “พระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะห การทําสวนยาง พ.ศ. 2503” มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับเมื่อพนกําหนดเกาสิบวันนับแตวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้ “ตนยาง” หมายความวา ตนยางพารา (Hevea SPP.) “ยางพันธุดี” หมายความวา ตนยางพันธุที่ใหผลดีตามที่คณะกรรมการ กําหนดโดยคําแนะนําของกรมกสิกรรม “สวนยาง” หมายความวา ที่ดินปลูกตนยางมีเนื้อที่ไมนอยกวาสองไร แต ละไรมีตนยางปลูกไมนอยกวาสิบตน และโดยสวนเฉลี่ยไมนอยกวาไรละยี่สิบหาตน “สวนขนาดเล็ก” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ไมเกินหาสิบไร “สวนขนาดกลาง” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่เกินหาสิบไร แตไม ถึงสองรอยหาสิบไร “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบ ไรขึ้นไป “เจาของสวนยาง” หมายความวา ผูทําสวนยาง และมีสิทธิไดรับผลิตผล จากตนยางในสวนยางที่ทํานั้น
  • 12. 12 “ยาง” หมายความวา น้ํายาง ยางแผน ยางเครพ ยางกอน เศษยาง หรือ ยางในลักษณะอื่นใดอันผลิตขึ้นหรือไดมาจากสวนใด ๆ ของตนยาง แตไมรวมถึงวัตถุ ประดิษฐจากยาง “การปลูกแทน” หมายความวา การปลูกยางพันธุดี หรือไมยืนตนชนิด อื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่คณะกรรมการกําหนด แทนตนยางเกาหรือไมยืน ตนเกาทั้งหมดหรือบางสวน “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่ง ถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น “เจาพนักงานสงเคราะห” หมายความวา บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแตงตั้งให เปนเจาพนักงานสงเคราะห “คณะกรรมการ” หมายความวา คณะกรรมการสงเคราะหการทําสวน ยาง “ผูอํานวยการ” หมายความวา ผูอํานวยการสํานักงานกองทุนสงเคราะห การทําสวนยาง “รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 4 ใหจัดตั้งกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่ง ประกอบดวยเงินสงเคราะหซึ่ง สงสมทบตามพระราชบัญญัตินี้ เรียกวา “กองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” เพื่อเปนทุน ใชจายในการทําสวนยางที่ไดผลนอยใหไดผลดียิ่งขึ้น ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางเปนนิติบุคคล มีวัตถุประสงคเพื่อ ดําเนินกิจการสงเคราะหการทําสวนยางตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมีอํานาจกระทําการ ใด ๆ ที่จําเปนหรือเปนอุปกรณแกวัตถุประสงคดังกลาวนั้นได รวมทั้งการทําสวนยางและ สวนไมยืนตน ตลอดจนกิจการที่เกี่ยวของเปนการสาธิตและสงเสริม เพื่อประโยชนในการ สงเคราะห กับใหรวมตลอดถึงการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไมยืน ตนชนิดอื่นที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจตามที่รัฐบาลมอบหมาย ใหกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางมีสํานักงานแหงใหญใน กรุงเทพมหานคร เรียกวา “สํานักงานกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง” มาตรา 4 ทวิ ในการดําเนินการสงเสริมหรือสงเคราะหการปลูกแทนไม ยืนตนชนิดอื่นตามมาตรา 4 ใหใชเงินทุนคาใชจายจากรัฐบาล หรือจากกองทุนสงเคราะห เกษตรกรตามกฎหมายวาดวยกองทุนสงเคราะหเกษตรกร
