SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 22
Descargar para leer sin conexión
~1~

–
~2~

ขอบเขตเนื้อหา
ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
ประวัติความเปนมา
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
อํานาจหนาที่
วิสัยทัศนและพันธกิจ
ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues)
ความรูเกี่ยวกับพัฒนาชุมชน
บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม
กระบวนการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาแบบมีสวนรวม
การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาของภาครัฐรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคม
แนวทางสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน
การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
กระบวนการจัดทําแผนชุมชน
การประเมินคุณภาพแผนชุมชน
กรมการพัฒนาชุมชนกับการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน
กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2555-2559
วิสัยทัศน
กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร
ความหมายของการพัฒนาชุมชน
ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน
จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)
ขอสอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)

5
5
5
6
7
8
9
10
12
14
15
18
22
27
29
31
40
43
44
45
59
60
62
63
112
121
~3~

กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน
พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
130
แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540
145
พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.2527
153
แนวขอสอบ พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.2527
167
การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
170
แนวขอสอบ การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
182
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538
190
แนวขอสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 196
กฎหมายเกี่ยวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม
201
สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม
209
สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552
215
สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 228
ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552
สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่ม
235
เติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551
สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง
สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549
242
สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธการบริหารกิจการ
ี
่
245
บานเมืองทีดี พ.ศ. 2546
สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552
251
และแกไขเพิ่มเติม
~4~

ประวัตความเปนมา
ิ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น
เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน
การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา
องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล
การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง
และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้

1.
2.
3.

4.
5.

6.
7.
8.

อํานาจหนาที่
ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ
ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น
ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ
องคการปกครองสวนทองถิ่น
กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง
สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น
สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ
พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน
ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ
ปกครองสวนทองถิ่น
สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร
้
่
ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน
สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น
~5~

9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น
10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม
่
11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ
่
คณะรัฐมนตรีมอบหมาย
ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน
ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ
ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน
ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ
องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว
และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม
ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น
กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน
การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ
ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา

1.
2.
3.
4.
5.

วิสัยทัศนและพันธกิจ
วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision)
“ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ”
พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission)
พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง
สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด
และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย
สงเสริมระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีด
ความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ
พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและ
สามารถพึ่งตนเองได
พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับ
ดูแล อปท.
~6~

ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน
นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน

กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานที่ทํางานดานการพัฒนาชุมชนรวมกับประชาชน
ตลอดระยะเวลา48 ป โดยมีความมุงมั่นที่จะเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหาร
จัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืนและมีเปาหมายสูชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได
คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข
บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการ
กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ใหกรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจ
เกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนา
เศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนใหมีการจัดทําและใช
ประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการ
ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยาง
ยั่งยืนโดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้
1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติ
เพื่อใหหนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบ
แนวทางในการดําเนินงานเพื่อเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน
2. จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับ
ประเมินความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน
“...ขอบใจมาก ที่ตองเหน็ดเหนื่อยทํางานในหมูบานชนบท และตองประสบปญหา
ตางๆมากมาย ขอใหชวยกันพัฒนาคนใหมีความฉลาด สามารถชวยตนเองได... ในการ
แนะนําสงเสริมอาชีพ หรือใหคําแนะนําเรื่องตางๆ ตองทําใหบอยๆ ไมใชพูดหรือทําหนเดียว
... ความมั่นคงของประชาชนในชนบทเปนสวนหนึ่งที่จะสรางชาติ และปองกันประเทศเปน
อยางดี...”
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ
พระราชทานแกพัฒนากร ในโอกาสเสด็จไปทรงกระทําพิธีเปดเขื่อนและการพลังงาน
ไฟฟาแมน้ําพุง จ.สกลนครเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2508
~7~

3. พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การ
อาชีพ การออมและการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถของ
ประชาชน ชุมชน ผูนําชุมชนองคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชน
4. สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและ
การใหบริการขอมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอยางมี
ประสิทธิภาพ
5. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และสรางองคความรูเพื่อใชในงานพัฒนาชุมชน และ
การจัดทํายุทธศาสตรชุมชน
6. ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชน
และเครือขายองคการชุมชนใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้ง
ใหความรวมมือทางวิชาการดานการพัฒนาชุมชนแกหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ
7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม หรือตามที่
กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย
การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม
แนวคิดการพัฒนาชุมชน
ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบดวย 2 คํา คือ การพัฒนา
และชุมชน
การพัฒนา หมายถึง ทําใหเจริญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุงใหตางจาก
เดิม
ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชน
และประชาชนที่อาศัยอยูในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐาน
ที่สุด คือหมูบาน หรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน
ชุมชนลุมน้ํา ชุมชนวัฒนธรรม เปนตน
การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปน
กระบวนการใหการศึกษา (educational process) แกประชาชนเพื่อใหสามารถพึ่งตนเองได
(self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดําเนินการ
แกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสวนรวม
~8~

การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามที่เกิดจาก
ความคิดริเริ่มของประชาชน จากปญหา/ความตองการของประชาชน โดยการชวยกันคิด
รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน และรวมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแกปญหาและ
สนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของประชาชนสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง โดยมี
พัฒนากรเปนผูเอื้ออํานวยใหประชาชนเปนผูริเริ่มหรือเปนเจาของโครงการโดยมีตัวอยาง
โครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้
1. การพัฒนาผูนําชุมชนและอาสาสมัคร
วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีบทบาทและ
สวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุงเนนใหเกิดความ
ตอเนื่องในการรวมกลุม การพัฒนาศักยภาพ และการดําเนินกิจกรรมใหเกิดผลงานอยางเปน
รูปธรรม
2. พัฒนากลุม/องคกร/เครือขาย
วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะ
กลุม/องคกรชุมชน เชน คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมอาชีพ
ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนใหกลุม/องคกรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือขายตางๆ เชน
สมาพันธองคการพัฒนาชุมชนแหงประเทศไทยสมาคมผูนําอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคม
ผูนําสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําอาชีพกาวหนา (สิงหทอง) 4 ภาค ศูนยประสานงาน
องคการชุมชน (ศอช.)
3. การพัฒนาแผนชุมชน
วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชน ใหคนในชุมชนชวยกันคิด
รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน รวมกันดําเนินการเพื่อแกปญหาและสนองความตองการ
ของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําใหชุมชนไดทําความรูจักและประเมินศักยภาพของชุมชน
และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดและสรางชุมชนให
เขมแข็งได
4. สงเสริมการออมทรัพยเพื่อการผลิต
วัตถุประสงค เพื่อกระตุนและสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเปน
ทุนของชุมชน สนับสนุนการพัฒนาดานการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนา
อาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเปนฐานไปสูสถาบันนิติบุคคล
~9~

การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น
ความสําคัญ กฎหมายที่เกี่ยวของ
รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
การกระจายอํานาจสูทองถิ่นถือวาเปนวัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังปรากฏตาม มาตรา 78 , 80 และ 281-290 โดยมี
แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ดังนี้
1. รัฐตองกระจายอํานาจให อปท. พึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง
สงเสริมให อปท. มีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
2. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพื่อให อปท. ฯลฯ จัดและมีสวนรวมใน
การจั ด การศึก ษาเพื่ อ พั ฒ นามาตรฐานคุณ ภาพการศึ ก ษาให เ ท า เที ย มและสอดคล อ งกั บ
แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ
พระราชบั ญ ญั ติ กํ า หนดแผนและขั้ น ตอนการกระจายอํ า นาจให แ ก อ งค ก ร
ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 สาระสําคัญ ไดแก
1. การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐกับ
องคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง
2. การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดย
คํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวน
ทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญ
3. การจัดใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งประกอบดวย ผูแทนของหนวยงานราชการ
ที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามที่
กฎหมายบัญญัติโดยมีจํานวนเทากัน ทําหนาที่ตามขอ 1 และขอ 2 ขางตน
แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2543
แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนแผนที่กําหนดกรอบ
แนวคิดเปาหมาย และแนวทางการกระจายอํานาจ มีสาระสําคัญ ดังนี้
วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น
ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมาย
วาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะ
เปนชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
~ 10 ~

แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
ในยุคโลกาภิวัฒน ปญหาตางๆ มีความสลับซับซอน และเปลี่ยนแปลงรวดเร็วยิ่งขึ้น
การแกปญหาจําเปนตองมีความรอบคอบ โดยคํานึงถึงผลกระทบอยางรอบดาน ตองมีความ
รอบรู และตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากทุกฝาย จะตองสรางการเรียนรูรวมกัน ตั้งแต
กระบวนการรวมคิด รวมทํา รวมสรุปบทเรียน จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อทุกคนยอมรับซึ่งกันและ
กัน การรวมตัวของประชาชนที่หลากหลายทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิด องคความรู
และตอเชื่อม ประสบการณอยางกวางขวาง เปนการเสริมพลังซึ่งกันและกัน สรางโอกาสให
ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังตองสรางการบริหาร
จัดการรวมกัน เพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนฐานราก ใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิ หนาที่ และ
บทบาทในการจัดการทรัพยากรสาธารณะมากขึ้น ทําใหทองถิ่นเขมแข็ง เกิดการประสานงาน
งบประมาณระหวางองคกรตางๆ ทั้งในแนวราบกับทองถิ่น/หนวยงานอื่นๆ และในแนวดิ่งกับ
สวนกลาง
กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชน
โดยใชกระบวนการแผนชุมชนเปนเครื่องมือในการสงเสริมการเรียนรูของคนในชุมชน การ
แกไขปญหาของชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชน แผนชุมชนไดรับการ
นําไปใชประโยชนจากสวนทองถิ่น ตองเปนแผนชุมชนที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแกไข
ปญหาของชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ เจาหนาที่พัฒนา-ชุมชน ภาคีการพัฒนา ผูนําชุมชน
และผูอาศัยในชุมชนจึงตองมีความรูความเขาใจกระบวนการแผนชุมชนอยางชัดเจน
แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน
ชุมชน หมายความถึง กลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่ง
อันเดียวกัน จะโดยอาศัยหลักผูกพันในทางเชื้อชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกันซึ่งทําใหบุคคล
มีความรูสึกเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น หรืออาศัยหลักความผูกพันหรือผลประโยชนทางเชื้อ
ชาติ ศาสนา และวั ฒ นธรรมรว มกั น โดยอาศั ย อยู ใ นบริ เ วณพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร เ ดี ย วกั น
ตลอดจนการมีผลประโยชนในทางการบริการสังคมรวมกัน
แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชน
การใหชาวบานในหมูบานและชุมชน จัดทําแผนชุมชนเพื่อพัฒนาหมูบานและชุมชน
ของตนเองมีแนวคิดหลักการและความเชื่อในหลาย ๆ ดาน เชน
1. แนวคิดจากปรัชญาพัฒนาชุมชน ซึ่งเปนสากลที่บอกวาชาวบานมีศักยภาพ
สามารถพัฒนาตนเองไดถาใหโอกาส และการพัฒนาตองเริ่มตนที่ชาวบาน
~ 11 ~

2. แนวคิดจากหลักการพัฒนาชุมชน คือ การมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การ
ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และการรับผิดชอบตอชุมชนของตนเอง
3. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการใหชุมชนไดมีกระบวนการใน
การจัดการชุมชนมีการเรียนรูรวมกันในกระบวนการชุมชน
4. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการสรางพลังชุมชน ใชพลังชุมชน
ในการพัฒนาชุมชน
5. แนวคิดที่วาไมมีใครรูปญหาชุมชนเทาคนในชุมชน ดังนั้น การแกปญหา
ชุมชนจึงเริ่มจากชุมชน การใหการสนับสนุนของภาครัฐจะตองเปนลักษณะ Bottom-up ไมใช
Top Down
ความหมายของแผนชุมชน
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดใหความหมาย
ของแผนชุ ม ชนว า หมายถึ ง การกํา หนดอนาคตและกิ จ กรรมการพั ฒ นาของชุ ม ชน โดย
เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา
ชุมชนหรือทองถิ่นของตนเอง ใหเปนไปตามที่ตองการและสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญ
อยู คนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนด แนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนารวมกัน ยึด
หลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก คํานึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปญญา วิถีชีวิต
วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเป นหลัก จึงกล าวไดว า แผนชุมชนเปนของชุมชน
ดําเนินการโดยชุมชนและเพื่อประโยชนของชุมชนเอง ซึ่งแตกตางจากแผนที่ภาครัฐจัดทําขึ้น
เพื่อการจัดสรรงบประมาณเปนหลัก
ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ไดนําเสนอความหมายของแผนชุมชนวา
“เป น กระบวนการวิ เ คราะห วิ นิ จ ฉั ย ป ญ หา ว า คื อ อะไร และจะทํ า อะไร คื อ การวิ เ คราะห
ทางเลือก เปนกระบวนการทางปญญาที่ทรงพลัง เมื่อวิเคราะหแลวนําไปสูการเปลี่ยนแปลง
ซึ่งจะนําไปสูการแกปญหา กระบวนการจัดทําแผนชุมชนเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง
(Interactive Learning interaction)”
ดร.ขนิฏฐา กาญจนรังษีนนท ไดอธิบายความหมายของแผนชุมชนวา “เปนสวน
หนึ่งของระบบการบริหารจัดการชุมชน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของความรวมมือและการ
เรี ย นรู ร ว มกั น ของคนในชุ ม ชน เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาและพั ฒ นาชุ ม ชนของตนและชุม ชน ที่
สามารถบริหารจัดการกับการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนได ชุมชนจะมีการดําเนินการ
ใน 6 เรื่อง คือ มีระบบขอมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน มีการนํา
แผนไปปฏิบัติ มีทุนของชุมชน และมีองคกรเขมแข็งอยางนอย 1 องคกร
~ 12 ~

ความหมายของการพัฒนาชุมชน
สุวิทย ยิ่งวรพันธ (2509) ไดใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่
มุงสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่ม
ดําเนินงานเอง และสรุปความหมายของการ “พัฒนาชุมชน” ไวดังนี้ คือ
1. การปรับปรุงสงเสริมใหชุมชนหนึ่งดีขึ้นหรือมีวิวัฒนาการดีขึ้น
2. การสงเสริมใหชุมชนนั้น ๆ มีวิวัฒนาการดีขึ้น คือ เจริญทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
3. การพัฒนาชุมชนนั้น จะตองพัฒนาทางดานวัตถุและพัฒนาดานจิตใจ
3.1 การพัฒนาดานวัตถุ คือ การสรางความเจริญใหแกชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกิดมี
หรือเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่เห็นโดยแจงชัด เชน การสงเสริมดานการผลิตผล การสงเสริมระบบ
ขนสง การคมนาคม การชลประทาน และดานอื่น ๆ
3.2 การพัฒนาดานจิตใจ คือ การสรางความเจริญ โดยมุงจะใหการศึกษาอบรม
ประชาชน ซึ่งรวมทั้งการใหการศึกษาตามโรงเรียน มหาวิทยาลัย ตามโครงการของ
กระทรวงศึกษาธิการและการศึกษานอกระบบโรงเรียน
4. การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่สงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น
ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่มดําเนินงานเอง
Arthur Dunham กลาววา การพัฒนาชุมชน คือ การรวมกําลังดําเนินการปรับปรุง
สภาพความเปนอยูของชุมชนใหมีความเปนปกแผนและดําเนินงานไปในแนวทางที่ตนเอง
ตองการ โดยอาศัยความรวมกําลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการชวยเหลือตนเองและ
รวมมือกันดําเนินงาน และตองไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทางดานวิชาการจากหนวยงาน
ภายนอก
องคการสหประชาชาติ (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการ
ซึ่งประชาชนทั้งหลายไดพ ยายามรวบรวมกั นทํ าเองและมาร วมกั บ เจ าหน าที่ ของรั ฐบาล
เพื่อที่จะทําใหสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนนั้น ๆ เจริญดีขึ้นและผสมผสาน
ชุมชนเหลานั้นเขาเปนชีวิตของชาติและเพื่อที่จะทําใหประชาชนอุทิศกาย ใจ ความคิด
ความรู และทรัพย เพื่อความเจริญเติบโตของชาติอยางเต็มที่
องคการบริหารวิเทศกิจของสหรัฐอเมริกา (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนา
ชุมชน เปนขบวนการแหงการกระทําทางสังคม ซึ่งประชาชนในชุมชนนั้นรวมกันจัดการ
วางแผนและลงมือกระทําการเอง พิจารณาใหรูชัดวา กลุมหรือเอกชนมีความตองการหรือ
ขาดแคลนอะไร มีปญหาอะไรซึ่งเปนปญหารวมกัน แลวจึงจัดทําแผนเพื่อขจัดความขาด
~ 13 ~

แคลนหรือบําบัดความตองการ หรือแกปญหาตางๆ โดยที่พยายามใชทรัพยากรที่มีอยูใน
ชุมชนนั้น ๆ ใหมากที่สุดและถาจําเปน อาจจะขอความชวยเหลือจากภายนอก คือ รัฐ หรือ
องคกรอื่น เพียงเทาที่จําเปน
สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนการ
เปลี่ยนแปลงที่มีการกําหนดทิศทาง (Directed Change) ซึ่งทิศทางที่กําหนดขึ้น ยอมตอง
เปนผลดีสําหรับกลุมชนหรือชุมชน การพัฒนาจึงอาจเรียกไดวา เปนการเปลี่ยนแปลงที่พึง
ปรารถนา (Desired Change) หรือการเปลี่ยนแปลงที่ถูกพอกพูนดวยคานิยม (Value
Loaded Change) ตามระบบคานิยมของชุมชนซึ่งเปนเครื่องกําหนดความมีคุณคาหรือไร
คุณคาของสิ่งตาง ๆ
ไพฑูรย เครือแกว (2518) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมที่จะทําใหชีวิตทุกดานของชาวชนบทมีการเจริญกาวหนาขึ้นพรอม ๆ กัน
สาย หุตเจริญ (2512) ใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน เปนวิธีการสรางชุมชนให
เจริญโดยอาศัยกําลังความสามารถของประชาชนและความชวยเหลือของรับบาลรวมกัน
พัฒน บุณยรัตพันธ (2515) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการอยางหนึ่ง
ที่รัฐบาลนํามาใช เพื่อเปนการกระตุนเตือน ยั่วยุ และสงเสริมประชาชนในชนบท ใหเกิด
ความคิดริเริ่มขึ้นและเสริมสรางทองถิ่นใหกาวหนา ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และการดูแลตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
ปรีชา กลิ่นรัตน กลาววา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการที่มุงสงเสริมความ
เปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น โดยความรวมมืออยางจริงจังของประชาชน และควรเปน
ความคิดริเริ่มของประชาชนเองดวย แตถาประชาชนไมรูจักริเริ่ม ก็ใหใชเทคนิคกระตุนเตือน
ใหเกิดความคิดริเริ่ม ทั้งนี้ เพื่อใหกระบวนการนี้ไดรับการตอบสนองจากประชาชนดวยการ
กระตือรือรนอยางจริงจัง
ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน
ในปจจุบันงานดานการพัฒนาชุมชนมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศมาก เพราะ
สภาพปญหาของการพัฒนาชุมชนนั้นเปนวงจรที่สงผลกระทบตอกันเปนลูกโซ จากความไมรู
สูความจนและการเจ็บปวย ซึ่งเปนอุปสรรคในการพัฒนา เปนวัฏจักรแหงความชั่วราย ดังนั้น
ทุกหนวยงานทุกองคกร ตองชวยกันขจัดปญหาเหลานี้ใหหมดไป
ความยากจนในชนบท เปนปญหาหลักที่ทุกหนวยงานพยายามหาทางแกไข โดยการ
เพิ่มพูนรายไดของประชาชนใหสูงขึ้น (Increasing Income) แตในการพัฒนาที่ผานมา พบวา
~ 14 ~

