SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 15
บทที่ 10 
การประเมินคุณภาพสื่อการ 
เรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา 
ท่านเป็นศึกษานิเทศก์ซึ่งรับผิดชอบหน้าที่ในการพัฒนาครูเกี่ยวกับการ 
ออกแบบและผลิตสื่อวันหนึ่งมีครูสองคนมาปรึกษาว่าจะมีวิธีการที่ทาให้รู้ 
ว่าสื่อที่สร้างขึ้นมานั้นมีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 
 ครูสายใจ เป็นครูสังคมศึกษาได้พัฒนาชุดการสอน 
 ครูสมหญิง เป็นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ได้พัฒนาสิ่งแวดล้อม 
ทางการเรียนรู้ 
 ครูมาโนช เป็นสอนวิชาภาษาได้พัฒนาชุดสร้างความรู้ 
 ครูประพาส เป็นครูสอนวิชาคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาบทเรียน 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเพื่อใช้ในการเรียนของตนเอง
ภารกิจที่ 1 
เลือกวิธีการประเมินคุณภาพสื่อไม่สอดคล้องกับ 
ลักษณะของสื่อของครูแต่ละคนพร้อมทั้งให้เหตุผล
ครูสายใจ 
วิธีที่เหมาะสมกับการประเมิน คือ วิธีประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ 
เนื่องจากวิธีนี้ เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมิน 
ประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการ 
เรียนรู้แบบรอบรู้ (Mastery learning) ซึ่งวิธีนี้ 
สอดคล้องกับการพัฒนาชุดการสอนของผู้สอน เพราะการ 
พัฒนาชุดการสอนของผู้สอนนั้นเน้นผู้เรียนให้เรียนรู้ด้วย 
ตัวเอง
ครูสายใจ 
เป็นวิธีการเปรียบเทียบผลในสองช่วงเวลา คือ ระหว่าง 
จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุด เช่น ระหว่างก่อนเรียนและหลัง 
สิ้นสุดการเรียนเพื่อให้เห็นพัฒนาการตามวัตถุประสงค์ที่ 
มุ่งหวัง ซึ่งผู้สอนจะต้องสร้างเครื่องมือวัดค่าของตัวแปรที่ 
สนใจศึกษา อาจจะเป็นแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ 
เรียน ซึ่งเป็นเครื่องมือที่สร้างขึ้นเพื่อวัดผลการเรียนรู้ 
หลังจากที่เรียนหรือทดลองเรื่องนั้น
ครูสมหญิง 
วิธีที่เหมาะสมกับการประเมิน คือ วิธีประเมินโดยการ 
เปรียบเทียบค่าทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน (ค่าดัชนี 
ประสิทธิผล: EI) เพราะวิชาที่ผู้สอนนั้นเป็นวิชาวิทยาศาสตร์ 
และได้มีการพัฒนาสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้และวิธีนี้จะ 
สามารถเป็นตัวชี้วัดได้ดีที่สุด เพราะมีการเปรียบเทียบให้เห็น 
ถึงความแตกต่างของผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียนได้อย่าง 
ชัดเจน และทาให้ทราบถึงความก้าวหน้าของผู้เรียนได้อีกด้วย
ครูมาโนช 
วิธีที่เหมาะสมกับการประเมิน คือ วิธีประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ 
เนื่องจากวิธีนี้ เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อประเมิน 
ประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการเรียนรู้แบบ 
รอบรู้ (Mastery learning) ซึ่งวิธีนี้สอดคล้องกับการพัฒนาชุด 
สร้างความรู้ เนื่องจากชุดความรู้นั้นผู้เรียนสามารถศึกษาหาความรู้ 
ได้ด้วยตนเอง
ครูประพาส 
วิธีที่เหมาะสมกับการประเมิน คือ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
เกณฑ์มาตรฐาน 90/90 เป็นวิธีการที่ได้รับการพัฒนามาเพื่อ 
ประเมินประสิทธิภาพของบทเรียนโปรแกรม มีพื้นฐานมาจากการ 
เรียนรู้แบบรอบรู้(Mastery learning) นิยามของเกณฑ์ 
มาตรฐาน 90/90 นั้นได้อธิบายไว้ว่า 90 ตัวแรกเป็นคะแนนของ 
ทั้งกลุ่ม
ครูประพาส 
ซึ่งหมายถึงนักเรียนทุกคน เมื่อสอนครั้งหลังเสร็จให้คะแนน 
เสร็จ นาคะแนนมาหาค่าร้อยละให้หมดทุกคะแนน แล้วหา 
ค่าร้อยละเฉลี่ยของทั้งกลุ่ม ถ้าบทเรียนโปรแกรมถึงเกณฑ์ค่า 
ร้อยละเฉลี่ยของกลุ่มจะต้องเป็น 90 หรือสูงกว่า 90 ตัวที่ 
สองแทนคุณสมบัติที่ว่า ร้อยละ 90 ของนักเรียนทั้งหมด 
ได้รับผลสัมฤทธิ์ตามมุ่งหมายแต่ละข้อและทุกข้อของ 
บทเรียนโปรแกรม
ภารกิจที่ 2 
อธิบายข้อจากัดของการประเมิน 
สื่อการสอน
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอนการ 
หาประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One 
to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลองกับกลุ่มเล็ก 
(Small group testing) และท้ายสุดทาการทดลอง 
ภาคสนาม (Field testing) และอาจใช้วิธีการหาค่า 
ประสิทธิภาพกระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์ (E2) หรืออาจใช่ 
วิธีการหาค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness index 
หรือ E.I.) ค่าประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จาก 
การทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่า 
คะแนนที่เป็นตัวเลขเชิงปริมาณเท่านั้น
ภารกิจที่ 3 
เปรียบเทียบความแตกต่างของแนวคิดการ 
ประเมินสื่อการสอน สื่อการเรียนรู้และ 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
การประเมินประสิทธิภาพของสื่อการสอนมีขั้นตอน 
การหาประสิทธิภาพเริ่มตั้งแต่ การทดลองแบบกลุ่มต่อหนึ่ง (One 
to one testing) แล้วนาสื่อมาทดลองกับกลุ่มเล็ก (Small 
group testing) และท้ายสุดทาการทดลองภาคสนาม 
(Field testing) และอาจใช้วิธีการหาค่าประสิทธิภาพ 
กระบวนการ (E1)/ผลลัพธ์(E2) หรืออาจใช่วิธีการหาค่าดัชนี 
ประสิทธิผล (Effectiveness index หรือ E.I.) ค่า 
ประสิทธิภาพดังกล่าว ล้วนแต่เป็นค่าที่ได้จากการทาแบบทดสอบ 
วัดผลสัมฤทธิ์ซึ่งจะได้เป็นเพียงเฉพาะค่าคะแนนที่เป็นตัวเลขเชิง 
ปริมาณเท่านั้น
ซึ่งหากเราพิจารณาความสอดคล้องกับกระบวน 
ทัศน์และลักษณะการออกแบบสื่อในปัจจุบันที่เป็นสื่อการ 
เรียนรู้ หรือ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ ที่มุ่งเน้นการ 
ปรับปรุงและพัฒนาให้ผลผลิตที่มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น 
ดังนั้นการประเมินที่นามาใช้ควรมีลักษณะที่สอดคล้อง 
คือ การประเมินเพื่อปรับปรุง และการประเมินผลลัพธ์ 
ด้วยเหตุนี้การประเมินเพียงเฉพาะมิติด้านผลสัมฤทธิ์ซึ่ง 
ใช้ข้อมูลเชิงปริมาณที่เป็นค่าคะแนน หรือตัวเลขอย่าง 
เดียว อาจให้รายละเอียดไม่เพียงพอที่จะนามาสู่การ 
ปรับปรุงในกระบวนการพัฒนา
จัดทาโดย 
สมาชิกกลุ่ม 
นายพุฒิพงศ์ วันภูงา 
563050119-7 
นายอดิศักดิ ์ บือทอง 563050405- 
6 
นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 
คณะศึกษาศาสตร์ สาขาคณิตศาสตรศึกษา 
มหาวิทยาลัยขอนแก่น