  • 13. 13 แนวขอสอบพระราชบัญญัติกองทุนสงเคราะหการทําสวน ยาง พ.ศ. 2503 (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2530 5. สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป เปนสวนขนาดใด ก. สวนขนาดทดลอง ข. สวนขนาดเล็ก ค. สวนขนาดกลาง ง. สวนขนาดใหญ ตอบ ง. สวนขนาดใหญ “สวนขนาดใหญ” หมายความวา สวนยางที่มีเนื้อที่ตั้งแตสองรอยหาสิบไรขึ้นไป 6. “ปสงเคราะห” หมายความถึงระยะเวลาใด ก. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 เมษายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 มีนาคมของปถัดไป ข. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤษภาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 เมษายนของปถัดไป ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป ง. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายนของปหนึ่งถึงวันที่ 31 ตุลาคมของปถัดไป ตอบ ค. ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของ ปถัดไป “ปสงเคราะห” หมายความวา ระยะเวลาตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคมของปหนึ่งถึงวันที่ 30 กันยายนของปถัดไป และใหใชป พ.ศ. ที่ถัดไปเปนชื่อสําหรับปสงเคราะหนั้น 7. สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินกวาเทาใด ไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห ก. 1 กิโลกรัม ข. 3 กิโลกรัม ค. 5 กิโลกรัม ง. 7 กิโลกรัม ตอบ ค. 5 กิโลกรัม สําหรับยางที่สงออกนอกราชอาณาจักรเพื่อเปนตัวอยางซึ่งมีน้ําหนักไมเกินหา กิโลกรัม หรือยางที่กระทรวง ทบวง กรม เปนผูสงออกเพื่อประโยชนใด ๆ อันมิใชเพื่อ การคา ไมวาจะมีน้ําหนักเทาใด ใหไดรับยกเวนไมตองเสียเงินสงเคราะห
  • 14. 14 8. ขอใดเจาของสวนยางจะไดรับการสงเคราะหสวนยาง ก. ตนยางอายุยี่สิบหาปขึ้นไป ข. ตนยางทรุดโทรมเสียหาย ค. ตนยางที่ไดผลนอย ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ ผูจะไดรับการสงเคราะหตามพระราชบัญญัตินี้ตองเปนเจาของสวนยางที่มีตนยาง อายุกวายี่สิบหาปขึ้นไป หรือตนยางทรุดโทรมเสียหาย หรือตนยางที่ไดผลนอย 9. คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียกโดย ยอวาอะไร ก. ก.ส.ย. ข. กสย. ค. คสย. ง. ค.ส.ย. ตอบ ก. ก.ส.ย. 10. รองประธานกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยาง คือผูใด ก. รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ ค. เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ง. ผูอํานวยการสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร ตอบ ข. ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ 11.กรรมการที่คณะรัฐมนตรีแตงตั้งจากเจาของสวนยางและบุคคลอื่นซึ่งมีสวนเกี่ยวของ กับการยางมีจํานวนเทาใด ก. 2 คน / 2 คน ข. 4 คน / 2 คน ค. 4 คน / 4 คน ง. 5 คน / 2 คน ตอบ ข. 4 คน / 2 คน คณะกรรมการเพื่อดําเนินกิจการกองทุนสงเคราะหการทําสวนยางคณะหนึ่งเรียก โดยยอวา “ก.ส.ย.” ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ หรือ รัฐมนตรีชวยวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณ ซึ่งรัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและ สหกรณมอบหมายเปนประธานกรรมการ ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ เปนรอง ประธานกรรมการ เลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