ยิ่งมีการพัฒนายิ่งทําใหประชาชนยากจนลง กลาวคือ จากการมุงพัฒนาประเทศเพื่อให
ทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใน
ขณะเดียวกัน ภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศ ไมได
รับการดูแลอยางทั่วถึง อันเปนเหตุใหเกิดความแตกตางทางฐานะของบุคคลสองกลุม กลุม
หนึ่งมีจํานวนไมมาก มีฐานะร่ํารวย มีอํานาจทางเศรษฐกิจ กับอีกกลุมหนึ่งเปนคนสวนมาก
อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ซึ่งความไมเปนธรรมในการกระจายรายได กําลังกลายเปน
ปญหาที่สําคัญ ความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทมีมากขึ้น ประชาชนในภาคอีสานมีฐานะ
ทางเศรษฐกิจต่ําลงเมื่อเปรียบเทียบกับประชาชนในภาคอื่น ๆ ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรสราง
ขึ้นมาเพื่อวัดการกระจายรายไดของประเทศ วามีความเทาเทียมกันมากนอยเพียงใด คือ
Gini-coefficient (G-C) คาดัชนี G-C 7 จะมีคาระหวาง 0 ถึง 1 ถา G-C มีคาเขาใกล 1 มา
เทาใด แสดงวา การกระจายรายไดจะเลวลง ในทางตรงขามถา G-C จะมีคาเขาใกล 0 แสดง
วา การกระจายรายไดมีความเทาเทียมกันมากขึ้น ในป 2535 คา G-C = 0.536 ซึ่งนับวามี
คาสูงสุดในบรรดาคา G-C ที่ไดมีการวัดขึ้นมาในอดีต คือ ป 2518 คา G-C = 0.451 ป 2524
คา G-C = 0.473 ป 2533 คา G-C = 0.504 จากการกระจายรายไดที่มีลักษณะตกต่ําลงเรื่อย
ๆ เปนสิ่งที่ยืนยันความเชื่อที่วา แมวาประเทสไทยจะประสบความสําเร็จอยางสูงทางดานการ
เจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แตความเจริญดังกลาวไมไดกระจายไปสู
ประชาชนโดยทั่วหนากัน แตหากกระจุกตัวอยูกับกลุมคนบางกลุมเทานั้น
จากการวิเคราะหปญหาความเลื่อมล้ําทางสังคมและความยากจน ความยากจนเกิด
จากปจจัยตาง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกัน มีลักษณะเปนลูกโซ
วัฏจักรแหงความยากจน
การมีทุนนอย 
(Capital Deficiency) 

การลงทุนต่ํา 

การมีเงินออมต่ํา 

ผลิตภาพต่ํา 

(Low Investment) 

(Low Savings)

(Low Productivity) 

การมีอุปสงคต่ํา 

การมีรายไดที่แทจริงต่ํา 

(Low Demand) 

(Low Real Income) 
~ 15 ~

ดังนั้น การพัฒนาชุมชน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยลดชองวางทางสังคมและ
ขจัดปญหาความยากจนในชุมชนใหลดนอยลง ซึ่งจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย
ทั้งภาครัฐบาล เอกชน องคกรชุมชน นักวิชาการ และองคกรธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ภาครัฐบาล ซึ่งเปนองคกรหลักในการพัฒนา ตองใหความสําคัญตอการพัฒนา โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง การพัฒนาโดยการบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งเปน
แนวทางและมีมาตรฐานในการปฏิบัติเปนขั้นตอนและมีความตอเนื่อง ตามโครงการที่กําหนด
เพื่อขจัดปญหาความยากจนใหหมดสิ้นไป
จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน
จุดมุงหมายในการพัฒนาที่นักพัฒนาจะตองระลึกอยูเสมอ เพื่อชวยใหการดําเนินงาน
ไปสูจุดหมาย ก็คือ
1. เพื่อพัฒนาคนใหมีประสิทธิภาพ
2. สงเสริมใหประชาชนรวมมือกันในการพัฒนาหมูบานของตนเอง
3. สงเสริมใหประชาชนรูสึกภาคภูมิใจที่จะอาศัยและประกอบอาชีพในหมูบานของ
ตนอยางสงบสุข
4. สงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชนใหดีขึ้น
5. สงเสริมความสามารถของแตละบุคคล ใหแตละคนนําเอาความสามารถในตัวเอง
ออกมาใชใหเปนประโยชน
6. สงเสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย
7. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมในสังคมใหดีขึ้น
8. เพื่อสงเสริมใหประชาชนสามารถแกปญหาของตนเองและชุมชนได
9. เพื่อกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน ประเทศชาติ
10. เพื่อใหการศึกษาแกประชาชนในทุกรูปแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง
และครอบครัวใหดขึ้น
ี
จากจุดหมายดังกลาวแลว ถานักพัฒนาไดดําเนินการใหบรรลุตามความมุงหมายที่ได
วางไว นับวาการพัฒนาไดเกิดขึ้นแลวในชุมชน (วรรณี เลาสุวรรณ, 2526)
แนวคิดที่เกี่ยวกับชุมชน
“ชุมชน” มีนัยและความหมายที่เปนไปตามพลวัตหรือกระแสของสังคม แตถา
พิจารณาโดยละเอียด จะพบวา นักวิชาการ นักพัฒนา หรือผูคนที่ใหความหมายของคําวา
~ 16 ~

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11
(พ.ศ. 2555–2559)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิด
ภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนาประเทศสู
ความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปน
ธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจากแนวคิด
ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ
“คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และ
ขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัตที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหาร
ิ
ประเทศเปนไปบนทางสายกลาง
การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้
1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม
1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต
2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนาเศรษฐกิจ
ภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก
2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน
2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ให
ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิ
ปญญา
2.3 การสรางความเชือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ
่
สังคมใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือ
ระหวางประเทศในภูมิภาคตางๆ
~ 17 ~

3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ
สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยังตอง
เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบทั้งที่
เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ ดังนี้
การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก
1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว
2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาคเอเชีย
ทวีความสําคัญเพิ่มขึ้น การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯ

ฉบับที่ 11 ไดแก การรวมกลุมในภูมภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่
ิ
ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558
3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง
4) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน
5) ความมันคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหาสําคัญ
่
6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
รวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น
7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก
การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ
1) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ
2) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุจากการมี
โครงสรางประชากรทีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนา
่
ศักยภาพทุกชวงวัยแตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก
3) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
4) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ
่
การประเมินความเสียง ประเทศไทยจะเผชิญกับความเสียงที่ตองเตรียมการสราง
่
ภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6 ประการ ดังนี้
1. การบริหารภาครัฐออนแอ
~ 18 ~

แนวขอสอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ
1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบันคือ
ก. ฉบับที่ 9
ข. ฉบับที่ 10
ค. ฉบับที่ 11
ง. ฉบับที่ 12
ตอบ ค. ฉบับที่ 11
2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบันใชใน พ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2553 -2557
ข. พ.ศ. 2554-2558
ค. พ.ศ. 2555-2559
ง. พ.ศ. 2556-2560
ตอบ ค. พ.ศ. 2555-2559
3. เหตุผลของการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช คือ
ก. เพื่อใหเกิดภูมิคุมกัน
ข. บริหารจัดการความเสี่ยง
ค. พัฒนาประเทศสูความสมดุล
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อ
มุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนา
ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอ
ภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง”
4. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดตอเนื่องจากแผนพัฒนาฉบับใด
ก. ฉบับที่ 8
ข. ฉบับที่ 9
ค. ฉบับที่ 10
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจาก
แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ
~ 19 ~

และขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและ
บริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง
5. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยึดหลักใด
ก. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ค. สรางสมดุลการพัฒนา
ตอบ ง. ถูกทุกขอ

ข. คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา
ง. ถูกทุกขอ

6. ภูมิคุมกันในการพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 คือ
ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
ข. ปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม
ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้
ุ
1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม
3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
7. การสรางความเปนธรรมในสังคม เปนการสรางภูมิคุมกันดานใด
ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
ข. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม
ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
ง. การเตรียมพื้นฐานสูการพัฒนา
ตอบ ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
~ 20 ~

แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ

พ.ศ.2540
5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล
ก. ลายพิมพนิ้วมือ
ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน

ข. ประวัติอาชญากรรม
ง. ถูกทุกขอ

6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว
ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย
ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย
7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ
ก. นายกรัฐมนตรี
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวง
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา
ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน
ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน
ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ
ง. ถูกทุกขอ
9. ขอมูลขาวสารของราชการที่จะเปดเผยมิได คือขอใด
ก. ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย
ข. ขอมูลขาวสารที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ
ค. ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะทําใหกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ
ง. ถูกทุกขอ
~ 21 ~

10. คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยผูใดเปนประธาน
ก. รัฐมนตรี
ข. ผูวาราชการจังหวัด
ค. ปลัดกระทรวงการคลัง
ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย
11. ผูใดไมใชคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ
ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม
ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย
ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร
ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ
12. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมี
จํานวนกี่คน
ก. หาคน
ข. เจ็ดคน
ค. เกาคน
ง. สิบเอ็ดคน
13. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร คณะหนึ่งประกอบดวยใครบาง
ก. บุคคลไมนอยกวาหนึ่งคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ข. บุคคลไมนอยกวาสองคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ค. บุคคลไมนอยกวาสามคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
ง. บุคคลไมนอยกวาสี่คน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ
14.ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการที่สั่งใหบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ
เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ง. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
15. ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอจํากัดหรือเงื่อนไขที่เจาหนาที่ของรัฐกําหนดโดยทําการ
เปดเผยขอมูลขาวสารที่ปกปด ตองระวางโทษอยางไร
ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ค. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
~ 22 ~

สั่งซื้อไดที่
www.SheetRam.com
โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422,
085-9679080,085-9993722,085-9993740

Más contenido relacionado

Más de บ.ชีทราม จก.

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...บ.ชีทราม จก.
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557บ.ชีทราม จก.
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 บ.ชีทราม จก.
 

Más de บ.ชีทราม จก. (8)

สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
สำนัก ปปช เปิดรับสมัคร ปี 2557
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
กรมบังคับคดี เปิดสอบ ปี 2557
 
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
สำนักงาน กพ ประกาศ เปิดสอบ ภาค ก ควาามรู้ความสามารถทั่วไป ปี 2557
 
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
คู่มือสอบ แนวข้อสอบ ภาค ก กพ ปี 2557 ปริญาตรี E-BOOK ข้อสอบความรู้ความสามารถท...
 
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวชข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
ข้อสอบ กฟผ ปวส ปวช
 
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
กฟผ เปิดรับสมัครพนักงาน ปี 2557
 
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57 E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
E-BOOK เจาะข้อสอบกว่า 1,200 ข้อ นายทหารสัญญาบัตร กองทัพอากาศ ปี 57
 

E-BOOK คู่มือเตรียมสอบนักพัฒนาชุมชน กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อสอบเก่าท้องถิ่น ปี 57

