SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        16




                              UTQ online e-Training Course
                                       ใบความรู้ ท่ี 1
             เรื่อง “ความหมาย ความสํ าคัญและแนวคิดสํ าคัญของการจัดการเรียนรู้
                                      แบบโครงงาน”




1. แนวคิดทฤษฎีทเี่ กียวข้ องกับการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน
                            ่
แนวคิดหลักของรู ปแบบการจัดกระบวนการเรี ยนรู้แบบโครงงาน
           แนวคิดที่ตองมีการปฏิรูปวิธีการเรี ยนรู ้แบบใหม่ เป็ นสิ่ งจําเป็ นเพื่อกระตุนและเร่ งรัดให้เกิดผล
                          ้                                                                ้
ในทางการปฏิบติอย่างจริ งจัง จากผูที่ทาหน้าที่เป็ นครู หรื อผูสอนทุกคนซึ่ งจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
                      ั                     ้ ํ                     ้
การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้จากเดิมคือเป็ นผูสั่ง บรรยาย บอก มาเป็ นผูกระตุน ผูอานวยความสะดวก
                                                    ้                      ้ ้ ้ํ
ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งสอดคล้องกับกรมวิชาการ
                                      ้
กระทรวงศึกษาธิการ (2554) ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบโครงงานว่าโครงงานเป็ น
กิจกรรมการเรี ยนรู ้รูปแบบหนึ่งที่ทาให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดวยตนเองจากการลงมือปฏิบติจริ งในลักษณะ
                                          ํ                     ้                              ั
ของการศึกษา การสํารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์ คิดค้น โดยมีครู เป็ นผูคอยกระตุน แนะนําและ
                                                                                 ้           ้
ให้คาปรึ กษาอย่างใกล้ชิด
      ํ
           โครงงานเป็ นสะพานเชื่อมระหว่างห้องเรี ยนกับโลกภายนอกซึ่ งเป็ นชีวตจริ งของผูเ้ รี ยน ทั้งนี้
                                                                                         ิ
เพราะว่า
           - ผูเ้ รี ยนต้องนําเอาความรู ้ท่ีได้จากชั้นเรี ยนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมที่จะกระทําเพื่อนําไปสู่
ความรู ้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การแก้ปัญหาและการค้นพบตนเอง
                                                                                     ่ ั
           - ผูเ้ รี ยนต้องสร้างและกําหนดความรู ้ จากความคิดและแนวคิดที่มีอยูกบความคิดและแนวคิดที่
เกิดขึ้นใหม่ ทําให้เกิดการปรับเปลี่ยนความรู ้ให้เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้สิ่งใหม่
           นอกจากนี้ การที่ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้โครงงาน ทําให้มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับ
ข้อเท็จจริ งซึ่ งจะถูกเชื่อมโยงเข้าเป็ นเรื่ องเดียวกันในลักษณะของสหพันธ์ อันจะสามารถนําไปใช้ใน
สถานการณ์อื่นได้อย่างหลากหลาย
           ในส่ วนของผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากโครงงาน ถือได้วาเป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกัน เพราะทุคนได้เข้ามา
                                                                  ่
มีส่วนร่ วมในการค้นหาคําตอบ หาความหมาย ตลอดจนแนวทางแก้ไขปั ญหา ทําให้เกิดกระบวนการ
ค้นพบ กระบวนการเรี ยนรู ้ นําไปสู่ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และพื้นฐานความรู ้ระหว่างผูเ้ รี ยน
ด้วยกัน

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        17


                                                    ่
               ความสามารถด้านต่าง ๆ ที่มีอยูในตัวผูเ้ รี ยนจะถูกกระตุนให้ได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ขณะที่
                                                                       ้
ปฏิบติกิจกรรม เช่นเดียวกันทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นสําหรับชีวต เช่น ทักษะการทํางาน ทักษะการอยู่
         ั                                            ํ             ิ
ร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ฯลฯ ก็จะถูกนําเอามาใช้อย่างเต็มศักยภาพ ในขณะที่ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้ น
ระหว่างการทําโครงการ รวมทั้งคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมทั้งหลายก็จะถูกปลูกฝังและสังสมในตัว          ่
ผูเ้ รี ยนเช่นกัน ขณะที่ทุกคนร่ วมกันทํางาน ซึ่ งถือว่าเป็ นการปลูกฝังความเป็ นประชาธิ ปไตย
               ในด้านตัวครู การเรี ยนรู ้โดยโครงงานของผูเ้ รี ยน ช่วยทําให้ครู มองเห็นและเข้าใจรู ปแบบการ
เรี ยนรู้ รู ปแบบการคิด ปฏิบติการทางสมองของผูเ้ รี ยน ด้วยการสังเกตจากการแสดงออกการจัดการ และ
                                    ั
การปฏิบติกิจกรรม ตลอดจนการเสนอผลงานของผูเ้ รี ยน
               ั
               การเรี ยนรู ้จากโครงงาน ผูเ้ รี ยนจะได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ส่ งเสริ มการมีปฏิสมพันธ์
                                                                                                        ั
ระหว่างผูเ้ รี ยน ผูสอน ผูปกครอง ชุมชนในหลายรู ปแบบและหลายระดับ ทําให้การเรี ยนรู ้มีความหมาย
                         ้      ้
ต่อผูเ้ รี ยนอย่างแท้จริ งเพราะต้องมีส่วนร่ วมรับผิดชอบว่าต้องเรี ยนรู ้อะไร เพื่ออะไร โดยวิธีใด
               การเรี ยนรู ้จากโครงงานสามารถทําได้ท้ งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา จรกระทัง
                                                          ั                                           ่
ระดับอุดมศึกษา
               สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2548 :33) ได้สรุ ปแนวคิดสําคัญของรู ปแบบการสอนแบบ
โครงงานว่า เป็ นการสอนที่ใช้เทคนิควิธีการหลาย ๆ รู ปแบบมาผสมผสานกัน ร่ วมกันระหว่าง
กระบวนการกลุ่มการสอนคิด การสอนแก้ปัญหา การสอนเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริ ศนา
ความคิด และการสอนแบบขบร่ วมกันคิด ทั้งนี้ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความสนใจ
อยากรู้อยากเรี ยนของผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนการและวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือ        ้
ปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาคําตอบด้วยตนเอง เป็ นการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จาก
           ั
ประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้เบื้องต้น โดยผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปได้ดวยตนเอง ซึ่ งความรู ้ท่ีผเู ้ รี ยน
                                                                                ้
ได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงตําราเรี ยน แต่ผสอนจะต้องสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยจัด
                 ํ                               ู้
แหล่งเรี ยนรู ้ให้แล้วปรับปรุ งความรู ้ที่ได้ให้สมบูรณ์
               การเรี ยนรู ้โดยโครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู ้ หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยน
อยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย
               วราภรณ์ ศุนาลัย (2536:27) ได้ให้ข้ นตอนของการทําโครงงานไว้ ดังนี้
                                                        ั
               5. ขั้นการกําหนดจุดมุ่งหมาย เป็ นขั้นตอนการกําหนดจุดมุ่งหมายของโครงงาน โดยผูเ้ รี ยนเป็ น
ผูวางแผนปฏิบติ และประเมินผลโครงงานด้วยตนเอง ผูสอนคอยดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้ได้โครงงาน
    ้                  ั                                       ้
ที่เหมาะสม
               6. ขั้นวางแผนโครงงาน เมื่อเลือกโครงงานแล้ว ผูเ้ รี ยนร่ วมกันวางแผนว่าจะดําเนินการอย่างไร
เก็บข้อมูลที่ไหน และใช้วธีการใดเลือกทํากิจกรรมที่เหมาะสมกับโครงงานนั้น ๆ
                                  ิ
               7. การปฏิบติ ในชั้นนี้เป็ นการดําเนินการตามแผนที่ตกลงกันไว้ โดยการทําตามขั้นตอนในการ
                              ั
ปฏิบติ ขั้นนี้ถามีปัญหาเกิดขึ้นผูสอนต้องคอยช่วยเหลือ แนะนํา แก้ไข
             ั       ้                ้