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้FFon Minoz
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้suwannsp
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10Zhao Er
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้Thamonwan Kottapan
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่าO-mu Aomaam
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟO-mu Aomaam
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Teerasak Nantasan
 
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"leyzover
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__sinarack
 

La actualidad más candente (16)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
CHAPTER 10
CHAPTER 10CHAPTER 10
CHAPTER 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
บทที่10ประเมินคุณภาพสื่อการสอนและสื่อการเรียนรู้
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่า
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟ
 
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
ใบงานที่4(เพิ่มเติม) โครงงานประเภท "การพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา"
 
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__บทท  10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
บทท 10 การประเม_นค_ณภาพส__อการเร_ยนร__
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 

Similar a Chapter10mii

Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10beta_t
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sattakamon
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อAnn Pawinee
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Pan Kannapat Hengsawat
 
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้สาวกปิศาจ Kudo
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Ged Gis
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Sasitorn Seajew
 

Similar a Chapter10mii (16)

Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
Chapter10
Chapter10Chapter10
Chapter10
 
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทท 10ประเม_นส__อ
บทท  10ประเม_นส__อบทท  10ประเม_นส__อ
บทท 10ประเม_นส__อ
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
241203 chapter10
241203 chapter10241203 chapter10
241203 chapter10
 
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 5
Chapter 5Chapter 5
Chapter 5
 
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
Chapter10การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
บทที่ 10 การประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้
 

Chapter10mii