  • 2. ~2~ ขอบเขตเนื้อหา ความรูทั่วไปเกี่ยวกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น ประวัติความเปนมา กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น อํานาจหนาที่ วิสัยทัศนและพันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร (Strategic Issues) ความรูเกี่ยวกับพัฒนาชุมชน บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม กระบวนการพัฒนาชุมชน การพัฒนาแบบมีสวนรวม การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน การพัฒนาของภาครัฐรวมกับองคกรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคม แนวทางสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน กระบวนการจัดทําแผนชุมชน การประเมินคุณภาพแผนชุมชน กรมการพัฒนาชุมชนกับการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร พ.ศ. 2555-2559 วิสัยทัศน กรอบแนวคิดในการจัดทําแผนยุทธศาสตร ความหมายของการพัฒนาชุมชน ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) ขอสอบ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) 5 5 5 6 7 8 9 10 12 14 15 18 22 27 29 31 40 43 44 45 59 60 62 63 112 121
  • 3. ~3~ กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัฒนาชุมชน พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 130 แนวขอสอบ พรบ.ขอมูลขาวสารของราชการ พ.ศ. 2540 145 พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.2527 153 แนวขอสอบ พรบ. กองทุนหมูบานและชุมชนเมืองแหงชาติ พ.ศ.2527 167 การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 170 แนวขอสอบ การจัดทําแผนพัฒนาขององคกรปกครองสวนทองถิ่น 182 ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 190 แนวขอสอบ ระเบียบกระทรวงมหาดไทยวาดวยคณะกรรมการพัฒนาสตรี พ.ศ. 2538 196 กฎหมายเกี่ยวของกับกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น สรุป ระเบียบบริหารราชการแผนดินพ.ศ. 2534 และแกไขเพิ่มเติม 201 สรุปพ.ร.บ. องคการบริหารสวนจังหวัด พ.ศ. 2540 และแกไขเพิ่มเติม 209 สรุป พรบ.เทศบาล 2496 และที่แกไขเพิ่มเติมถึง ฉบับที่ 13 พ.ศ.2552 215 สรุปพ.ร.บ.สภาตําบลและองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ.2537 และแกไขเพิ่มเติมถึง 228 ฉบับที่ 6 พ.ศ. 2552 สรุปพรบ.ระเบียบบริหารงานบุคคลสวนทองถิ่น พ.ศ. 2542 และแกไขเพิ่ม 235 เติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ. 2551 สรุปสาระสําคัญพ.ร.บ.กําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจ ใหแกองคกรปกครอง สวนทองถิ่น พ.ศ.2542 และแกไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2549 242 สรุปสาระสําคัญ พระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธการบริหารกิจการ ี ่ 245 บานเมืองทีดี พ.ศ. 2546 สรุปสาระสําคัญพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2552 251 และแกไขเพิ่มเติม
  • 4. ~4~ ประวัตความเปนมา ิ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนสวนราชการที่จัดตั้งขึ้นใหมใน สังกัดกระทรวงมหาดไทยที่มีบทบาทภารกิจสําคัญใน การสงเสริมสนับสนุนองคกร ปกครองสวนทองถิ่น โดยการพัฒนาและใหคําปรึกษา แนะนํา องคกรปกครองสวนทองถิ่นในดานการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่น การบริหารงานบุคคล การเงินการคลัง และการบริหารจัดการ เพื่อให องคกรปกครองสวนทองถิ่น มีความเขมแข็ง และมีศักยภาพในการใหบริการสาธารณะ ทั้งนี้ อํานาจหนาที่และโครงสรางสวนราชการ ของ กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น เปนไปตามกฏกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่นกระทรวง มหาดไทย พ.ศ. 2545 ซึ่งกําหนดไวดังนี้ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. อํานาจหนาที่ ดําเนินการพัฒนาระบบ รูปแบบ และโครงสรางขององคกรปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมและสนับสนุนในการจัดทํา ประสานและบูรณาการแผนพัฒนาทองถิ่นและวางระบบ ในการติดตามและประเมิน ผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาทองถิ่น ดําเนินการจัดทํา แกไข ปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวของกับองคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งใหคําปรึกษา แนะนํา และกํากับดูแลการปฏิบัติงานตามอํานาจ หนาที่ของ องคการปกครองสวนทองถิ่น กําหนดแนวทางและจัดทํามาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลขององคกร ปกครอง สวนทองถิ่น ทั้งนี้ ตามกฎหมายวาดวยการบริการงานบุคคลสวนทองถิ่น สงเสริม สนับสนุน และประสานการดําเนินงานดานการเงิน การคลัง การงบประมาณ การ พัสดุการจัดเก็บรายได และการประกอบกิจการพาณิชยขององคกรปกครองสวน ทองถิ่น รวมทั้งวางระบบตรวจสอบระบบการเงิน การบัญชี และ การพัสดุขององคการ ปกครองสวนทองถิ่น สงเสริมสนับสนุนและประสานการจัดการบริการสาธารณะและการศึกษาในอํานาจหนาที่ของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น กําหนดแนวทาง วางระบบ และสรางตัวชีวัดเพือเปนมาตรฐานการดําเนินงานขององคกร ้ ่ ปกครองสวนทองถิ่น ตลอดจนกํากับดูแลใหเปนไปตามมาตรฐาน สงเสริมภาคประชาชนใหมีสวนรวมในการบริหารงานและตรวจสอบการดําเนินงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น
  • 5. ~5~ 9. พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศเพื่อการบริการขององคการปกครองสวนทองถิ่น 10. พัฒนาบุคลากรขององคการปกครองสวนทองถินและของกรม ่ 11. ปฏิบัติการอืนใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรมหรือตามที่กระทรวงหรือ ่ คณะรัฐมนตรีมอบหมาย ตอมาในป พ.ศ.2551 ไดมีการประกาศใชกฎกระทรวงแบงสวนราชการกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ.ศ.2551 โดยกําหนดใหมีราชการบริหารสวน ภูมิภาค และจัดตั้งสํานักงานสงเสริมการปกครองทองถิ่นจังหวัดขึ้นในกรมสงเสริมการ ปกครองทองถิ่น เพื่อทําหนาที่ประสานงานและปฏิบัติหนาที่ในฐานะตัวแทนของกรม ใน ราชการสวนภูมิภาค เพื่อใหการดําเนินการกํากับ ดูแล และสนับสนุนการปฎิบัติงานของ องคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนไปอยางคลองตัว และมีประสิทธิภาพ และจัดตั้งกลุม ตรวจสอบภายในและกลุ ม พั ฒ นาระบบบริ ห ารขึ้ น ในกรมส ง เสริ ม การปกครองท อ งถิ่ น กระทรวงมหาดไทย เพื่อทําหนาที่ตรวจสอบการดําเนินงานภายในสวนราชการ สนับสนุน การปฏิบัติงานของกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น และพัฒนาการบริหารของสวนราชการ ใหเกิดผลสัมฤทธิ์ มีประสิทธิภาพ และคุมคา 1. 2. 3. 4. 5. วิสัยทัศนและพันธกิจ วิสัยทัศนกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Vision) “ เปนองคกรหลักในการสงเสริมให อปท. เขมแข็งอยางยั่งยืน ” พันธกิจกรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น (Mission) พัฒนากรมสงเสริมการปกครองทองถิ่นใหเปนองคกรที่มีสมรรถนะสูง สงเสริมการจัดทําแผนพัฒนาทองถิ่นใหสอดคลองกับแผนยุทธศาสตรระดับชาติ ระดับจังหวัด และตอบสนองความตองการของประชาชนภายใตกระบวนการมีสวนรวมจาก ภาคีเครือขาย สงเสริมระบบบริหารงานบุคคลของ อปท. ใหเปนไปตามหลักคุณธรรม และเพิ่มขีด ความสามารถของบุคลากร อปท. ใหทํางานอยางมืออาชีพ พัฒนาระบบงบประมาณและการคลังขององคกรปกครองสวนทองถิ่นใหมีประสิทธิภาพและ สามารถพึ่งตนเองได พัฒนาระบบกฎหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานของ อปท. และสนับสนุนผูกํากับ ดูแล อปท.
  • 6. ~6~ ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาชุมชน นายพิสันติ์ ประทานชวโน รองอธิบดีกรมการพัฒนาชุมชน กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานที่ทํางานดานการพัฒนาชุมชนรวมกับประชาชน ตลอดระยะเวลา48 ป โดยมีความมุงมั่นที่จะเปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหาร จัดการชุมชนใหเขมแข็งอยางยั่งยืนและมีเปาหมายสูชุมชนเขมแข็ง ประชาชนพึ่งตนเองได คอบครัวมีคุณภาพชีวิตดี มีความสุข บทบาทหนาที่ของกรมการพัฒนาชุมชน ตามกฎกระทรวงแบงสวนราชการ กรมการพัฒนาชุมชนกระทรวงมหาดไทย พ.ศ. 2552 ใหกรมการพัฒนาชุมชน มีภารกิจ เกี่ยวกับการสงเสริมกระบวนการเรียนรู และการมีสวนรวมของประชาชน สงเสริมและพัฒนา เศรษฐกิจชุมชนฐานรากใหมีความมั่นคงและมีเสถียรภาพโดยสนับสนุนใหมีการจัดทําและใช ประโยชนจากขอมูลสารสนเทศ ศึกษา วิเคราะห วิจัย จัดทํายุทธศาสตรชุมชน ตลอดจนการ ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวของในการพัฒนาชุมชน เพื่อใหเปนชุมชนเขมแข็งอยาง ยั่งยืนโดยมีอํานาจหนาที่ดังตอไปนี้ 1. กําหนดนโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และแนวทางในการพัฒนาชุมชนระดับชาติ เพื่อใหหนวยงานของรัฐ เอกชน และผูมีสวนเกี่ยวของดานการพัฒนาชุมชน ไดใชเปนกรอบ แนวทางในการดําเนินงานเพื่อเสริมสรางความสามารถและความเขมแข็งของชุมชน 2. จัดทําและพัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน เพื่อใชเปนเครื่องมือสําหรับ ประเมินความกาวหนาและมาตรฐานการพัฒนาของชุมชน “...ขอบใจมาก ที่ตองเหน็ดเหนื่อยทํางานในหมูบานชนบท และตองประสบปญหา ตางๆมากมาย ขอใหชวยกันพัฒนาคนใหมีความฉลาด สามารถชวยตนเองได... ในการ แนะนําสงเสริมอาชีพ หรือใหคําแนะนําเรื่องตางๆ ตองทําใหบอยๆ ไมใชพูดหรือทําหนเดียว ... ความมั่นคงของประชาชนในชนบทเปนสวนหนึ่งที่จะสรางชาติ และปองกันประเทศเปน อยางดี...” พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ พระราชทานแกพัฒนากร ในโอกาสเสด็จไปทรงกระทําพิธีเปดเขื่อนและการพลังงาน ไฟฟาแมน้ําพุง จ.สกลนครเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2508