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        18


           8. การประเมินผล หลังจากโครงงานเสร็ จสิ้ นแล้วก็มาร่ วมกันประเมินผลว่าการที่ทาไปบรรลุ
                                                                                             ํ
ถึงจุดประสงค์ท่ีวางไว้หรื อไม่ เพียงใด
           ชมนาด เอื้อสุ วรรณทวี (2542 : 53) กําหนดขั้นตอนการทําโครงงานที่ต่างไป ดังนี้
           8. ขั้นกําหนดจุดมุ่งหมาย ผูสอนและผูเ้ รี ยนช่วยกันกําหนดจุดมุ่งหมายให้ชดเจนเพื่อให้การ
                                          ้                                           ั
ดําเนินงานเป็ นไปตามทิศทางเดียวกัน
           9. ขั้นกําหนดโครงงาน ผูสอนและผูเ้ รี ยนช่วยกันคิดและเสนอแนะโครงงานที่น่าสนใจและตรง
                                        ้
จุดมุ่งหมาย อาจเสนอหลาย ๆ โครงงานแล้วเลือกที่มีประโยชน์เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด
ความสนใจและจุดมุ่งหมายที่วางไว้ อาจมอบหมายให้ทาเป็ นรายบุคคลหรื อทําเป็ นกลุ่มขึ้นอยูกบ
                                                             ํ                                 ่ ั
ลักษณะของโครงงาน
           10. ขั้นวางแผนการดําเนินงาน ให้ผเู ้ รี ยนแต่ละคนหรื อกลุ่มช่วยกันทําโครงการทํางานเพื่อเป็ น
แนวทางในการทํางานตามโครงงานให้ประสบผลสําเร็ จ การเขียนโครงงานประกอบด้วยวัตถุประสงค์
วิธีดาเนินงาน อุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณและการประเมินผล
         ํ
           11. ขั้นดําเนินงาน อาจมีประธานโครงงาน เลขานุการและตําแหน่งอื่น ๆ ตามความเหมาะสม
ลงมือทํางานตามแผนงานที่วางไว้ อาจเชิญวิทยากรผูเ้ ชี่ยวชาญมาให้คาปรึ กษาหรื อศึกษาค้นคว้าเอกสาร
                                                                         ํ
ตําราต่าง ๆ
           12. ขั้นแสดงผลงาน เมื่อทําโครงงานบรรลุผลสําเร็ จแล้วควรจะนํามาแสดงภายในห้องเรี ยน
หรื อสถานที่จดนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ ผลงาน
                  ั
           13. ขั้นประเมินผลโครงงาน ผูสอนวัดประเมินผลในด้านต่าง ๆ เช่น ความถูกต้อง ความร่ วมมือ
                                               ้
ในการทํางาน ความสามารถในการนําความรู ้ ทักษะต่าง ๆ ไปใช้
                                             ่
จากแนวคิดทั้งหมดที่กล่าวมาสรุ ปได้วา การเรี ยนรู ้แบบโครงงานคือรู ปแบบการเรี ยนรู ้ท่ีเปิ ดโอกาสให้
ผูเ้ รี ยนได้เลือกเรื่ องหรื อประเด็นที่จะศึกษาด้วยตนเอง ซึ่ งอาจจะเป็ นรายบุคคลหรื อกลุ่มสามารถเลือกวิธี
การศึกษาและแหล่งความรู ้ลงมือปฏิบติดวยตนเองทุกขั้นตอน มีการเชื่อมโยงหรื อบูรณาการระหว่า ง
                                            ั ้
                                                                           ั ้
ความรู้/ทักษะ/ประสบการณ์เดิมกับสิ่ งใหม่ มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบผูอื่น




 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        19




                                             UTQ online e-Training Course
                                                     ใบความรู้ ท่ี 2
                                    เรื่อง “กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน”

        วิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นวิธีการหนึ่งที่ใช้การวิจยและพัฒนาของสภาการศึกษา
                                                                      ั
โดยนําแนวคิดทฤษฎีหลักการ เทคนิคต่าง ๆ จากผูทรงคุณวุฒิและแนวปฏิบติการจัดการเรี ยนรู ้ของครู
                                                 ้                        ั
ต้นแบบทัวประเทศ นํามาวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้วนําไปดําเนินการทดลอง พบว่าวิธีการจัดการเรี ยนรู ้
          ่
แบบโครงงานสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ พุทธิ พิสย ทักษะพิสย และจิตพิสย
                                                                        ั        ั        ั
โดยมีรายละเอียดที่สาคัญ ดังนี้
                    ํ
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงาน
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ได้เสนอแผนลําดับขั้นตอนรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้
โครงงานซึ่ งได้จากการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ของครู ในโครงการครู ตนแบบพร้อมทั้ง
                                                                               ้
ได้นาเสนอขั้นตอนการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ดังนี้
     ํ

   วิเคราะห์หลักสู ตร จัดทําแผนการสอน                                                 1
         กระตุนให้ผเู้ รี ยนเห็นความสําคัญของโครงงาน
              ้                                                                                        2
         นะห์หลักสู ตร จัดทําแผนการสอน                                                                             3
                           ให้ความรู้เรื่ องการทําโครงงาน
                                                                                                                          4
                                คิดและเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงาน
                                                                                                                                     5
                                       ศึกษาเอกสารหรื อค้นคว้าความรู้ในเรื่ องที่จะทํา
                                       ทํา                                                                                                     6
                                                      เขียนเค้าโครงย่อของโครงงาน
                                                                                                                                                          7
                                                            ลงมือปฏิบติ/ศึกษาค้นคว้า/ทําการทดลอง
                                                                     ั
                                                                                                                                                                      8
                                                                                    เขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้า
                                                                                                                                                                             9
                                                                                                นําเสนอผลงาน/จัดนิทรรศการ

   ประเมิน – ชิ้นงาน
   - กระบวนการกลุ่ม
   - กระบวนการทํางาน
                  โดย
   - ครู ผูเ้ รี ยน เพื่อน ผูปกครองและชุมชน
                             ้
 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        20




                          แผนภาพ ลําดับขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ โครงงาน
           ลักษณะเด่ นของรู ปแบบ
การเรี ยนรู ้โดยใช้โครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู ้ หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่
ผูเ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลายเป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู ้ท่ีผเู ้ รี ยนได้เลือกตาม
ความสนใจของตนเองหรื อของกลุ่ม ซึ่ งตัดสิ นใจร่ วมกันโดยใช้วธีการและแหล่งเรี ยนรู ้ท่ีหลากหลาย
                                                                   ิ
ทําให้ได้ชิ้นงานที่สามารถนําผลการศึกษาไปใช้ในชีวตจริ งได้
                                                       ิ
การสอนโดยโครงงาน เป็ นการสอนที่ใช้เทคนิควิธีการหลาย ๆ รู ปแบบมาผสมผสานกัน
ระหว่างกระบวนการกลุ่ม การสอนคิด การสอนแก้ปัญหา การสอนเน้นกระบวนการ การสอนแบบ
ปริ ศนาความคิด และการสอนแบบว่าร่ วมกันคิด ทั้งนี้ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความ
สนใจอยากรู้อยากเรี ยนของผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือ       ้
ปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาคําตอบด้วยตนเอง เป็ นการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จาก
         ั
ประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้เบื้องต้น ผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปความรู ้ได้ดวยตนเอง ซึ่ งความรู ้ท่ีผเู ้ รี ยน
                                                                                 ้
ได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงกับตํารา แต่ผสอนจะต้องสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยจัดแหล่ง
             ํ                           ู้
การเรี ยนรู้ให้แล้วปรับปรุ งความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานทีเ่ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา

                   ขั้นตอนที่ 1                    ขั้นนําเสนอ
                   ขั้นตอนที่ 2                    ขั้นวางแผน
                   ขั้นตอนที่ 3                    ขั้นปฏิบติ
                                                            ั
                   ขั้นตอนที่ 4                    ขั้นประเมินผล
 รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงาน
 1. ขั้นนําเสนอ
 หมายถึง ขั้นที่ครู ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ กําหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์เกมส์
                         ั
รู ปแบบ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคําถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ท่ีกาหนดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่
                                                                    ํ
ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ท่ีเป็ นขั้นตอนของโครงงานเพื่อใช้เป็ น
แนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้
 2. ขั้นวางแผน
   หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อข้อสรุ ปของ
                    ั
กลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ  ั
 3. ขั้นปฏิบัติ



 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        21


   หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรม เขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผน
                   ั          ั
ร่ วมกัน
 4. ขั้นประเมินผล
   หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท่ี
กําหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู นักเรี ยนและเพื่อนร่ วมประเมิน




                                    ตัวอย่ างแผนการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน



                                        แผนการจัดการเรียนรู้ วทยาศาสตร์
                                                              ิ

                   หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารในชีวตประจาวัน
                                                          ิ


                                                      บทที่ 10 สมบัติของสาร




 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        22


                                   แผนการจัดการเรียนรู้ วชาวิทยาศาสตร์
                                                         ิ                                                                                             ลาดับที่
หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารในชีวตประจําวัน
                                       ิ
บทที่ 10 เรื่องย่อย สมบัติของสาร เวลา 1 ชั่วโมง สั ปดาห์ ที่

1. สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร
2. มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ
                          แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ
                          จิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์
3. ตัวชี้วด 1. ทดลองและอธิ บายสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
            ั
4. สาระการเรียนรู้ แกนกลาง สารอาจปรากฏในสถานะของแข็ง ของเหลว หรื อแก๊ส สารทั้งสาม
    สถานะมีสมบัติบางประการเหมือนกันและบางประการแตกต่างกัน
5. จุดประสงค์ การเรียนรู้
 - จําแนกประเภทของสารได้
 - ทดลองสมบัติของสารได้
 - อธิบายสมบัติของสารได้
 - รู ้คุณค่าของสารบางอย่างได้