  • 15. 15 แนวขอสอบพระราชบัญญัติควบคุมยาง พ.ศ. 2542 6.ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือของ ทุกๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่เทาใดของเดือน ถัดไป ก. วันที่หนึ่ง ข. วันที่สาม ค. วันที่หา ง. วันที่สิบ ตอบ ง. วันที่สิบ ผูคายางจะตองทําบัญชีการซื้อยาง บัญชีการจําหนายยางและปริมาณยางคงเหลือ ของทุก ๆ เดือน และจัดสงบัญชีดังกลาวตอพนักงานเจาหนาที่ภายในวันที่สิบของเดือน ถัดไป 7.ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต ผูรองขอมีสิทธิอุทธรณเปนหนังสือตอรัฐมนตรี ภายในกี่วันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือการไมอนุญาตใหตออายุ ใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ค. สามสิบวัน ในกรณีที่ผูอนุญาตไมออกใบอนุญาต หรือไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาต หรือมี คําสั่งพักใชใบอนุญาต หรือคําสั่งเพิกถอนใบอนุญาต ผูขอรับใบอนุญาตหรือผูขอตออายุ ใบอนุญาตหรือผูถูกพักใชใบอนุญาตหรือผูถูกเพิกถอนใบอนุญาต มีสิทธิอุทธรณเปน หนังสือตอรัฐมนตรีภายในสามสิบวันนับแตวันที่ไดทราบถึงการไมออกใบอนุญาต หรือ การไมอนุญาตใหตออายุใบอนุญาตหรือการพักใชใบอนุญาต หรือการเพิกถอนใบอนุญาต แลวแตกรณี 8. หากใบอนุญาตสูญหาย หรือถูกทุกลาย จะตองยื่นคําขอภายในกี่วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน
  • 16. 16 ในกรณีที่ใบอนุญาตสูญหายหรือถูกทําลายในสาระสําคัญ ใหผูรับใบอนุญาตแจง ตอพนักงานเจาหนาที่และยื่นคําขอรับใบแทนใบอนุญาตภายในสิบหาวันนับแตวันที่ได รับทราบถึงการสูญหาย หรือถูกทําลายดังกลาว 9. หากผูรับใบอนุญาต ถึงแกความตาย ทายาทหรือผูจัดการมรดก จะตองแจงใหผู อนุญาตทราบภายในกี่วันนับแตผูรับใบอนุญาตตาย ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ง. หกสิบวัน ในกรณีที่ผูรับใบอนุญาตซึ่งเปนบุคคลธรรมดาถึงแกความตายและใบอนุญาตยัง ไมสิ้นอายุ ถาทายาทซึ่งบรรลุนิติภาวะแลวหรือผูจัดการมรดกของผูรับใบอนุญาตประสงค จะประกอบกิจการนั้นตอไป ก็ใหประกอบกิจการตอไปไดจนกวาใบอนุญาตจะสิ้นอายุ แต ตองแจงใหผูอนุญาตทราบภายในหกสิบวันนับแตวันที่ผูรับใบอนุญาตตาย 10. ผูรับใบอนุญาตยายสถานที่ประกอบกิจการจะตองแจงใหพนักงานเจาหนาที่ทราบภายในกี่ วัน ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตซึ่งประสงคจะยายสถานที่ประกอบกิจการของตนตองแจง การยาย สถานที่ดังกลาวเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันที่ยาย 11. ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการ ตองแจงการเลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงาน เจาหนาที่ภายในกี่วันนับแตวันเลิกกิจการ ก. เจ็ดวัน ข. สิบหาวัน ค. สามสิบวัน ง. หกสิบวัน ตอบ ข. สิบหาวัน ผูรับใบอนุญาตผูใดเลิกกิจการที่ไดรับอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ ตองแจงการ เลิกกิจการเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ภายในสิบหาวันนับ แตวันเลิกกิจการและให ถือวาใบอนุญาตสิ้นอายุตั้งแตวันเลิกกิจการตามที่ แจงไวนั้น