  • 7. ~7~ 3. พัฒนาระบบและกลไกในการสงเสริมกระบวนการเรียนรู การจัดการความรู การ อาชีพ การออมและการบริหารจัดการเงินทุนของชุมชน เพื่อเสริมสรางขีดความสามารถของ ประชาชน ชุมชน ผูนําชุมชนองคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชน 4. สนับสนุนและพัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศชุมชน สงเสริมการใชประโยชนและ การใหบริการขอมูลสารสนเทศชุมชน เพื่อใชในการวางแผนบริหารการพัฒนาไดอยางมี ประสิทธิภาพ 5. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และสรางองคความรูเพื่อใชในงานพัฒนาชุมชน และ การจัดทํายุทธศาสตรชุมชน 6. ฝกอบรมและพัฒนาขาราชการ เจาหนาที่ที่เกี่ยวของ ผูนําชุมชน องคการชุมชน และเครือขายองคการชุมชนใหมีความรู ทักษะ ทัศนคติ และสมรรถนะในการทํางาน รวมทั้ง ใหความรวมมือทางวิชาการดานการพัฒนาชุมชนแกหนวยงานทั้งในประเทศและตางประเทศ 7. ปฏิบัติการอื่นใดตามที่กฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ของกรม หรือตามที่ กระทรวงหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม แนวคิดการพัฒนาชุมชน ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบดวย 2 คํา คือ การพัฒนา และชุมชน การพัฒนา หมายถึง ทําใหเจริญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุงใหตางจาก เดิม ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชน และประชาชนที่อาศัยอยูในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐาน ที่สุด คือหมูบาน หรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน ชุมชนลุมน้ํา ชุมชนวัฒนธรรม เปนตน การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปน กระบวนการใหการศึกษา (educational process) แกประชาชนเพื่อใหสามารถพึ่งตนเองได (self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดําเนินการ แกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสวนรวม
  • 8. ~8~ การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามที่เกิดจาก ความคิดริเริ่มของประชาชน จากปญหา/ความตองการของประชาชน โดยการชวยกันคิด รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน และรวมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแกปญหาและ สนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของประชาชนสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง โดยมี พัฒนากรเปนผูเอื้ออํานวยใหประชาชนเปนผูริเริ่มหรือเปนเจาของโครงการโดยมีตัวอยาง โครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้ 1. การพัฒนาผูนําชุมชนและอาสาสมัคร วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีบทบาทและ สวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุงเนนใหเกิดความ ตอเนื่องในการรวมกลุม การพัฒนาศักยภาพ และการดําเนินกิจกรรมใหเกิดผลงานอยางเปน รูปธรรม 2. พัฒนากลุม/องคกร/เครือขาย วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะ กลุม/องคกรชุมชน เชน คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนใหกลุม/องคกรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือขายตางๆ เชน สมาพันธองคการพัฒนาชุมชนแหงประเทศไทยสมาคมผูนําอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคม ผูนําสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําอาชีพกาวหนา (สิงหทอง) 4 ภาค ศูนยประสานงาน องคการชุมชน (ศอช.) 3. การพัฒนาแผนชุมชน วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชน ใหคนในชุมชนชวยกันคิด รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน รวมกันดําเนินการเพื่อแกปญหาและสนองความตองการ ของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําใหชุมชนไดทําความรูจักและประเมินศักยภาพของชุมชน และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดและสรางชุมชนให เขมแข็งได 4. สงเสริมการออมทรัพยเพื่อการผลิต วัตถุประสงค เพื่อกระตุนและสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเปน ทุนของชุมชน สนับสนุนการพัฒนาดานการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนา อาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเปนฐานไปสูสถาบันนิติบุคคล
  • 9. ~9~ การกระจายอํานาจในการพัฒนาและงบประมาณสูทองถิ่น ความสําคัญ กฎหมายที่เกี่ยวของ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 การกระจายอํานาจสูทองถิ่นถือวาเปนวัตถุประสงคหลักประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ดังปรากฏตาม มาตรา 78 , 80 และ 281-290 โดยมี แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ ดังนี้ 1. รัฐตองกระจายอํานาจให อปท. พึ่งตนเองและตัดสินใจในกิจการของทองถิ่นไดเอง สงเสริมให อปท. มีสวนรวมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ 2. สงเสริมและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพื่อให อปท. ฯลฯ จัดและมีสวนรวมใน การจั ด การศึก ษาเพื่ อ พั ฒ นามาตรฐานคุณ ภาพการศึ ก ษาให เ ท า เที ย มและสอดคล อ งกั บ แนวนโยบายพื้นฐานแหงรัฐ พระราชบั ญ ญั ติ กํ า หนดแผนและขั้ น ตอนการกระจายอํ า นาจให แ ก อ งค ก ร ปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ.2542 สาระสําคัญ ไดแก 1. การกําหนดอํานาจและหนาที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะระหวางรัฐกับ องคกรปกครองสวนทองถิ่น และระหวางองคกรปกครองสวนทองถิ่นดวยกันเอง 2. การจัดสรรสัดสวนภาษีและอากรระหวางรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่น โดย คํานึงถึงภาระหนาที่ของรัฐกับองคกรปกครองสวนทองถิ่นและระหวางองคกรปกครองสวน ทองถิ่นดวยกันเองเปนสําคัญ 3. การจัดใหมีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่งประกอบดวย ผูแทนของหนวยงานราชการ ที่เกี่ยวของ ผูแทนขององคกรปกครองสวนทองถิ่น และผูทรงคุณวุฒิซึ่งมีคุณสมบัติตามที่ กฎหมายบัญญัติโดยมีจํานวนเทากัน ทําหนาที่ตามขอ 1 และขอ 2 ขางตน แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น พ.ศ. 2543 แผนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปนแผนที่กําหนดกรอบ แนวคิดเปาหมาย และแนวทางการกระจายอํานาจ มีสาระสําคัญ ดังนี้ วิสัยทัศนการกระจายอํานาจสูทองถิ่น ในชวง 4 ปแรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมาย วาดวยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจใหแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น จะ เปนชวงของการปรับปรุงระบบการบริหารงานภายในขององคกรปกครองสวนทองถิ่น
  • 10. ~ 10 ~ แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน ในยุคโลกาภิวัฒน ปญหาตางๆ มีความสลับซับซอน และเปลี่ยนแปลงรวดเร็วยิ่งขึ้น การแกปญหาจําเปนตองมีความรอบคอบ โดยคํานึงถึงผลกระทบอยางรอบดาน ตองมีความ รอบรู และตองอาศัยความรวมมือรวมใจจากทุกฝาย จะตองสรางการเรียนรูรวมกัน ตั้งแต กระบวนการรวมคิด รวมทํา รวมสรุปบทเรียน จะเกิดขึ้นไดก็ตอเมื่อทุกคนยอมรับซึ่งกันและ กัน การรวมตัวของประชาชนที่หลากหลายทําใหเกิดการแลกเปลี่ยนความคิด องคความรู และตอเชื่อม ประสบการณอยางกวางขวาง เปนการเสริมพลังซึ่งกันและกัน สรางโอกาสให ทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาตนเองไดอยางตอเนื่อง นอกจากนี้ยังตองสรางการบริหาร จัดการรวมกัน เพื่อสรางความเขมแข็งของชุมชนฐานราก ใหชุมชนทองถิ่นมีสิทธิ หนาที่ และ บทบาทในการจัดการทรัพยากรสาธารณะมากขึ้น ทําใหทองถิ่นเขมแข็ง เกิดการประสานงาน งบประมาณระหวางองคกรตางๆ ทั้งในแนวราบกับทองถิ่น/หนวยงานอื่นๆ และในแนวดิ่งกับ สวนกลาง กรมการพัฒนาชุมชน เปนหนวยงานหลักในการสงเสริมการบริหารจัดการชุมชน โดยใชกระบวนการแผนชุมชนเปนเครื่องมือในการสงเสริมการเรียนรูของคนในชุมชน การ แกไขปญหาของชุมชนดวยกระบวนการมีสวนรวมของคนในชุมชน แผนชุมชนไดรับการ นําไปใชประโยชนจากสวนทองถิ่น ตองเปนแผนชุมชนที่ไดรับการรับรองมาตรฐานแกไข ปญหาของชุมชนไดอยางมีประสิทธิภาพ เจาหนาที่พัฒนา-ชุมชน ภาคีการพัฒนา ผูนําชุมชน และผูอาศัยในชุมชนจึงตองมีความรูความเขาใจกระบวนการแผนชุมชนอยางชัดเจน แนวความคิดเกี่ยวกับชุมชน ชุมชน หมายความถึง กลุมชนที่อาศัยอยูรวมกัน โดยมีความรูสึกผูกพันเปนอันหนึ่ง อันเดียวกัน จะโดยอาศัยหลักผูกพันในทางเชื้อชาติ เผาพันธุ ศาสนาเดียวกันซึ่งทําใหบุคคล มีความรูสึกเปนสวนหนึ่งของสังคมนั้น หรืออาศัยหลักความผูกพันหรือผลประโยชนทางเชื้อ ชาติ ศาสนา และวั ฒ นธรรมรว มกั น โดยอาศั ย อยู ใ นบริ เ วณพื้ น ที่ ท างภู มิ ศ าสตร เ ดี ย วกั น ตลอดจนการมีผลประโยชนในทางการบริการสังคมรวมกัน แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทําแผนชุมชน การใหชาวบานในหมูบานและชุมชน จัดทําแผนชุมชนเพื่อพัฒนาหมูบานและชุมชน ของตนเองมีแนวคิดหลักการและความเชื่อในหลาย ๆ ดาน เชน 1. แนวคิดจากปรัชญาพัฒนาชุมชน ซึ่งเปนสากลที่บอกวาชาวบานมีศักยภาพ สามารถพัฒนาตนเองไดถาใหโอกาส และการพัฒนาตองเริ่มตนที่ชาวบาน
  • 11. ~ 11 ~ 2. แนวคิดจากหลักการพัฒนาชุมชน คือ การมีสวนรวม การพึ่งตนเอง การ ชวยเหลือซึ่งกันและกัน และการรับผิดชอบตอชุมชนของตนเอง 3. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการใหชุมชนไดมีกระบวนการใน การจัดการชุมชนมีการเรียนรูรวมกันในกระบวนการชุมชน 4. แนวคิดในการพัฒนาชุมชนใหเขมแข็ง คือการสรางพลังชุมชน ใชพลังชุมชน ในการพัฒนาชุมชน 5. แนวคิดที่วาไมมีใครรูปญหาชุมชนเทาคนในชุมชน ดังนั้น การแกปญหา ชุมชนจึงเริ่มจากชุมชน การใหการสนับสนุนของภาครัฐจะตองเปนลักษณะ Bottom-up ไมใช Top Down ความหมายของแผนชุมชน สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดใหความหมาย ของแผนชุ ม ชนว า หมายถึ ง การกํา หนดอนาคตและกิ จ กรรมการพั ฒ นาของชุ ม ชน โดย เกิดขึ้นจากคนในชุมชนที่มีการรวมตัวกันจัดทําแผนขึ้นมา เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนา ชุมชนหรือทองถิ่นของตนเอง ใหเปนไปตามที่ตองการและสามารถแกปญหาที่ชุมชนเผชิญ อยู คนในชุมชนมีสวนรวมคิด รวมกําหนด แนวทางและทํากิจกรรมการพัฒนารวมกัน ยึด หลักการพึ่งตนเอง ลดการพึ่งพิงภายนอก คํานึงถึงศักยภาพ ทรัพยากร ภูมิปญญา วิถีชีวิต วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นเป นหลัก จึงกล าวไดว า แผนชุมชนเปนของชุมชน ดําเนินการโดยชุมชนและเพื่อประโยชนของชุมชนเอง ซึ่งแตกตางจากแผนที่ภาครัฐจัดทําขึ้น เพื่อการจัดสรรงบประมาณเปนหลัก ศาสตราจารย นายแพทยประเวศ วะสี ไดนําเสนอความหมายของแผนชุมชนวา “เป น กระบวนการวิ เ คราะห วิ นิ จ ฉั ย ป ญ หา ว า คื อ อะไร และจะทํ า อะไร คื อ การวิ เ คราะห ทางเลือก เปนกระบวนการทางปญญาที่ทรงพลัง เมื่อวิเคราะหแลวนําไปสูการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะนําไปสูการแกปญหา กระบวนการจัดทําแผนชุมชนเปนการเรียนรูจากการปฏิบัติจริง (Interactive Learning interaction)” ดร.ขนิฏฐา กาญจนรังษีนนท ไดอธิบายความหมายของแผนชุมชนวา “เปนสวน หนึ่งของระบบการบริหารจัดการชุมชน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพของความรวมมือและการ เรี ย นรู ร ว มกั น ของคนในชุ ม ชน เพื่ อ แก ไ ขป ญ หาและพั ฒ นาชุ ม ชนของตนและชุม ชน ที่ สามารถบริหารจัดการกับการพัฒนาและแกไขปญหาของชุมชนได ชุมชนจะมีการดําเนินการ ใน 6 เรื่อง คือ มีระบบขอมูล มีแผนชุมชน มีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน มีการนํา แผนไปปฏิบัติ มีทุนของชุมชน และมีองคกรเขมแข็งอยางนอย 1 องคกร