6. แนวคิดหลัก สารต้องการที่อยู่ มีน้ าหนักและสัมผัสได้ การที่สารต้องการอยูต่างกัน ทําให้
                                     ํ                                    ่
   เกิดสถานะต่างกัน โดยทัวไปแบ่งได้ 3 สถานะ
                         ่
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
    ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้                                                กิจกรรมของครู                                            กิจกรรมของนักเรียน
1. ขั้นนํา                                                   ขั้นนําเข้ าสู่ กจกรรม
                                                                              ิ
                                                                เล่นเกมจําสิ่ งของ โดยให้                                    นักเรี ยนร่ วมกันสังเกตสิ่ งของ
                                                             นักเรี ยนสังเกตสิ่ งของต่าง ๆ ที่                             และตอบคําถามร่ วมกันถึง
                                                             เตรี ยมมา แล้วร่ วมทายสิ่ งของ                                ลักษณะสิ่ งของที่ปรากฏ เพื่อ
                                                             ระบุสถานะพร้อมสรุ ปเพื่อ                                      นําไปสู่ กิจกรรมจําแนกสถานะ
                                                             นําเข้าสู่ บทเรี ยน                                           ของสาร
2. ขั้นวางแผน                                                อภิปรายก่อนกิจกรรม
                                                                     ํ
                                                                ครู กาหนดให้นกเรี ยนสํารวจ
                                                                                 ั                                            นักเรี ยนรับใบงานศึกษา
                                                             สารรอบ ๆ บริ เวณโรงเรี ยน โดย                                 ร่ วมกันโดยร่ วมกันออกแบบ
                                                             กําหนดให้แต่ละกลุ่มศึกษา ตาม                                  วางแผนการสํารวจสาร โดยระบุ


 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        23



    ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้                                                กิจกรรมของครู                                            กิจกรรมของนักเรียน
                                                             สํารวจสารสิ่ งที่พบเห็น เป็ น     เกณฑ์ในการจําแนกได้
                                                             ของแข็ง ของเหลวหรื อก๊าซ
                                                             พร้อมทั้งจําแนกสารด้วยเกณฑ์ที่
                                                             กําหนดได้ถูกต้อง
3. ขั้นปฏิบัติ                                               ขั้นปฏิบัติกจกรรม
                                                                           ิ
                                                             ครู สังเกตการปฏิบติงาของแต่ละ นักเรี ยนร่ วมกันจําแนกสิ่ งของที่
                                                                                 ั
                                                             กลุ่มในการจําแนกสาร               สํารวจรอบ ๆ บริ เวณโรงเรี ยน
                                                                                                                ํ
                                                                                               ด้วยเกณฑ์ที่กาหนด ของแข็ง
                                                                                               ของเหลวและก๊าซ
                                                             อภิปรายหลังกิจกรรม
                                                                ครู สังเกตและห าข้อเสนอแนะ นักเรี ยนนําเสนอผลงาน
                                                             ในการระบุสถานะของสารตาม
                                                                         ํ
                                                             เกณฑ์ที่กาหนด
                                                             สรุ ป
                                                                ครู ร่วมสรุ ปบทเรี ยนถึงสถานะ นักเรี ยนสรุ ปถึงสถานะของ
                                                             ของสารและสมบัติของสารแต่ สารได้
                                                             ละประเภท
4. ขั้นประเมิน                                               ขั้นประเมิน
                                                                ให้นกเรี ยนจัดทํารายงาน
                                                                       ั                        - นักเรี ยนจัดทํารายงานฉบับจิ๋ว
                                                             เล่มเล็ก                          ในหัวข้อ “สาร”
                                                             และทดสอบด้วยแบบทดสอบวัด - นักเรี ยนจัดทําแบบทดสอบ
                                                             ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องการ สัมฤทธิ์ ผลเรื่ องการจําแนกสาร
                                                             จําแนกสาร

8. องค์ ประกอบของกระบวนการเรียนรู้

         สื่ อและอุปกรณ์                                               แหล่ งเรียนรู้                                          วิธีวดผลและประเมินผล
                                                                                                                                    ั
แบบสํารวจสาร                                        ศูนย์วทยาศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม - สังเกตการปฏิบติกิจกรรม
                                                          ิ                                        ั
แบบทดสอบ                                                                            - ตรวจและประเมินผลงานเป็ น
แผนภาพ                                                                              รายบุคคล
สิ่ งของ                                                                            - ผลการทดสอบด้วยแบบทดสอบ

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        24




         สื่ อและอุปกรณ์                                               แหล่ งเรียนรู้                                          วิธีวดผลและประเมินผล
                                                                                                                                    ั
ลูกโป่ ง                                                                                                             วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา
ตัวอย่างสารชนิดต่าง ๆ                                                                                                วิทยาศาสตร์เรื่ อง จําแนกสาร

9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

      ความรู้ ความเข้ าใจ                                        ทักษะกระบวนการ                                                        จิตวิทยาศาสตร์
  นักเรี ยนมีความรู้ ความ    นักเรี ยน ป.6/1 มีทกษะ
                                                ั                                                                      นักเรี ยน ป.6/1 มีจิตวิทยาศาสตร์
                                            ่
เข้าใจเรื่ อง สมบัติของสาร กระบวนการอยูในระดับดีมาก                                                                                           ่
                                                                                                                     ด้านใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนอยูในระดับดีมาก
    ่
อยูในระดับดี                 ป.6/2 มีทกษะกระบวนการอยู่
                                       ั                                                                               ป.6/2 และ ป.6/3 มีจิตวิทยาศาสตร์
  ป.6/1 มีความรู้ความ       ในระดับดี                                                                                                           ่
                                                                                                                     ด้านใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนอยูในระดับพอใช้
            ่
เข้าใจอยูในระดับดีมาก        ป.6/3 มีทกษะกระบวนการอยู่
                                         ั
  ป.6/2 และ ป.6/3 มีความรู้ ในระดับดีมาก
                ่
ความเข้าในอยูในระดับ
พอใช้

10. นักเรียนทีต้องได้ รับการพัฒนาทุกด้ าน
              ่
 เด็กหญิงต่าย คงบุตร ป.6/2

11. นักเรียนทีต้องส่ งเสริมสมรถนะทางวิทยาศาสตร์ สูงขึน
               ่                                     ้
เด็กหญิงศิริลกษณ์ สุ ขปาน ป.6/1
             ั
เด็กหญิงทักษิณ มะคนมอญ                 ป.6/2
เด็กหญิงพิมประภา นาจาอนุรักษ์ ป.6/2




 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        25




                                                                ใบความรู้ เรื่องการจําแนกสาร

วิชาวิทยาศาสตร์                      ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6

                                                                             การจําแนกสาร
การจําแนกประเภทของสาร
 การจําแนกสารออกเป็ นหมวดหมู่ สามารถแบ่งได้หลายวิธี ขึ้นอยูกบเกณฑ์ในการแบ่ง เช่น
                                                           ่ ั
* สถานะของสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ
 1. แก๊ส เช่น แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิ เจน เป็ นต้น
 2. ของเหลว เช่น นํ้า นํ้าเชื่อม เป็ นต้น
 3. ของแข็ง เช่น โลหะ พลาสติก เป็ นต้น
* การนําไฟฟ้ าเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
 1. สารที่นาไฟฟ้ าได้
            ํ
 2. สารที่ไม่นาไฟฟ้ า
               ํ
* ลักษณะเนื้อสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
 1. สารเนื้อเดียว
 2. สารเนื้อผสม

สารเนือเดียว
        ้
1. สารเนื้อเดียว คือ สารที่มองเห็นเป็ นเนื้อเดียว และถ้าตรวจสอบสมบัติของสารจะเหมือนกันทุกส่ วน
อาจมีองค์ประกอบเดียว หรื อหลายองค์ประกอบ แบ่งเป็ นสารบริ สุทธิ์ และสารละลาย
 1.1 สารบริ สุทธิ์ เป็ นสารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ได้แก่ ธาตุและสารประกอบ ซึ่ งก็คือ
สารที่เกิดจากองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด แต่มีอตราส่ วนโดยมวลของสารที่เป็ นองค์ประกอบ
                                                    ั
  1.1.1 ธาตุ                  = ตะกัว ทองคํา เงิน แก๊สออกซิ เจน เหล็ก แก๊สไนโตรเจน เป็ นต้น
                                     ่
ซึ่ งธาตะแบ่งเป็ นโลหะ (เช่น เหล็ก ทองคํา เงิน) อโลหะ (เช่น แก๊สออกซิ เจน แก๊สไนโตรเจน)
กึ่งโลหะ (เช่น อะลูมิเนียม)
  1.1.2 สารประกอบ                      = นํ้าตาลทราย เกลือแกง นํ้า กรดเกลือ เป็ นต้น
 1.2 สารละลาย เป็ นของผสมเนื้อเดียว มีอตราส่ วนโดยมวลของสารที่เป็ นองค์ประกอบไม่คงที่
                                            ั
องค์ประกอบของสารละลายมี 2 ส่ วนคือ
  1.2.1 ตัวทําละลาย คือ สารที่มีปริ มาณมากที่สุดในสารละลาย (กรณี สถานะ
องค์ประกอบเหมือนกัน) หรื อเป็ นสารที่มีสถานะเดียวกับสารละลาย (กรณี สถานะองค์ประกอบต่างกัน)


 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        26


                                          ่ ้
 1.2.2 ตัวละลาย คือ สารที่มีปริ มาณอยูนอยในสารละลาย หรื อมีสถานะต่างจากการ
ละลาย เช่น
   - นํ้าเกลือ เป็ นสารละลาย ประกอบด้วยนํ้าและเกลือ
   พิจารณา นํ้าเกลือ มีสถานะเป็ นของเหลว และนํ้าก็มีสถานะเป็ นของเหลว
ดังนั้น นํ้าจึงเป็ นตัวทําละลาย ส่ วนเกลือ เป็ นของแข็ง จึงเป็ นตัวละลาย
                             - อากาศ เป็ นสารละลาย ประกอบด้วย
    1) แก๊สไนโตรเจน ประมาณ 78                                        %
                                     2) แก๊สออกซิ เจน 21%
                                     3) แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่ อย 1%
   พิจารณา อากาศมีองค์ประกอบสถานะเดียวกัน คือ แก๊ส จึงต้องดูปริ มาณสาร
ที่เป็ นองค์ประกอบ ดังนั้น แก๊สไนโตรเจน เป็ นตัวทําละลาย (มีปริ มาณมากกว่า) ส่ วนแก๊สออกซิ เจน
แก๊สคาร์ บอนออกไซด์ และแก๊สเฉื่ อยเป็ นตัวละลาย




 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                         27


                                                             รายงานฉบับจิ๋ว เรื่องสาร
วิชาวิทยาศาสตร์                                                  ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553
ชื่อ.........................................................ชั้ น........................เลขที.่ ......................คะแนน............................