  • 17. 17 องคกรและการจัดการ องคการ (Organization) "องคการ" ตามแนวความคิดของ Stephen P. Robbins คือ การจัดการ ของกลุมบุคคล โดยมีเจตนาที่จะใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จตามจุดมุงหมายเปน การเฉพาะ องคการประกอบดวยคุณลักษณะสําคัญ 3 ประการ คือ 1.จุดมุงหมายโดยชัดเจน (Distinct Purpose) คือ การมีเปาหมายรวมกัน 2.บุคลากร (People) คือ การรวมตัวกันของคนตั้งแต 2 คนขึ้นไป 3.โครงสราง (Structure) ที่ชัดเจน คือ การมีปฏิสัมพันธตอกัน ในปจจุบันนี้ องคการไดแปรเปลี่ยนจากองคการระบบปด (Closed System)มาเปนองคการระบบเปด (Opened System) ซึ่งมีความยืดหยุนและตอบสนอง การเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ตารางเปรียบเทียบแนวความคิดขององคการที่แปรเปลี่ยนไป มีดังนี้ องคการแบบดั้งเดิม องคการสมัยใหม 1. คงสภาพอยูกับที่เดิม 2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ไมยืดหยุน 3. เนนตัวงานที่ดําเนินการ 4. กําหนดหนาที่โดยยึดตําแหนงงาน 5. เนนปจเจกชน (Individual) 6. ทํางานแบบถาวร (จางแบบถาวร) 7. เนนการสั่งการใหลูกนองทําตาม 8. การตัดสินใจอยูที่ผูจัดการ 9. เนนกฎระเบียบที่องคการกําหนดเปนหลัก 10.แรงงานมาจากคนแบบเดียวกัน 11. ระยะเวลาทํางาน 5 – 9 ชั่วโมง/วัน ความสัมพันธในการทํางานเปนไปตามลําดับชั้นของ การบังคับบัญชา ทํางานเฉพาะในองคการและตามเวลาทีไดกําหนดไว 1. มีการปรับสภาพเคลื่อนไหวตามสภาพแวดลอม 2. มีระเบียบกฎเกณฑที่ยืดหยุน 3. เนนทักษะหรือความเชี่ยวชาญ 4. กําหนดหนาที่โดยยึดภาระงานที่ตองกระทํา 5. เนนทีมงาน (Work Team) 6. นิยมจางทํางานแบบชั่วคราว 7. เนนความสัมพันธมากกวาการแสดงอํานาจ 8. การตัดสินใจใหพนักงานมีสวนรวม 9. เนนลูกคาเปนจุดศูนยกลางที่องคการจะตอบสนอง 10. แรงงานมีความหลากหลายในชาติพันธุ 11. ระยะเวลาทํางานไมกําหนดตายตัว ความสัมพันธในการทํางานเปนแบบแนวราบ หรือแบบเครือขาย ทํางานที่ใด เมื่อไรก็ได โดยสถานที่ทํางานอาจอยูภายนอกบริษัท แตสามารถติดตอและตามตัวกันได โดยใชระบบสารสนเทศเขามา ชวย
  • 18. 18 ผูบริหารหรือผูจัดการ (Manager) "ผูบริหาร"หมายถึง สมาชิกในองคการซึ่งทําหนาที่รวบรวมและประสานงาน กับสมาชิกคนอื่น ๆ ในองคการ หรือหมายถึง บุคคลซึ่งมีหนาที่รับผิดชอบในการ ดําเนินงานใหบรรลุวัตถุประสงค ตามที่ไดกําหนดไว โดยอาศัยผูอื่นและทรัพยากรตาง ๆ ดังนั้นจึงอาจกลาวไดวา ผูบริหารเปนผูประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่ผูอื่นกระทํามากกวาที่ จะเปนผูลงมือกระทําเอง องคการธุรกิจโดยทั่วไปนิยมแบงผูบริหารออกเปน 3 ระดับ ดังนี้คือ 1. ผูบริหารระดับลาง (Lower หรือ First Manager หรือระดับ ปฏิบัติการ คือผูบริหารในระดับที่ใกลชิดกับเนื้องาน เชน งานดานเทคนิค งานดาน ธุรการตางๆ ฯลฯ และใกลชิดกับคนงานที่ทํางานในแตละวันมากที่สุด ซึ่งไดแก ผู ควบคุมงานหรือหัวหนางาน (Supervisor) และหัวหนาคนงาน (Foreman) เปนตน 2. ผูบริหารระดับกลาง (Middle Manager) หรือ ผูบริหารที่อยู ระหวางผูบริหารระดับลางกับผูบริหารระดับสูงขององคการ ซึ่งไดแก หัวหนาหนวย หัวหนาสวน หัวหนาแผนก และหัวหนาฝายตาง ๆ เชน ฝายบัญชี ฝายการเงิน ฝาย การตลาด ฝายขาย ฝายผลิต ฝายบริการลูกคา ฝายธุรการ ฝายทรัพยากรมนุษย ฝายวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ รวมทั้งผูจัดการสาขา เปนตน 3. ผูบริหารระดับสูง (Top Manager) คือ ผูบริหารที่อยูในระดับ สูงสุดขององคการในดานการดําเนินงานในแตละวัน โดยมีหนาที่รับผิดชอบในการ ตัดสินใจ กําหนดนโยบาย และกําหนดกลยุทธ ฯลฯ ซึ่งมีผลกระทบตอองคการโดยรวม บุคคลกลุมนี้ไดแก ประธานกรรมการหรือประธานฝายบริหาร รองประธานกรรมการ หรือรองประธานฝายบริหาร กรรมการผูจัดการ รองกรรมการผูจัดการ ผูจัดการใหญ หรือผูจัดการบริษัท เปนตน โดยทั่วไปผูบริหารระดับสูงนี้จะมีผูบริหารสูงสุดเพียง 1 คน เรียกวา "หัวหนาฝายบริหาร" (Chief Executive Officer : CEO) หรือ "หัวหนาฝายปฏิบัติการ" (Chief Operating Officer : COO) ถึงแมจะมีการแบงระดับชั้นของผูบริหารออกเปน 3 ระดับแลวก็ตาม แต ในทางปฏิบัตินั้นจะพบวาการปฏิบัติหนาที่ระหวางระดับตาง ๆ ก็ยังคงมีปญหาการ เหลื่อมล้ํากันและกันเกิดขึ้นอยูเสมอ เพราะไมสามารถที่จะแบงแยกกันไดอยางชัดเจน เชน ความสัมพันธระหวางระดับลางกับระดับกลาง หรือระหวางระดับกลางกับระดับสูง แตก็ไมควรใหมีการเหลื่อมล้ําระหวางระดับลางกับระดับสูงเปนอันขาด
  • 19. 19 การสื่อสารทางการบริหารและเทคโนโลยีสารสนเทศ การสื่อสารในองคการ (Organizational Communication) การสื่อสาร (Communication) หมายถึง การถายทอดและทําความ เขาใจความหมาย ซึ่งจากคําจํากัดความดังกลาวจะเนนที่การถายทอดความหมาย นั่น คือ เมื่อไมมีผูสงขอมูลขาวสารหรือความคิดออกไปยอมหมายถึงไมไดเกิดการสื่อสาร นั่นเอง การสื่อสารภายในองคการมี 2 ลักษณะ ไดแก 1. การสื่อสารอยางเปนทางการ (Formal Communication) หมายถึง การสื่อสารที่เปนไปตามสายการบังคับบัญชา หรือเปนสวนหนึ่งในงานตาม หนาที่ความรับผิดชอบ 2. การสื่อสารอยางไมเปนทางการ (Informal Communication) หมายถึง การสื่อสาร ภายในองคการที่ไมไดกําหนดตามลําดับชั้นการบังคับบัญชาของ องคการ ทิศทางการไหลของขาวสารมี 4 ลักษณะ ไดแก 1. การสื่อสารในทิศทางจากบนลงลาง(Downward Communication) เปนการสื่อสารจากผูบริหารลงไปยังพนักงาน เปนการแจงใหทราบสั่งการ ประสานงาน และ การประเมินผลพนักงาน เมื่อผูบริหารตั้งเปาหมายใหกับพนักงานก็จะใชการสื่อสารในทิศทาง จากบนลงลาง 2. การสื่อสารในทิศทางจากลางขึ้นบน(Upward Communication) เปนการสื่อสารจากพนักงานขึ้นไปยังผูบริหาร เปนสิ่งที่ทําใหผูบริหารไดทราบวา พนักงานรูสึกอยางไรเกี่ยวกับงาน เพื่อนรวมงาน และองคการโดยทั่วไป 3. การสื่อสารในทิศทางดานขาง (Leteral Communication) เปน การสื่อสารในระดับพนักงานดวยกันในองคการเดียวกัน ในปจจุบันซึ่งสภาพแวดลอม เปลี่ยนแปลงคอนขางรวดเร็วและสับสน การสื่อสารในดานขางเปนสิ่งจําเปนอยางมาก เพื่อใหเกิดการประหยัดเวลาและเอื้อตอการประสานงาน 4. การสื่อสารในทิศทางทแยง (Diagonal Communication) เปน การสื่อสารขามไปมาระหวางหนวยงานตาง ๆ และในระดับตาง ๆ ขององคการ