  • 12. ~ 12 ~ ความหมายของการพัฒนาชุมชน สุวิทย ยิ่งวรพันธ (2509) ไดใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่ มุงสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่ม ดําเนินงานเอง และสรุปความหมายของการ “พัฒนาชุมชน” ไวดังนี้ คือ 1. การปรับปรุงสงเสริมใหชุมชนหนึ่งดีขึ้นหรือมีวิวัฒนาการดีขึ้น 2. การสงเสริมใหชุมชนนั้น ๆ มีวิวัฒนาการดีขึ้น คือ เจริญทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม 3. การพัฒนาชุมชนนั้น จะตองพัฒนาทางดานวัตถุและพัฒนาดานจิตใจ 3.1 การพัฒนาดานวัตถุ คือ การสรางความเจริญใหแกชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกิดมี หรือเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่เห็นโดยแจงชัด เชน การสงเสริมดานการผลิตผล การสงเสริมระบบ ขนสง การคมนาคม การชลประทาน และดานอื่น ๆ 3.2 การพัฒนาดานจิตใจ คือ การสรางความเจริญ โดยมุงจะใหการศึกษาอบรม ประชาชน ซึ่งรวมทั้งการใหการศึกษาตามโรงเรียน มหาวิทยาลัย ตามโครงการของ กระทรวงศึกษาธิการและการศึกษานอกระบบโรงเรียน 4. การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่สงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่มดําเนินงานเอง Arthur Dunham กลาววา การพัฒนาชุมชน คือ การรวมกําลังดําเนินการปรับปรุง สภาพความเปนอยูของชุมชนใหมีความเปนปกแผนและดําเนินงานไปในแนวทางที่ตนเอง ตองการ โดยอาศัยความรวมกําลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการชวยเหลือตนเองและ รวมมือกันดําเนินงาน และตองไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทางดานวิชาการจากหนวยงาน ภายนอก องคการสหประชาชาติ (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการ ซึ่งประชาชนทั้งหลายไดพ ยายามรวบรวมกั นทํ าเองและมาร วมกั บ เจ าหน าที่ ของรั ฐบาล เพื่อที่จะทําใหสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนนั้น ๆ เจริญดีขึ้นและผสมผสาน ชุมชนเหลานั้นเขาเปนชีวิตของชาติและเพื่อที่จะทําใหประชาชนอุทิศกาย ใจ ความคิด ความรู และทรัพย เพื่อความเจริญเติบโตของชาติอยางเต็มที่ องคการบริหารวิเทศกิจของสหรัฐอเมริกา (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนา ชุมชน เปนขบวนการแหงการกระทําทางสังคม ซึ่งประชาชนในชุมชนนั้นรวมกันจัดการ วางแผนและลงมือกระทําการเอง พิจารณาใหรูชัดวา กลุมหรือเอกชนมีความตองการหรือ ขาดแคลนอะไร มีปญหาอะไรซึ่งเปนปญหารวมกัน แลวจึงจัดทําแผนเพื่อขจัดความขาด
  • 13. ~ 13 ~ แคลนหรือบําบัดความตองการ หรือแกปญหาตางๆ โดยที่พยายามใชทรัพยากรที่มีอยูใน ชุมชนนั้น ๆ ใหมากที่สุดและถาจําเปน อาจจะขอความชวยเหลือจากภายนอก คือ รัฐ หรือ องคกรอื่น เพียงเทาที่จําเปน สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนการ เปลี่ยนแปลงที่มีการกําหนดทิศทาง (Directed Change) ซึ่งทิศทางที่กําหนดขึ้น ยอมตอง เปนผลดีสําหรับกลุมชนหรือชุมชน การพัฒนาจึงอาจเรียกไดวา เปนการเปลี่ยนแปลงที่พึง ปรารถนา (Desired Change) หรือการเปลี่ยนแปลงที่ถูกพอกพูนดวยคานิยม (Value Loaded Change) ตามระบบคานิยมของชุมชนซึ่งเปนเครื่องกําหนดความมีคุณคาหรือไร คุณคาของสิ่งตาง ๆ ไพฑูรย เครือแกว (2518) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมที่จะทําใหชีวิตทุกดานของชาวชนบทมีการเจริญกาวหนาขึ้นพรอม ๆ กัน สาย หุตเจริญ (2512) ใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน เปนวิธีการสรางชุมชนให เจริญโดยอาศัยกําลังความสามารถของประชาชนและความชวยเหลือของรับบาลรวมกัน พัฒน บุณยรัตพันธ (2515) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการอยางหนึ่ง ที่รัฐบาลนํามาใช เพื่อเปนการกระตุนเตือน ยั่วยุ และสงเสริมประชาชนในชนบท ใหเกิด ความคิดริเริ่มขึ้นและเสริมสรางทองถิ่นใหกาวหนา ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการดูแลตนเองตามระบอบประชาธิปไตย ปรีชา กลิ่นรัตน กลาววา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการที่มุงสงเสริมความ เปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น โดยความรวมมืออยางจริงจังของประชาชน และควรเปน ความคิดริเริ่มของประชาชนเองดวย แตถาประชาชนไมรูจักริเริ่ม ก็ใหใชเทคนิคกระตุนเตือน ใหเกิดความคิดริเริ่ม ทั้งนี้ เพื่อใหกระบวนการนี้ไดรับการตอบสนองจากประชาชนดวยการ กระตือรือรนอยางจริงจัง ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน ในปจจุบันงานดานการพัฒนาชุมชนมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศมาก เพราะ สภาพปญหาของการพัฒนาชุมชนนั้นเปนวงจรที่สงผลกระทบตอกันเปนลูกโซ จากความไมรู สูความจนและการเจ็บปวย ซึ่งเปนอุปสรรคในการพัฒนา เปนวัฏจักรแหงความชั่วราย ดังนั้น ทุกหนวยงานทุกองคกร ตองชวยกันขจัดปญหาเหลานี้ใหหมดไป ความยากจนในชนบท เปนปญหาหลักที่ทุกหนวยงานพยายามหาทางแกไข โดยการ เพิ่มพูนรายไดของประชาชนใหสูงขึ้น (Increasing Income) แตในการพัฒนาที่ผานมา พบวา
  • 14. ~ 14 ~ ยิ่งมีการพัฒนายิ่งทําใหประชาชนยากจนลง กลาวคือ จากการมุงพัฒนาประเทศเพื่อให ทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใน ขณะเดียวกัน ภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและ อุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศ ไมได รับการดูแลอยางทั่วถึง อันเปนเหตุใหเกิดความแตกตางทางฐานะของบุคคลสองกลุม กลุม หนึ่งมีจํานวนไมมาก มีฐานะร่ํารวย มีอํานาจทางเศรษฐกิจ กับอีกกลุมหนึ่งเปนคนสวนมาก อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ซึ่งความไมเปนธรรมในการกระจายรายได กําลังกลายเปน ปญหาที่สําคัญ ความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทมีมากขึ้น ประชาชนในภาคอีสานมีฐานะ ทางเศรษฐกิจต่ําลงเมื่อเปรียบเทียบกับประชาชนในภาคอื่น ๆ ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรสราง ขึ้นมาเพื่อวัดการกระจายรายไดของประเทศ วามีความเทาเทียมกันมากนอยเพียงใด คือ Gini-coefficient (G-C) คาดัชนี G-C 7 จะมีคาระหวาง 0 ถึง 1 ถา G-C มีคาเขาใกล 1 มา เทาใด แสดงวา การกระจายรายไดจะเลวลง ในทางตรงขามถา G-C จะมีคาเขาใกล 0 แสดง วา การกระจายรายไดมีความเทาเทียมกันมากขึ้น ในป 2535 คา G-C = 0.536 ซึ่งนับวามี คาสูงสุดในบรรดาคา G-C ที่ไดมีการวัดขึ้นมาในอดีต คือ ป 2518 คา G-C = 0.451 ป 2524 คา G-C = 0.473 ป 2533 คา G-C = 0.504 จากการกระจายรายไดที่มีลักษณะตกต่ําลงเรื่อย ๆ เปนสิ่งที่ยืนยันความเชื่อที่วา แมวาประเทสไทยจะประสบความสําเร็จอยางสูงทางดานการ เจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แตความเจริญดังกลาวไมไดกระจายไปสู ประชาชนโดยทั่วหนากัน แตหากกระจุกตัวอยูกับกลุมคนบางกลุมเทานั้น จากการวิเคราะหปญหาความเลื่อมล้ําทางสังคมและความยากจน ความยากจนเกิด จากปจจัยตาง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกัน มีลักษณะเปนลูกโซ วัฏจักรแหงความยากจน การมีทุนนอย  (Capital Deficiency)  การลงทุนต่ํา  การมีเงินออมต่ํา  ผลิตภาพต่ํา  (Low Investment)  (Low Savings) (Low Productivity)  การมีอุปสงคต่ํา  การมีรายไดที่แทจริงต่ํา  (Low Demand)  (Low Real Income) 
  • 15. ~ 15 ~ ดังนั้น การพัฒนาชุมชน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยลดชองวางทางสังคมและ ขจัดปญหาความยากจนในชุมชนใหลดนอยลง ซึ่งจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย ทั้งภาครัฐบาล เอกชน องคกรชุมชน นักวิชาการ และองคกรธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ภาครัฐบาล ซึ่งเปนองคกรหลักในการพัฒนา ตองใหความสําคัญตอการพัฒนา โดยเฉพาะ อยางยิ่ง การพัฒนาโดยการบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งเปน แนวทางและมีมาตรฐานในการปฏิบัติเปนขั้นตอนและมีความตอเนื่อง ตามโครงการที่กําหนด เพื่อขจัดปญหาความยากจนใหหมดสิ้นไป จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน จุดมุงหมายในการพัฒนาที่นักพัฒนาจะตองระลึกอยูเสมอ เพื่อชวยใหการดําเนินงาน ไปสูจุดหมาย ก็คือ 1. เพื่อพัฒนาคนใหมีประสิทธิภาพ 2. สงเสริมใหประชาชนรวมมือกันในการพัฒนาหมูบานของตนเอง 3. สงเสริมใหประชาชนรูสึกภาคภูมิใจที่จะอาศัยและประกอบอาชีพในหมูบานของ ตนอยางสงบสุข 4. สงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชนใหดีขึ้น 5. สงเสริมความสามารถของแตละบุคคล ใหแตละคนนําเอาความสามารถในตัวเอง ออกมาใชใหเปนประโยชน 6. สงเสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย 7. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมในสังคมใหดีขึ้น 8. เพื่อสงเสริมใหประชาชนสามารถแกปญหาของตนเองและชุมชนได 9. เพื่อกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน ประเทศชาติ 10. เพื่อใหการศึกษาแกประชาชนในทุกรูปแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง และครอบครัวใหดขึ้น ี จากจุดหมายดังกลาวแลว ถานักพัฒนาไดดําเนินการใหบรรลุตามความมุงหมายที่ได วางไว นับวาการพัฒนาไดเกิดขึ้นแลวในชุมชน (วรรณี เลาสุวรรณ, 2526) แนวคิดที่เกี่ยวกับชุมชน “ชุมชน” มีนัยและความหมายที่เปนไปตามพลวัตหรือกระแสของสังคม แตถา พิจารณาโดยละเอียด จะพบวา นักวิชาการ นักพัฒนา หรือผูคนที่ใหความหมายของคําวา