สารแบ่ งเป็ น.......................สถานะ                                                    สารเคมี คือ............................................................
ได้ แก่ ......................................................................               ...............................................................................
...............................................................................              ...................................
...............................................................................              ตัวอย่างสารเคมี......................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ................................................................................
.........................................                                                    ................................................................................
จงหาข่ าววิทยาศาสตร์ ทีเ่ กียวกับสถานะของสาร
                                           ่                                                 จงรวบรวมการใช้ ประโยชน์ จากสารเคมี
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
.........................................                                                    .........................................
สารชนิดต่ าง ๆ มีประโยชน์ อย่างไร                                                            นํา กับ ดิน แตกต่ างกันอย่างไร
                                                                                                ้
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
...............................................................................              ...............................................................................
.........................................                                                    .........................................

  utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                           ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        28


                                   แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การจําแนกสาร

วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จํานวน 10 ข้ อ 10 คะแนน

คําชี้แจง แบบทดสอบชุ ดนีเ้ ป็ นแบบเลือกตอบ ให้ นักเรียนเลือกข้ อทีถูกทีสุดเพียงข้ อเดียว
                                                                   ่ ่
            โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ
1. สาร แบ่ งได้ เป็ นประเภทใดบ้ าง               6. สารข้ อใด มีสมบัติทนทาน
   ก. ของแข็ง ของเหลว                                ก. กระดาษชําระ
   ข. ของเหลว ก๊าซ                                   ข. แก้ว
   ค. ของดี ของเสี ย                                 ค. เหล็ก
   ง. ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ                           ง. แป้ ง
2. สารข้ อใด เป็ นของแข็ง                        7. สารใด เกิดสนิมได้ ง่ายทีสุด
                                                                              ่
   ก. นํ้ามันพืช                                     ก. โลหะ
   ข. นํ้ามันสัตว์                                   ข. อโลหะ
   ค. แชมพู                                          ค. นํ้า
   ง. นํ้าตาลทราย                                    ง. อากาศ
3. สารข้ อใด เป็ นของเหลว                        8. สารใดเกิดการระเหยได้ ง่ายทีสุด ่
   ก. นํ้าตาลปึ ก                                    ก. เบนซิน
   ข. ทราย กรวด                                      ข. นํ้ามันพืช
   ค. อลูมิเนียม                                     ค. เกลือป่ น
   ง. จาระบี                                         ง. ลูกเหม็น
4. สารข้ อใด เป็ นก๊าซ                           9. สารใด เกิดการระเหิด
   ก. คาร์บอน                                        ก. แชมพู
   ข. เพชร                                           ข. นํ้ายาล้างจาน
   ค. เหล็ก                                          ค. แอลกอฮอล์
   ง. ไฮโดรเจน                                       ง. ก้อนดับกลิ่น
5. สารข้ อใด มีสมบัตลุกติดไฟ
                       ิ                         10. การเปลียนสถานะของสารได้ อย่างรวดเร็ว
                                                                ่
   ก. เกลือป่ น                                  ต้ องอาศัยสิ่ งใด
   ข. นํ้าเชื่อม                                     ก. ความร้อน
   ค. นํ้ามันพืช                                     ข. ปริ มาณสาร
   ง. แอลกอฮอล์                                      ค. ชนิดของสาร
                                                     ง. สถานะของสาร

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        29




                                           UTQ online e-Training Course
                                                    ใบความรู้ ที่ 3
                                  เรื่อง “คุณค่ าของการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน”


                คุณค่าของการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน มีคุณค่าหรื อประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ ดังนี้
 ผู้เรียนมีคุณค่ าด้ านการพัฒนาแห่ งตน 4 ด้ าน
1. ทักษะการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองและสามารถสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ ใหม่
       ด้ วยตนเอง การแสวงหาความรู ้น้ นต้องมีการวางแผน ออกแบบ กระบวนการสร้างองค์ความรู ้ใหม่
                                             ั
       เช่น การค้นคว้าทางอินเตอร์ เน็ต การสอนตามจากภูมิปัญญาท้องถิ่น
2. ทักษะการคิดสร้ างสรรค์ ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงความคิดร่ วมกัน ระดมสมอง ในหัวข้อที่ออกแบบ
       โครงงาน โดยแสดงการคิดสร้างสรรค์ของตนและของกลุ่มร่ วมกัน จินตนาการที่เกิดขึ้นจากทักษะ
       การคิดสร้างสรรค์ จะทําให้ผเู ้ รี ยนคิดแปลกใหม่ เป็ นประโยชน์ต่อส่ วนรวม เช่น การประดิษฐ์เครื่ อง
       ทําทองหยอด ฝอยทอง เทคโนโลยีการเกษตรต่าง ๆ
3. ทักษะทางอารมณ์ ผูเ้ รี ยนเมื่อทํางานร่ วมกัน แสดงความคิดเห็นร่ วมกัน จําเป็ นต้อง
       มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ดังนั้น การปรับตัวเข้าหากันทําให้เกิดทักษะทางอารมณ์ของผูเ้ รี ยนดีข้ ึน มีการ
       ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อน ๆ มีความเป็ นกัลยาณมิตร
4. ทักษะการสื่ อสาร หรื อ ทักษะการนําเสนอ ผูเ้ รี ยนเมื่อเกิดการเรี ยนรู ้ในกระบวนการทําโครงงาน
       ผูเ้ รี ยนเกิดการพัฒนาด้านการนําเสนอผลการเรี ยนรู ้ของกลุ่มตนด้วยทักษะการสื่ อสาร หรื อทักษะ
       การนําเสนอผลงานของตนหรื อกลุ่มของตนเอง ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงออกด้วยทักษะการนําเสนอ
       ได้แก่
                        - การนําเสนอด้ วยวาจา สามารถพูดหรื อบรรยาย อธิ บาย อภิปราย ในสิ่ งที่ปฏิบติมา   ั
                           อาจจะใช้สื่อประกอบ เช่น แผ่นใส พาวเวอร์ พอยท์ วิดีทศน์
                                                                       ้            ั
                        - การนําเสนอด้ วยแผงงาน หรื อ แผงโครงงาน ต้องอาศัยศิลปะของการนําเสนอ
                           อาจมีการจัดทํา ตกแต่งด้วยตนเอง
 สรุ ปว่า คุณค่าของการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานทําให้ผเู ้ รี ยนมีการพัฒนาตนโดยเกิดการ
พัฒนาด้านทักษะการเรี ยนรู ้ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะทางอารมณ์ และทักษะการสื่ อสาร สิ่ งที่
เกิดขึ้นในการพัฒนา ผูเ้ รี ยนจะพบว่าผูเ้ รี ยนมีความฉลาดหลาย ๆ ด้าน เช่น ความฉลาดทางด้าน
สติปัญญา (I.Q) ความฉลาดทางด้านอารมณ์ (E.Q) ความฉลาดทางด้านความอดทน ( A.Q) ความฉลาด
ทางด้านทํางานเป็ นทีม ( T.Q) ความฉลาดทางด้านคุณธรรม ( M.Q) ความฉลาดทางด้านการเป็ นผูนา                    ้ ํ

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        30


(R.Q) เป็ นต้น การพัฒนาผูเ้ รี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการ
เรี ยนรู ้ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ทําให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ดานพุทธิ พิสย ทักษะพิสย และจิต
                                                                             ้          ั         ั
พิสัยสู งขึ้น




 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        31



                            UTQ online e-Training Course
                                     ใบความรู้ ที่ 4
            เรื่อง “บทบาทของผู้ สอนและผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน”




บทบาทครู และผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน โดยมีข้ นตอนจัดการเรี ยนรู ้แบบ
                                                              ั
โครงงาน ต้องเข้าใจและทําความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละขั้นตอน ดังนี้

ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้
ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานทีเ่ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา
              ขั้นตอนที่ 1                ขั้นนําเสนอ
              ขั้นตอนที่ 2                ขั้นวางแผน
              ขั้นตอนที่ 3                ขั้นปฏิบติ
                                                   ั
              ขั้นตอนที่ 4                ขั้นประเมินผล