  • 20. 20 การจัดการทรัพยากรมนุษย การจัดบุคคลเขาทํางาน (Staffing) ซึ่งในปจจุบันนิยมเรียกวา "การบริหาร ทรัพยากรมนุษย"(Human Resource Management) คือ การจัดหาคนมาทํางานและ บํารุงรักษา หรือเปนการระบุความตองการในกําลังแรงงาน (Work Force) การจัดการ ดูแลคนที่ไดมา การสรรหา (Recruiting) การคัดเลือก การวางตําแหนงการสงเสริม การประเมินผล การวางแผนงานอาชีพ การจายเงินชดเชย และการฝกอบรมบุคคล กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย (HRM Process) กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษยเปนกิจกรรมที่สําคัญในการจัดคนเขา ทํางาน และดํารงไวซึ่งผลการปฏิบัติงานของพนักงานในระดับสูง โดยมี 8 ขั้นตอน คือ 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย (Human Resource Planning) System Approach คือ แนวความคิดแบบระบบหรือการวิเคราะหเชิง ระบบ เปนระบบการบริหารทรัพยากรมนุษยที่สรางความมั่นใจใหแกผูบริหารวา ไดมี บุคคลที่มีความสามารถในการทํางานใหประสบผลสําเร็จตามวัตถุประสงค โดยมีการ วางแผนดานกําลังคน การฝกอบรม การพัฒนา และเนนในดานแรงงานสัมพันธ 2. การสรรหาบุคคล(Recruitment)และการลดกําลังคน (Decruitment) การสรรหา (Recruitment) เปนกระบวนการของการกําหนดพื้นที่หลัก แหลง และดึงดูดความสามารถของบุคคลใหมาสมัครงาน เพราะผูบริหารจําเปนตองสรร หาบุคคลเขาทํางาน ซึ่งเปนหลักการแรกของการบริหารทรัพยากรมนุษย การลดกําลังคน (Decruitment) เปนเทคนิคในการลดอุปทานดาน แรงงานภายในองคการ ซึ่งประกอบดวย การไลออก ปลดออก ลดเวลาทํางาน เกษียณอายุกอนเวลา และการจัดแบงงานกันทํา โดยความจําเปนในการลดกําลังคนอาจ เกิดขึ้นไดทุกขณะเพื่อความเหมาะสมและตามความตองการของฝายบริหาร เชน ในขณะที่เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก ทําใหธุรกิจตองลดกําลังคนทํางานลง จึงจะ ทําใหธุรกิจผานพนวิกฤติไปได 3. การคัดเลือก (Selection) การคัดเลือก (Selection) เปนกระบวนการในการกลั่นกรองผูที่มาสมัคร งาน เพื่อใหไดคนที่เหมาะสมที่สุดมาทํางาน และยังเปนการวางแผนความตองการเพื่อ
  • 21. 21 การบริหารงานอยางละเอียดลึกซึ้ง เปนพื้นฐานที่สําคัญตามความตองการของตําแหนง งาน การคัดเลือกถือเปนการพยากรณหรือการคาดการณอยางหนึ่ง ซึ่งจะมีผล ออกมา 4 ประการ คือ การตัดสินใจที่ถูกตอง (การปฏิเสธคนไมดี), การยอมรับ ขอผิดพลาด, การปฏิเสธขอผิดพลาด และการตัดสินใจที่ถูกตอง (การยอมรับคนดี) ขอผิดพลาดในการคัดเลือกสามารถชักนําไปสูความเปนจริงตามหลักการ ของ Peter ซึ่งกลาววาผูบริหารมีแนวโนมที่จะไดรับการสงเสริมใหไปอยูในระดับ ความสามารถของตัว ถึงแมวาจะมีขอแนะนําจากหลาย ๆ ฝายวา การตัดสินใจคัดเลือก ควรขึ้นอยูกับผูบังคับบัญชาที่ตําแหนงนั้นสังกัดอยู ความเที่ยงตรง (Validity) หรือความถูกตอง ความสมบูรณ คือ การ พิสูจนวาความสัมพันธระหวางเครื่องมือในการคัดเลือกกับเกณฑที่ใชเขากันไดดี