  • 16. ~ 16 ~ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559) แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อมุงใหเกิด ภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนาประเทศสู ความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอภาค เปน ธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจากแนวคิด ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และ ขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัตที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหาร ิ ประเทศเปนไปบนทางสายกลาง การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้ 1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ 1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม 1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต 2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนาเศรษฐกิจ ภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก 2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน 2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ให ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิ ปญญา 2.3 การสรางความเชือมโยงกับประเทศในภูมิภาคเพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ ่ สังคมใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือ ระหวางประเทศในภูมิภาคตางๆ
  • 17. ~ 17 ~ 3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน การประเมินสถานการณ ความเสี่ยงและการสรางภูมิคุมกันของประเทศ สถานการณการเปลี่ยนแปลงที่มีผลตอการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยังตอง เผชิญกับการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งในระดับโลก และภายในประเทศ ซึ่งมีผลกระทบทั้งที่ เปนโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ ดังนี้ การเปลี่ยนแปลงสําคัญระดับโลก 1) กฎ กติกาใหมของโลกหลายดานสงผลใหทุกประเทศตองปรับตัว 2) การปรับตัวเขาสูเศรษฐกิจโลกแบบหลายศูนยกลาง รวมทั้งภูมิภาคเอเชีย ทวีความสําคัญเพิ่มขึ้น การรวมกลุมเศรษฐกิจที่สําคัญตอประเทศไทยในชวงแผนพัฒนาฯ  ฉบับที่ 11 ไดแก การรวมกลุมในภูมภาคเอเชีย ภายใตกรอบการคาเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่ ิ ปุน และอินเดียและการเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 3) การเขาสูสังคมผูสูงอายุของโลกอยางตอเนื่อง 4) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกสงผลใหสภาพภูมิอากาศแปรปรวน 5) ความมันคงทางอาหารและพลังงานของโลกมีแนวโนมจะเปนปญหาสําคัญ ่ 6) ความกาวหนาทางเทคโนโลยีมีบทบาทสําคัญตอการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งตอบสนองตอการดํารงชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ้น 7) การกอการรายสากลเปนภัยคุกคามประชาคมโลก การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ 1) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานเศรษฐกิจ 2) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานสังคม ประเทศไทยกาวสูสังคมผูสูงอายุจากการมี โครงสรางประชากรทีวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยไดรับการพัฒนา ่ ศักยภาพทุกชวงวัยแตมีปญหาคุณภาพการศึกษาและระดับสติปญญาของเด็ก 3) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม 4) การเปลี่ยนแปลงสภาวะดานการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ ่ การประเมินความเสียง ประเทศไทยจะเผชิญกับความเสียงที่ตองเตรียมการสราง ่ ภูมิคุมกันใหประเทศพรอมเผชิญการเปลี่ยนแปลงอยางมีประสิทธิภาพ 6 ประการ ดังนี้ 1. การบริหารภาครัฐออนแอ
  • 18. ~ 18 ~ แนวขอสอบแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบันคือ ก. ฉบับที่ 9 ข. ฉบับที่ 10 ค. ฉบับที่ 11 ง. ฉบับที่ 12 ตอบ ค. ฉบับที่ 11 2. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับปจจุบันใชใน พ.ศ.ใด ก. พ.ศ. 2553 -2557 ข. พ.ศ. 2554-2558 ค. พ.ศ. 2555-2559 ง. พ.ศ. 2556-2560 ตอบ ค. พ.ศ. 2555-2559 3. เหตุผลของการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช คือ ก. เพื่อใหเกิดภูมิคุมกัน ข. บริหารจัดการความเสี่ยง ค. พัฒนาประเทศสูความสมดุล ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ทุกภาคสวนในสังคมไทยเห็นพองรวมกันนอมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเปนปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศอยางตอเนื่อง เพื่อ มุงใหเกิดภูมิคุมกันและมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอยางเหมาะสม เพื่อใหการพัฒนา ประเทศสูความสมดุลและยั่งยืน มุงสู “สังคมอยูรวมกันอยางมีความสุข ดวยความเสมอ ภาค เปนธรรม และมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง” 4. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดตอเนื่องจากแผนพัฒนาฉบับใด ก. ฉบับที่ 8 ข. ฉบับที่ 9 ค. ฉบับที่ 10 ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 มีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจาก แนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ
  • 19. ~ 19 ~ และขับเคลื่อนใหบังเกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและ บริหารประเทศเปนไปบนทางสายกลาง 5. แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ยึดหลักใด ก. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ค. สรางสมดุลการพัฒนา ตอบ ง. ถูกทุกขอ ข. คนเปนศูนยกลางของการพัฒนา ง. ถูกทุกขอ 6. ภูมิคุมกันในการพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 คือ ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ ข. ปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ง. ถูกทุกขอ ตอบ ง. ถูกทุกขอ การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ 11 ตองเรงสรางภูมิคมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ ดังนี้ ุ 1. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ 2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม 3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน 7. การสรางความเปนธรรมในสังคม เปนการสรางภูมิคุมกันดานใด ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ ข. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ค. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ง. การเตรียมพื้นฐานสูการพัฒนา ตอบ ก. การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ
  • 20. ~ 20 ~ แนวขอสอบพระราชบัญญัติขอมูลขาวสารของราชการ  พ.ศ.2540 5. ขอใดหมายถึง ขอมูลขาวสารสวนบุคคล ก. ลายพิมพนิ้วมือ ค. แผนบันทึกลักษณะเสียงของคน ข. ประวัติอาชญากรรม ง. ถูกทุกขอ 6. ขอใดกลาวถูกตองเกี่ยวกับ คนตางดาว ก. บุคคลธรรมดาที่มีสัญชาติไทยและไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ข. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ค. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย และไมมีถิ่นที่อยูในประเทศไทย ง. บุคคลธรรมดาที่ไมมีสัญชาติไทย 7. ผูรักษาการตามพระราชบัญญัติขอมูลขาวสาร พ.ศ. 2540 คือ ก. นายกรัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 8. ขอมูลขาวสารใดที่ตองลงพิมพในราชกิจจานุเบกษา ก. โครงสรางและการจัดองคกรในการดําเนินงาน ข. สรุปอํานาจหนาที่ที่สําคัญและวิธีการดําเนินงาน ค. สถานที่ติดตอเพื่อขอรับขอมูลขาวสาร หรือคําแนะนําในการติดตอกับหนวยงานของรัฐ ง. ถูกทุกขอ 9. ขอมูลขาวสารของราชการที่จะเปดเผยมิได คือขอใด ก. ขอมูลขาวสารของราชการที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอสถาบันพระมหากษัตริย ข. ขอมูลขาวสารที่อาจกอใหเกิดความเสียหายตอความมั่นคงของประเทศ ค. ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะทําใหกฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพ ง. ถูกทุกขอ
  • 21. ~ 21 ~ 10. คณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ประกอบดวยผูใดเปนประธาน ก. รัฐมนตรี ข. ผูวาราชการจังหวัด ค. ปลัดกระทรวงการคลัง ง. รัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทย 11. ผูใดไมใชคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ก. ปลัดกระทรวงกลาโหม ข. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ค. ปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ปลัดกระทรวงการตางประเทศ 12. ผูทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการขอมูลขาวสารของราชการ ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งมี จํานวนกี่คน ก. หาคน ข. เจ็ดคน ค. เกาคน ง. สิบเอ็ดคน 13. คณะกรรมการวินิจฉัยการเปดเผยขอมูลขาวสาร คณะหนึ่งประกอบดวยใครบาง ก. บุคคลไมนอยกวาหนึ่งคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ข. บุคคลไมนอยกวาสองคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ค. บุคคลไมนอยกวาสามคน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ ง. บุคคลไมนอยกวาสี่คน เลขานุการ และผูชวยเลขานุการ 14.ผูใดไมปฏิบัติตามคําสั่งของคณะกรรมการที่สั่งใหบุคคลใดมาใหถอยคําหรือใหสงวัตถุ เอกสาร หรือพยานหลักฐานมาประกอบการพิจารณาตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งเดือน หรือปรับไมเกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองเดือน หรือปรับไมเกินสองพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินสามพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ง. จําคุกไมเกินสามเดือน หรือปรับไมเกินหาพันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ 15. ผูใดฝาฝนหรือไมปฏิบัติตามขอจํากัดหรือเงื่อนไขที่เจาหนาที่ของรัฐกําหนดโดยทําการ เปดเผยขอมูลขาวสารที่ปกปด ตองระวางโทษอยางไร ก. จําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ข. จําคุกไมเกินสองป หรือปรับไมเกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ ค. จําคุกไมเกินหาป หรือปรับไมเกินหาหมื่นบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
  • 22. ~ 22 ~ สั่งซื้อไดที่ www.SheetRam.com โทรศัพท : 02-7230950,02-5141422, 085-9679080,085-9993722,085-9993740