ความหมายของแต่ ละขั้นตอน
 1. ขั้นนําเสนอ
 หมายถึง ขั้นที่ครู ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ กําหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์เกมส์
                         ั
รู ปแบบ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคําถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ท่ีกาหนดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่
                                                                    ํ
ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ท่ีเป็ นขั้นตอนของโครงงานเพื่อใช้เป็ น
แนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้
 2. ขั้นวางแผน
   หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อข้อสรุ ปของ
                    ั
กลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ  ั
 3. ขั้นปฏิบัติ
   หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรม เขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผน
                      ั         ั
ร่ วมกัน
 4. ขั้นประเมินผล
   หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท่ี
กําหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู นักเรี ยนและเพื่อนร่ วมประเมิน

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่
รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน
                                  ่                                                                                                                                        32


 เมื่อครู เข้าใจความหมายของแต่ละขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานแล้ว ต้องทําความ
เข้าใจบทบาทของครู และผูเ้ รี ยน โดยมีรายละเอียดของการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนี้
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนแสดงตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้

                 บทบาทของผู้สอน                                             ขั้นตอนการจัดการ                                        บทบาทของผู้เรียน
                                                                           เรียนรู้ แบบโครงงาน
1. จัดให้มีการปฐมนิเทศวิธีการเรี ยนรู้                                                                               1. เสนอแนวคิด เลือก และกําหนด
แบบโครงงานเพื่อให้รู้ถึงหลักการ                                                    ขั้นนําเสนอ                       หัวข้อโครงงาน
วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ตัวแปร ปัจจัย
สําคัญในการทําโครงงาน ปัญหาและ
อุปสรรคต่าง ๆ อันอาจเกิดขึ้น
2. ให้คาปรึ กษาในการดําเนินงาน
           ํ                                                                                                         2. เสนอแนวทาง ออกแบบการทํา
ของผูเ้ รี ยนทุกขั้นตอน                                                            ขั้นวางแผน                        โครงงาน
                                                                                                                     3. วางแผนร่ วมกันในการเรี ยนรู ้
                                                                                                                     แบบโครงงาน
                                                                                                                     4. ศึกษาค้นคว้าเอกสารเพิ่มเติมจาก
                                                                                                                     แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ
                                                                                                                     5. เสนอเค้าโครงย่อของโครงงาน
                                                                                                                     ต่อผูสอน
                                                                                                                          ้
3. ติดตาม สอบถามความก้าวหน้า ดูแล                                                                                    6. ลงมือปฏิบติโครงงานตาม
                                                                                                                                      ั
การทําโครงงานของผูเ้ รี ยนอย่างใกล้ชิด                                               ขั้นปฏิบัติ                     ขั้นตอนที่วางแผนไว้
                                                                                                                     7. รวบรมผลการทําโครงงาน
                                                                                                                     8. เสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุ งผล
                                                                                                                     การทําโครงงาน
                                                                                                                     9. เขียนรายงานหรื อนําเสนอผลงาน
                                                                                                                     โครงงานต่อครู ผสอน  ู้
                                                                                                                     10. เผยแพร่ ผลงานต่อสาธารณชน
4. สังเกตและประเมินการทํากิจกรรม                                                                                     11. ประเมินผลการเรี ยนรู้แบบ
ของผูเ้ รี ยน                                                                   ขั้นประเมินผล                        โครงงานของตนเอง
5. สรุ ปการทํางานและเสนอแนะการ
ทํางานของผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มโดยรวม

 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย.
                                          ้ ้                                                                                 ่            ่

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาNisachol Poljorhor
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Pateemoh254
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้Piyatida Krunsuntia
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 

What's hot (9)

บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ความหมาย พัฒนาการ และขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้ภาระกิจการเรียนรู้
ภาระกิจการเรียนรู้
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

Similar to Utq 2128 1-pdf

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะPiyamas Songtronge
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะPiyamas Songtronge
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 

Similar to Utq 2128 1-pdf (20)

Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
ใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะใบงานที่1น้ะ
ใบงานที่1น้ะ
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
ใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะใบงานที่1จ้ะ
ใบงานที่1จ้ะ
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
งาน2 8
งาน2 8งาน2 8
งาน2 8
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 