ความเชื่อถือได (Reliability) หรือความไวใจได คือ ความสามารถ ของเครื่องมือที่ใชคัดเลือกสามารถวัดสิ่งเดียวกันไดอยางสม่ําเสมอ กระบวนการคัดเลือกควรประกอบดวยการสัมภาษณ การทดสอบ และใช ศูนยการวัดผล เพื่อหลีกเลี่ยงความไมพอใจ และการหมุนเวียนเขาออกของคนงาน โดยกิจการควรใหความมั่นใจแกพนักงานใหมเพื่อใหรูจักและคุนเคยกับคนงานอื่น ๆ ใน องคการ เครื่องมือในการคัดเลือก (Selection Device) ไดแก แบบฟอรมใบ สมัคร, การทดสอบขอเขียน, การทดสอบความรูความสามารถโดยลงมือปฏิบัติจริง เชน การศึกษา ความรู ทักษะและความชํานาญ, การสัมภาษณ, การตรวจสอบ หลักฐานและขอมูลของผูสมัคร, การตรวจรางกาย 4. การปฐมนิเทศ (Orientation) การปฐมนิเทศจัดทําขึ้นมาเพื่อตองการแนะนําพนักงานใหมใหรูจักและ คุนเคยกับองคการ โดยมีวัตถุประสงคหลักคือ เปนการลดความกระวนกระวายใจใน เบื้องตน, ทําใหพนักงานใหมคุนเคยกับงาน สถานที่ทํางานและองคการ, ทําใหคนเกา กับคนใหมปรับตัวเขาหากัน 5. การฝกอบรม (Training) การฝกอบรม เปนกระบวนการในการพัฒนาคุณภาพของทรัพยากร ซึ่ง จะทําใหเขาเหลานั้นมีประสิทธิภาพในการทํางานเพิ่มขึ้น และความสามารถของ พนักงานที่ทํางานในองคการจนบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายนั้น พนักงานควรไดรับการ
  • 22. 22 แนวขอสอบบุคลากร 73.ปญหาการทํางานต่ํากวาระดับการศึกษา (Underemployment) ก. การพัฒนาที่เนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ข. การพัฒนาที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน ตอบ ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน การพัฒนาที่เนนการสรางงาน มีแนวคิดหลักที่สําคัญดังนี้ 1. การโยกยายแรงงานสวนเกินจากภาคเกษตรกรรมมาทํางานในภาคอุตสาหกรรมอาจ กอใหเกิดการวางงานขึ้นได 2. จํานวนแรงงานในชนบทที่เขามาทํางานในเมืองมีจํานวนมากกวาจํานวนงานที่มีอยูใน เมือง จึงทําใหเกิดแรงงานสวนเกินในเมือง 3. ปญหาการวางงานโดยเปดเผยไมใชปญหาที่รุนแรง แตปญหาที่นาเปนหวงก็คือ การทํางานต่ํากวาระดับการศึกษา 74.เศรษฐกิจระดับเมืองกับเศรษฐกิจระดับชนบท ก. การพัฒนาที่เนนการกระจายผลประโยชนจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม ข. การพัฒนาที่เนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ง. การพัฒนาที่เนนการสรางงาน ตอบ ค. การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ การพัฒนาที่เนนความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจมีแนวคิดหลักที่สําคัญดังนี้ 1. เนนเรื่องการสะสมทุนเปนอยางมาก โดยชี้ใหเห็นวายิ่งมีการออมและการสะสมทุน มากขึ้นก็ยิ่งมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากขึ้น 2. ตองคํานึงถึงปจจัยภายนอก เชนทุนจากตางประเทศ สต็อกเงินตราตางประเทศ ทักษะความชํานาญงานดานการจัดการตาง ๆ ที่มาจากตางประเทศ เปนตน 3. ใหความสนใจเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจ 2 ระดับ คือ เศรษฐกิจระดับเมือง และ เศรษฐกิจระดับชนบท
  • 23. 23 93.คุณภาพชีวิตในการทํางานเกี่ยวของกับเรื่องใด ก. การเคารพและยอมรับศักดิ์ศรีความเปนมนุษย ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน ค. การสรางความเจริญกาวหนาใหผูปฏิบัติงาน ง. การสรางสรรคงานเพื่อใหผูปฏิบัติไดใชความคิดและทักษะ ตอบ ข. การสรางความพึงพอใจใหผูปฏิบัติงาน คุณภาพชีวิตในการทํางาน มี 2 ลักษณะคือ การพิจารณาปฏิกิริยาของผูปฏิบัติงาน วามีความพึงพอใจมากนอยเพียงใด ลักษณะที่สองเปนการพิจารณาจากแนวปฏิบัติหรือ วิธีการเทคนิคในการพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงค 94.ขั้นตอนตอไปนี้ขั้นตอนใดตองทําเปนอันดับแรก ก. การเกลี่ยอัตรากําลัง ข. การจัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ ค. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบัติอยูหรือไม ง. การเสนอคําขอพรอมเหตุผลที่ไมยุบเลิกอัตราตําแหนงที่เกษียณอายุ ตอบ ข. การจัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ มีขั้นตอนในการทํางานดังตอไปนี้ 1. จัดทําบัญชีรายชื่อตําแหนงที่เกษียณอายุ 2. การทบทวนภารกิจวาจําเปนตองปฏิบัติอยูหรือไม 3. การนําเสนอคําขอรองเหตุที่ไมยุบเลิกอัตราตําแหนงเกษียณ 4. การเกลี่ยอัตรากําลัง 5. การจัดการระบบขอมูลสนเทศดานกําลังเพื่อใชในการตรวจสอบอัตรากําลัง 95.หนวยงานใดตอไปนี้ไมเกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ก.สํานักงานตรวจเงินแผนดิน ข. คณะกรรมการกําหนดเงินเดือนแหงชาติ ค. สํานักงบประมาณ ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก ตอบ ง.ไมมีคําตอบขอใดถูก หนวยงานที่เกี่ยวของกับการบริหารงานบุคคลภาครัฐ ไดแก 1. สํานักงานคณะกรรมการขาราชการพลเรือน (ก.พ.) 2. กระทรวง ทบวง กรม
  • 24. 24 3. จังหวัด 4. องคกรปกครองสวนทองถิ่น 5. ฝายบริหารงานบุคคลของหนวยงาน 6. หนวยงานกําหนดและกํากับนโยบายหรือแผนฯ ระดับชาติ 7. อื่น ๆ เชน ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ (NECTEC) เปนตน 96.คําวา “Forced Labor" หมายความวาอยางไร ก. แรงงานเด็ก ข. แรงงานวัยรุน ค. การดูแลไมใหมีแรงงานเด็กในหนวยงาน ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก ตอบ ง. ไมมีคําตอบขอใดถูก Forced Labor เปนการกําหนดคาตอบแทนที่เปนตัวเงิน 97.คาตอบแทนประเภทใดถือปฏิบัติเหมือนเงินเดือน ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ ตอบ ข. เงินประจําตําแหนง คาตอบแทนของขาราชการมีทั้งเปนตัวเงิน และเปนประโยชนเกื้อกูลกัน คาตอบแทนที่เปนตัวเงิน ไดแก 1. บําเหน็จบํานาญ 2. เงินประจําตําแหนง 3. เงินชวยเหลือบุตรเปนตน คาตอบแทนที่เปนผลประโยชนเกื้อกูล 1. การไดรับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ 2. การนับอายุราชการเปนทวีคูณ 3. สิทธิในการลาของราชการ 98.การนับอายุราชการเปนทวีคูณเกี่ยวของกับขอใด ก. บําเหน็จบํานาญ ข. เงินประจําตําแหนง ค. เงินชวยเหลือการศึกษาของบุตร ง. ถูกทุกขอ ตอบ ก. บําเหน็จบํานาญ
  • 25. 25 สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740 แจงการโอนเงิน พรอมชื่อ และอีเมลลที่ LINE ID : sheetram โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,085-9679080, 085-9993722,085-9993740