Utq 2128 1-pdf

  • 1. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 16 UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ท่ี 1 เรื่อง “ความหมาย ความสํ าคัญและแนวคิดสํ าคัญของการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน” 1. แนวคิดทฤษฎีทเี่ กียวข้ องกับการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน ่ แนวคิดหลักของรู ปแบบการจัดกระบวนการเรี ยนรู้แบบโครงงาน แนวคิดที่ตองมีการปฏิรูปวิธีการเรี ยนรู ้แบบใหม่ เป็ นสิ่ งจําเป็ นเพื่อกระตุนและเร่ งรัดให้เกิดผล ้ ้ ในทางการปฏิบติอย่างจริ งจัง จากผูที่ทาหน้าที่เป็ นครู หรื อผูสอนทุกคนซึ่ งจะต้องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ั ้ ํ ้ การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้จากเดิมคือเป็ นผูสั่ง บรรยาย บอก มาเป็ นผูกระตุน ผูอานวยความสะดวก ้ ้ ้ ้ํ ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนรู ้ดวยตนเองอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งสอดคล้องกับกรมวิชาการ ้ กระทรวงศึกษาธิการ (2554) ได้กล่าวไว้เกี่ยวกับรู ปแบบการเรี ยนรู ้แบบโครงงานว่าโครงงานเป็ น กิจกรรมการเรี ยนรู ้รูปแบบหนึ่งที่ทาให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดวยตนเองจากการลงมือปฏิบติจริ งในลักษณะ ํ ้ ั ของการศึกษา การสํารวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์ คิดค้น โดยมีครู เป็ นผูคอยกระตุน แนะนําและ ้ ้ ให้คาปรึ กษาอย่างใกล้ชิด ํ โครงงานเป็ นสะพานเชื่อมระหว่างห้องเรี ยนกับโลกภายนอกซึ่ งเป็ นชีวตจริ งของผูเ้ รี ยน ทั้งนี้ ิ เพราะว่า - ผูเ้ รี ยนต้องนําเอาความรู ้ท่ีได้จากชั้นเรี ยนมาบูรณาการเข้ากับกิจกรรมที่จะกระทําเพื่อนําไปสู่ ความรู ้ใหม่ ๆ ด้วยการสร้างความหมาย การแก้ปัญหาและการค้นพบตนเอง ่ ั - ผูเ้ รี ยนต้องสร้างและกําหนดความรู ้ จากความคิดและแนวคิดที่มีอยูกบความคิดและแนวคิดที่ เกิดขึ้นใหม่ ทําให้เกิดการปรับเปลี่ยนความรู ้ให้เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้สิ่งใหม่ นอกจากนี้ การที่ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้โครงงาน ทําให้มองเห็นความสัมพันธ์ระหว่างความคิดกับ ข้อเท็จจริ งซึ่ งจะถูกเชื่อมโยงเข้าเป็ นเรื่ องเดียวกันในลักษณะของสหพันธ์ อันจะสามารถนําไปใช้ใน สถานการณ์อื่นได้อย่างหลากหลาย ในส่ วนของผูเ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จากโครงงาน ถือได้วาเป็ นการเรี ยนรู ้ร่วมกัน เพราะทุคนได้เข้ามา ่ มีส่วนร่ วมในการค้นหาคําตอบ หาความหมาย ตลอดจนแนวทางแก้ไขปั ญหา ทําให้เกิดกระบวนการ ค้นพบ กระบวนการเรี ยนรู ้ นําไปสู่ การแลกเปลี่ยนประสบการณ์และพื้นฐานความรู ้ระหว่างผูเ้ รี ยน ด้วยกัน utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 2. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 17 ่ ความสามารถด้านต่าง ๆ ที่มีอยูในตัวผูเ้ รี ยนจะถูกกระตุนให้ได้แสดงออกมาอย่างเต็มที่ขณะที่ ้ ปฏิบติกิจกรรม เช่นเดียวกันทักษะต่าง ๆ ที่จาเป็ นสําหรับชีวต เช่น ทักษะการทํางาน ทักษะการอยู่ ั ํ ิ ร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ฯลฯ ก็จะถูกนําเอามาใช้อย่างเต็มศักยภาพ ในขณะที่ร่วมกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้ น ระหว่างการทําโครงการ รวมทั้งคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมทั้งหลายก็จะถูกปลูกฝังและสังสมในตัว ่ ผูเ้ รี ยนเช่นกัน ขณะที่ทุกคนร่ วมกันทํางาน ซึ่ งถือว่าเป็ นการปลูกฝังความเป็ นประชาธิ ปไตย ในด้านตัวครู การเรี ยนรู ้โดยโครงงานของผูเ้ รี ยน ช่วยทําให้ครู มองเห็นและเข้าใจรู ปแบบการ เรี ยนรู้ รู ปแบบการคิด ปฏิบติการทางสมองของผูเ้ รี ยน ด้วยการสังเกตจากการแสดงออกการจัดการ และ ั การปฏิบติกิจกรรม ตลอดจนการเสนอผลงานของผูเ้ รี ยน ั การเรี ยนรู ้จากโครงงาน ผูเ้ รี ยนจะได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ ส่ งเสริ มการมีปฏิสมพันธ์ ั ระหว่างผูเ้ รี ยน ผูสอน ผูปกครอง ชุมชนในหลายรู ปแบบและหลายระดับ ทําให้การเรี ยนรู ้มีความหมาย ้ ้ ต่อผูเ้ รี ยนอย่างแท้จริ งเพราะต้องมีส่วนร่ วมรับผิดชอบว่าต้องเรี ยนรู ้อะไร เพื่ออะไร โดยวิธีใด การเรี ยนรู ้จากโครงงานสามารถทําได้ท้ งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา จรกระทัง ั ่ ระดับอุดมศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2548 :33) ได้สรุ ปแนวคิดสําคัญของรู ปแบบการสอนแบบ โครงงานว่า เป็ นการสอนที่ใช้เทคนิควิธีการหลาย ๆ รู ปแบบมาผสมผสานกัน ร่ วมกันระหว่าง กระบวนการกลุ่มการสอนคิด การสอนแก้ปัญหา การสอนเน้นกระบวนการ การสอนแบบปริ ศนา ความคิด และการสอนแบบขบร่ วมกันคิด ทั้งนี้ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนเรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความสนใจ อยากรู้อยากเรี ยนของผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนการและวิชาการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือ ้ ปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาคําตอบด้วยตนเอง เป็ นการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จาก ั ประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้เบื้องต้น โดยผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปได้ดวยตนเอง ซึ่ งความรู ้ท่ีผเู ้ รี ยน ้ ได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงตําราเรี ยน แต่ผสอนจะต้องสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยจัด ํ ู้ แหล่งเรี ยนรู ้ให้แล้วปรับปรุ งความรู ้ที่ได้ให้สมบูรณ์ การเรี ยนรู ้โดยโครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู ้ หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่ผเู ้ รี ยน อยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลาย วราภรณ์ ศุนาลัย (2536:27) ได้ให้ข้ นตอนของการทําโครงงานไว้ ดังนี้ ั 5. ขั้นการกําหนดจุดมุ่งหมาย เป็ นขั้นตอนการกําหนดจุดมุ่งหมายของโครงงาน โดยผูเ้ รี ยนเป็ น ผูวางแผนปฏิบติ และประเมินผลโครงงานด้วยตนเอง ผูสอนคอยดูแลและช่วยเหลือเพื่อให้ได้โครงงาน ้ ั ้ ที่เหมาะสม 6. ขั้นวางแผนโครงงาน เมื่อเลือกโครงงานแล้ว ผูเ้ รี ยนร่ วมกันวางแผนว่าจะดําเนินการอย่างไร เก็บข้อมูลที่ไหน และใช้วธีการใดเลือกทํากิจกรรมที่เหมาะสมกับโครงงานนั้น ๆ ิ 7. การปฏิบติ ในชั้นนี้เป็ นการดําเนินการตามแผนที่ตกลงกันไว้ โดยการทําตามขั้นตอนในการ ั ปฏิบติ ขั้นนี้ถามีปัญหาเกิดขึ้นผูสอนต้องคอยช่วยเหลือ แนะนํา แก้ไข ั ้ ้ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 3. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 18 8. การประเมินผล หลังจากโครงงานเสร็ จสิ้ นแล้วก็มาร่ วมกันประเมินผลว่าการที่ทาไปบรรลุ ํ ถึงจุดประสงค์ท่ีวางไว้หรื อไม่ เพียงใด ชมนาด เอื้อสุ วรรณทวี (2542 : 53) กําหนดขั้นตอนการทําโครงงานที่ต่างไป ดังนี้ 8. ขั้นกําหนดจุดมุ่งหมาย ผูสอนและผูเ้ รี ยนช่วยกันกําหนดจุดมุ่งหมายให้ชดเจนเพื่อให้การ ้ ั ดําเนินงานเป็ นไปตามทิศทางเดียวกัน 9. ขั้นกําหนดโครงงาน ผูสอนและผูเ้ รี ยนช่วยกันคิดและเสนอแนะโครงงานที่น่าสนใจและตรง ้ จุดมุ่งหมาย อาจเสนอหลาย ๆ โครงงานแล้วเลือกที่มีประโยชน์เหมาะสมกับความสามารถ ความถนัด ความสนใจและจุดมุ่งหมายที่วางไว้ อาจมอบหมายให้ทาเป็ นรายบุคคลหรื อทําเป็ นกลุ่มขึ้นอยูกบ ํ ่ ั ลักษณะของโครงงาน 10. ขั้นวางแผนการดําเนินงาน ให้ผเู ้ รี ยนแต่ละคนหรื อกลุ่มช่วยกันทําโครงการทํางานเพื่อเป็ น แนวทางในการทํางานตามโครงงานให้ประสบผลสําเร็ จ การเขียนโครงงานประกอบด้วยวัตถุประสงค์ วิธีดาเนินงาน อุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณและการประเมินผล ํ 11. ขั้นดําเนินงาน อาจมีประธานโครงงาน เลขานุการและตําแหน่งอื่น ๆ ตามความเหมาะสม ลงมือทํางานตามแผนงานที่วางไว้ อาจเชิญวิทยากรผูเ้ ชี่ยวชาญมาให้คาปรึ กษาหรื อศึกษาค้นคว้าเอกสาร ํ ตําราต่าง ๆ 12. ขั้นแสดงผลงาน เมื่อทําโครงงานบรรลุผลสําเร็ จแล้วควรจะนํามาแสดงภายในห้องเรี ยน หรื อสถานที่จดนิทรรศการเพื่อเผยแพร่ ผลงาน ั 13. ขั้นประเมินผลโครงงาน ผูสอนวัดประเมินผลในด้านต่าง ๆ เช่น ความถูกต้อง ความร่ วมมือ ้ ในการทํางาน ความสามารถในการนําความรู ้ ทักษะต่าง ๆ ไปใช้ ่ จากแนวคิดทั้งหมดที่กล่าวมาสรุ ปได้วา การเรี ยนรู ้แบบโครงงานคือรู ปแบบการเรี ยนรู ้ท่ีเปิ ดโอกาสให้ ผูเ้ รี ยนได้เลือกเรื่ องหรื อประเด็นที่จะศึกษาด้วยตนเอง ซึ่ งอาจจะเป็ นรายบุคคลหรื อกลุ่มสามารถเลือกวิธี การศึกษาและแหล่งความรู ้ลงมือปฏิบติดวยตนเองทุกขั้นตอน มีการเชื่อมโยงหรื อบูรณาการระหว่า ง ั ้ ั ้ ความรู้/ทักษะ/ประสบการณ์เดิมกับสิ่ งใหม่ มีโอกาสแลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้กบผูอื่น utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 4. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 19 UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ท่ี 2 เรื่อง “กระบวนการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน” วิธีการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน เป็ นวิธีการหนึ่งที่ใช้การวิจยและพัฒนาของสภาการศึกษา ั โดยนําแนวคิดทฤษฎีหลักการ เทคนิคต่าง ๆ จากผูทรงคุณวุฒิและแนวปฏิบติการจัดการเรี ยนรู ้ของครู ้ ั ต้นแบบทัวประเทศ นํามาวิเคราะห์ สังเคราะห์แล้วนําไปดําเนินการทดลอง พบว่าวิธีการจัดการเรี ยนรู ้ ่ แบบโครงงานสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนได้ครอบคลุมทุกด้าน ได้แก่ พุทธิ พิสย ทักษะพิสย และจิตพิสย ั ั ั โดยมีรายละเอียดที่สาคัญ ดังนี้ ํ ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงาน สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2547) ได้เสนอแผนลําดับขั้นตอนรู ปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ โครงงานซึ่ งได้จากการสังเคราะห์รูปแบบการจัดการเรี ยนรู ้ของครู ในโครงการครู ตนแบบพร้อมทั้ง ้ ได้นาเสนอขั้นตอนการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ดังนี้ ํ วิเคราะห์หลักสู ตร จัดทําแผนการสอน 1 กระตุนให้ผเู้ รี ยนเห็นความสําคัญของโครงงาน ้ 2 นะห์หลักสู ตร จัดทําแผนการสอน 3 ให้ความรู้เรื่ องการทําโครงงาน 4 คิดและเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงาน 5 ศึกษาเอกสารหรื อค้นคว้าความรู้ในเรื่ องที่จะทํา ทํา 6 เขียนเค้าโครงย่อของโครงงาน 7 ลงมือปฏิบติ/ศึกษาค้นคว้า/ทําการทดลอง ั 8 เขียนรายงานผลการศึกษาค้นคว้า 9 นําเสนอผลงาน/จัดนิทรรศการ ประเมิน – ชิ้นงาน - กระบวนการกลุ่ม - กระบวนการทํางาน โดย - ครู ผูเ้ รี ยน เพื่อน ผูปกครองและชุมชน ้ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 5. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 20 แผนภาพ ลําดับขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ โครงงาน ลักษณะเด่ นของรู ปแบบ การเรี ยนรู ้โดยใช้โครงงานเป็ นกระบวนการแสวงหาความรู ้ หรื อค้นคว้าหาคําตอบในสิ่ งที่ ผูเ้ รี ยนอยากรู ้หรื อสงสัยด้วยวิธีการต่าง ๆ อย่างหลากหลายเป็ นรู ปแบบการเรี ยนรู ้ท่ีผเู ้ รี ยนได้เลือกตาม ความสนใจของตนเองหรื อของกลุ่ม ซึ่ งตัดสิ นใจร่ วมกันโดยใช้วธีการและแหล่งเรี ยนรู ้ท่ีหลากหลาย ิ ทําให้ได้ชิ้นงานที่สามารถนําผลการศึกษาไปใช้ในชีวตจริ งได้ ิ การสอนโดยโครงงาน เป็ นการสอนที่ใช้เทคนิควิธีการหลาย ๆ รู ปแบบมาผสมผสานกัน ระหว่างกระบวนการกลุ่ม การสอนคิด การสอนแก้ปัญหา การสอนเน้นกระบวนการ การสอนแบบ ปริ ศนาความคิด และการสอนแบบว่าร่ วมกันคิด ทั้งนี้ มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนรู ้เรื่ องใดเรื่ องหนึ่งจากความ สนใจอยากรู้อยากเรี ยนของผูเ้ รี ยนเอง โดยใช้กระบวนและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ผูเ้ รี ยนจะเป็ นผูลงมือ ้ ปฏิบติกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อค้นหาคําตอบด้วยตนเอง เป็ นการสอนที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้จาก ั ประสบการณ์ตรงกับแหล่งความรู ้เบื้องต้น ผูเ้ รี ยนสามารถสรุ ปความรู ้ได้ดวยตนเอง ซึ่ งความรู ้ท่ีผเู ้ รี ยน ้ ได้มาไม่จาเป็ นต้องตรงกับตํารา แต่ผสอนจะต้องสนับสนุนให้ผเู ้ รี ยนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยจัดแหล่ง ํ ู้ การเรี ยนรู้ให้แล้วปรับปรุ งความรู้ที่ได้ให้สมบูรณ์ ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานทีเ่ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนําเสนอ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นปฏิบติ ั ขั้นตอนที่ 4 ขั้นประเมินผล รายละเอียดขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงาน 1. ขั้นนําเสนอ หมายถึง ขั้นที่ครู ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ กําหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์เกมส์ ั รู ปแบบ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคําถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ท่ีกาหนดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ ํ ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ท่ีเป็ นขั้นตอนของโครงงานเพื่อใช้เป็ น แนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้ 2. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อข้อสรุ ปของ ั กลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ ั 3. ขั้นปฏิบัติ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 6. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 21 หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรม เขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผน ั ั ร่ วมกัน 4. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท่ี กําหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู นักเรี ยนและเพื่อนร่ วมประเมิน ตัวอย่ างแผนการจัดการเรี ยนรู้แบบโครงงาน แผนการจัดการเรียนรู้ วทยาศาสตร์ ิ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารในชีวตประจาวัน ิ บทที่ 10 สมบัติของสาร utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 7. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 22 แผนการจัดการเรียนรู้ วชาวิทยาศาสตร์ ิ ลาดับที่ หน่ วยการเรียนรู้ ที่ 3 เรื่อง สารในชีวตประจําวัน ิ บทที่ 10 เรื่องย่อย สมบัติของสาร เวลา 1 ชั่วโมง สั ปดาห์ ที่ 1. สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 2. มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู ้และ จิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนําความรู ้ไปใช้ประโยชน์ 3. ตัวชี้วด 1. ทดลองและอธิ บายสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ั 4. สาระการเรียนรู้ แกนกลาง สารอาจปรากฏในสถานะของแข็ง ของเหลว หรื อแก๊ส สารทั้งสาม สถานะมีสมบัติบางประการเหมือนกันและบางประการแตกต่างกัน 5. จุดประสงค์ การเรียนรู้ - จําแนกประเภทของสารได้ - ทดลองสมบัติของสารได้ - อธิบายสมบัติของสารได้ - รู ้คุณค่าของสารบางอย่างได้ 6. แนวคิดหลัก สารต้องการที่อยู่ มีน้ าหนักและสัมผัสได้ การที่สารต้องการอยูต่างกัน ทําให้ ํ ่ เกิดสถานะต่างกัน โดยทัวไปแบ่งได้ 3 สถานะ ่ 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน 1. ขั้นนํา ขั้นนําเข้ าสู่ กจกรรม ิ เล่นเกมจําสิ่ งของ โดยให้ นักเรี ยนร่ วมกันสังเกตสิ่ งของ นักเรี ยนสังเกตสิ่ งของต่าง ๆ ที่ และตอบคําถามร่ วมกันถึง เตรี ยมมา แล้วร่ วมทายสิ่ งของ ลักษณะสิ่ งของที่ปรากฏ เพื่อ ระบุสถานะพร้อมสรุ ปเพื่อ นําไปสู่ กิจกรรมจําแนกสถานะ นําเข้าสู่ บทเรี ยน ของสาร 2. ขั้นวางแผน อภิปรายก่อนกิจกรรม ํ ครู กาหนดให้นกเรี ยนสํารวจ ั นักเรี ยนรับใบงานศึกษา สารรอบ ๆ บริ เวณโรงเรี ยน โดย ร่ วมกันโดยร่ วมกันออกแบบ กําหนดให้แต่ละกลุ่มศึกษา ตาม วางแผนการสํารวจสาร โดยระบุ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 8. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 23 ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ กิจกรรมของครู กิจกรรมของนักเรียน สํารวจสารสิ่ งที่พบเห็น เป็ น เกณฑ์ในการจําแนกได้ ของแข็ง ของเหลวหรื อก๊าซ พร้อมทั้งจําแนกสารด้วยเกณฑ์ที่ กําหนดได้ถูกต้อง 3. ขั้นปฏิบัติ ขั้นปฏิบัติกจกรรม ิ ครู สังเกตการปฏิบติงาของแต่ละ นักเรี ยนร่ วมกันจําแนกสิ่ งของที่ ั กลุ่มในการจําแนกสาร สํารวจรอบ ๆ บริ เวณโรงเรี ยน ํ ด้วยเกณฑ์ที่กาหนด ของแข็ง ของเหลวและก๊าซ อภิปรายหลังกิจกรรม ครู สังเกตและห าข้อเสนอแนะ นักเรี ยนนําเสนอผลงาน ในการระบุสถานะของสารตาม ํ เกณฑ์ที่กาหนด สรุ ป ครู ร่วมสรุ ปบทเรี ยนถึงสถานะ นักเรี ยนสรุ ปถึงสถานะของ ของสารและสมบัติของสารแต่ สารได้ ละประเภท 4. ขั้นประเมิน ขั้นประเมิน ให้นกเรี ยนจัดทํารายงาน ั - นักเรี ยนจัดทํารายงานฉบับจิ๋ว เล่มเล็ก ในหัวข้อ “สาร” และทดสอบด้วยแบบทดสอบวัด - นักเรี ยนจัดทําแบบทดสอบ ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนเรื่ องการ สัมฤทธิ์ ผลเรื่ องการจําแนกสาร จําแนกสาร 8. องค์ ประกอบของกระบวนการเรียนรู้ สื่ อและอุปกรณ์ แหล่ งเรียนรู้ วิธีวดผลและประเมินผล ั แบบสํารวจสาร ศูนย์วทยาศาสตร์ และสิ่ งแวดล้อม - สังเกตการปฏิบติกิจกรรม ิ ั แบบทดสอบ - ตรวจและประเมินผลงานเป็ น แผนภาพ รายบุคคล สิ่ งของ - ผลการทดสอบด้วยแบบทดสอบ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 9. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 24 สื่ อและอุปกรณ์ แหล่ งเรียนรู้ วิธีวดผลและประเมินผล ั ลูกโป่ ง วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนวิชา ตัวอย่างสารชนิดต่าง ๆ วิทยาศาสตร์เรื่ อง จําแนกสาร 9. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้ ความรู้ ความเข้ าใจ ทักษะกระบวนการ จิตวิทยาศาสตร์ นักเรี ยนมีความรู้ ความ นักเรี ยน ป.6/1 มีทกษะ ั นักเรี ยน ป.6/1 มีจิตวิทยาศาสตร์ ่ เข้าใจเรื่ อง สมบัติของสาร กระบวนการอยูในระดับดีมาก ่ ด้านใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนอยูในระดับดีมาก ่ อยูในระดับดี ป.6/2 มีทกษะกระบวนการอยู่ ั ป.6/2 และ ป.6/3 มีจิตวิทยาศาสตร์ ป.6/1 มีความรู้ความ ในระดับดี ่ ด้านใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยนอยูในระดับพอใช้ ่ เข้าใจอยูในระดับดีมาก ป.6/3 มีทกษะกระบวนการอยู่ ั ป.6/2 และ ป.6/3 มีความรู้ ในระดับดีมาก ่ ความเข้าในอยูในระดับ พอใช้ 10. นักเรียนทีต้องได้ รับการพัฒนาทุกด้ าน ่ เด็กหญิงต่าย คงบุตร ป.6/2 11. นักเรียนทีต้องส่ งเสริมสมรถนะทางวิทยาศาสตร์ สูงขึน ่ ้ เด็กหญิงศิริลกษณ์ สุ ขปาน ป.6/1 ั เด็กหญิงทักษิณ มะคนมอญ ป.6/2 เด็กหญิงพิมประภา นาจาอนุรักษ์ ป.6/2 utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 10. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 25 ใบความรู้ เรื่องการจําแนกสาร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 การจําแนกสาร การจําแนกประเภทของสาร การจําแนกสารออกเป็ นหมวดหมู่ สามารถแบ่งได้หลายวิธี ขึ้นอยูกบเกณฑ์ในการแบ่ง เช่น ่ ั * สถานะของสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภท คือ 1. แก๊ส เช่น แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์ แก๊สออกซิ เจน เป็ นต้น 2. ของเหลว เช่น นํ้า นํ้าเชื่อม เป็ นต้น 3. ของแข็ง เช่น โลหะ พลาสติก เป็ นต้น * การนําไฟฟ้ าเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สารที่นาไฟฟ้ าได้ ํ 2. สารที่ไม่นาไฟฟ้ า ํ * ลักษณะเนื้อสารเป็ นเกณฑ์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สารเนื้อเดียว 2. สารเนื้อผสม สารเนือเดียว ้ 1. สารเนื้อเดียว คือ สารที่มองเห็นเป็ นเนื้อเดียว และถ้าตรวจสอบสมบัติของสารจะเหมือนกันทุกส่ วน อาจมีองค์ประกอบเดียว หรื อหลายองค์ประกอบ แบ่งเป็ นสารบริ สุทธิ์ และสารละลาย 1.1 สารบริ สุทธิ์ เป็ นสารที่มีองค์ประกอบเพียงชนิดเดียว ได้แก่ ธาตุและสารประกอบ ซึ่ งก็คือ สารที่เกิดจากองค์ประกอบมากกว่าหนึ่งชนิด แต่มีอตราส่ วนโดยมวลของสารที่เป็ นองค์ประกอบ ั 1.1.1 ธาตุ = ตะกัว ทองคํา เงิน แก๊สออกซิ เจน เหล็ก แก๊สไนโตรเจน เป็ นต้น ่ ซึ่ งธาตะแบ่งเป็ นโลหะ (เช่น เหล็ก ทองคํา เงิน) อโลหะ (เช่น แก๊สออกซิ เจน แก๊สไนโตรเจน) กึ่งโลหะ (เช่น อะลูมิเนียม) 1.1.2 สารประกอบ = นํ้าตาลทราย เกลือแกง นํ้า กรดเกลือ เป็ นต้น 1.2 สารละลาย เป็ นของผสมเนื้อเดียว มีอตราส่ วนโดยมวลของสารที่เป็ นองค์ประกอบไม่คงที่ ั องค์ประกอบของสารละลายมี 2 ส่ วนคือ 1.2.1 ตัวทําละลาย คือ สารที่มีปริ มาณมากที่สุดในสารละลาย (กรณี สถานะ องค์ประกอบเหมือนกัน) หรื อเป็ นสารที่มีสถานะเดียวกับสารละลาย (กรณี สถานะองค์ประกอบต่างกัน) utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 11. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 26 ่ ้ 1.2.2 ตัวละลาย คือ สารที่มีปริ มาณอยูนอยในสารละลาย หรื อมีสถานะต่างจากการ ละลาย เช่น - นํ้าเกลือ เป็ นสารละลาย ประกอบด้วยนํ้าและเกลือ พิจารณา นํ้าเกลือ มีสถานะเป็ นของเหลว และนํ้าก็มีสถานะเป็ นของเหลว ดังนั้น นํ้าจึงเป็ นตัวทําละลาย ส่ วนเกลือ เป็ นของแข็ง จึงเป็ นตัวละลาย - อากาศ เป็ นสารละลาย ประกอบด้วย 1) แก๊สไนโตรเจน ประมาณ 78 % 2) แก๊สออกซิ เจน 21% 3) แก๊สคาร์ บอนไดออกไซด์และแก๊สเฉื่ อย 1% พิจารณา อากาศมีองค์ประกอบสถานะเดียวกัน คือ แก๊ส จึงต้องดูปริ มาณสาร ที่เป็ นองค์ประกอบ ดังนั้น แก๊สไนโตรเจน เป็ นตัวทําละลาย (มีปริ มาณมากกว่า) ส่ วนแก๊สออกซิ เจน แก๊สคาร์ บอนออกไซด์ และแก๊สเฉื่ อยเป็ นตัวละลาย utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 12. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 27 รายงานฉบับจิ๋ว เรื่องสาร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2553 ชื่อ.........................................................ชั้ น........................เลขที.่ ......................คะแนน............................ สารแบ่ งเป็ น.......................สถานะ สารเคมี คือ............................................................ ได้ แก่ ...................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ................................... ............................................................................... ตัวอย่างสารเคมี...................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ................................................................................ ......................................... ................................................................................ จงหาข่ าววิทยาศาสตร์ ทีเ่ กียวกับสถานะของสาร ่ จงรวบรวมการใช้ ประโยชน์ จากสารเคมี ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ......................................... ......................................... สารชนิดต่ าง ๆ มีประโยชน์ อย่างไร นํา กับ ดิน แตกต่ างกันอย่างไร ้ ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ............................................................................... ......................................... ......................................... utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 13. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 28 แบบทดสอบวัดผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การจําแนกสาร วิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 6 จํานวน 10 ข้ อ 10 คะแนน คําชี้แจง แบบทดสอบชุ ดนีเ้ ป็ นแบบเลือกตอบ ให้ นักเรียนเลือกข้ อทีถูกทีสุดเพียงข้ อเดียว ่ ่ โดยทําเครื่องหมาย x ลงในกระดาษคําตอบ 1. สาร แบ่ งได้ เป็ นประเภทใดบ้ าง 6. สารข้ อใด มีสมบัติทนทาน ก. ของแข็ง ของเหลว ก. กระดาษชําระ ข. ของเหลว ก๊าซ ข. แก้ว ค. ของดี ของเสี ย ค. เหล็ก ง. ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ง. แป้ ง 2. สารข้ อใด เป็ นของแข็ง 7. สารใด เกิดสนิมได้ ง่ายทีสุด ่ ก. นํ้ามันพืช ก. โลหะ ข. นํ้ามันสัตว์ ข. อโลหะ ค. แชมพู ค. นํ้า ง. นํ้าตาลทราย ง. อากาศ 3. สารข้ อใด เป็ นของเหลว 8. สารใดเกิดการระเหยได้ ง่ายทีสุด ่ ก. นํ้าตาลปึ ก ก. เบนซิน ข. ทราย กรวด ข. นํ้ามันพืช ค. อลูมิเนียม ค. เกลือป่ น ง. จาระบี ง. ลูกเหม็น 4. สารข้ อใด เป็ นก๊าซ 9. สารใด เกิดการระเหิด ก. คาร์บอน ก. แชมพู ข. เพชร ข. นํ้ายาล้างจาน ค. เหล็ก ค. แอลกอฮอล์ ง. ไฮโดรเจน ง. ก้อนดับกลิ่น 5. สารข้ อใด มีสมบัตลุกติดไฟ ิ 10. การเปลียนสถานะของสารได้ อย่างรวดเร็ว ่ ก. เกลือป่ น ต้ องอาศัยสิ่ งใด ข. นํ้าเชื่อม ก. ความร้อน ค. นํ้ามันพืช ข. ปริ มาณสาร ง. แอลกอฮอล์ ค. ชนิดของสาร ง. สถานะของสาร utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 14. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 29 UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 3 เรื่อง “คุณค่ าของการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน” คุณค่าของการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน มีคุณค่าหรื อประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ผู้เรียนมีคุณค่ าด้ านการพัฒนาแห่ งตน 4 ด้ าน 1. ทักษะการเรียนรู้ ผู้เรียนสามารถแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองและสามารถสั งเคราะห์ องค์ ความรู้ ใหม่ ด้ วยตนเอง การแสวงหาความรู ้น้ นต้องมีการวางแผน ออกแบบ กระบวนการสร้างองค์ความรู ้ใหม่ ั เช่น การค้นคว้าทางอินเตอร์ เน็ต การสอนตามจากภูมิปัญญาท้องถิ่น 2. ทักษะการคิดสร้ างสรรค์ ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงความคิดร่ วมกัน ระดมสมอง ในหัวข้อที่ออกแบบ โครงงาน โดยแสดงการคิดสร้างสรรค์ของตนและของกลุ่มร่ วมกัน จินตนาการที่เกิดขึ้นจากทักษะ การคิดสร้างสรรค์ จะทําให้ผเู ้ รี ยนคิดแปลกใหม่ เป็ นประโยชน์ต่อส่ วนรวม เช่น การประดิษฐ์เครื่ อง ทําทองหยอด ฝอยทอง เทคโนโลยีการเกษตรต่าง ๆ 3. ทักษะทางอารมณ์ ผูเ้ รี ยนเมื่อทํางานร่ วมกัน แสดงความคิดเห็นร่ วมกัน จําเป็ นต้อง มีปฏิสัมพันธ์ร่วมกัน ดังนั้น การปรับตัวเข้าหากันทําให้เกิดทักษะทางอารมณ์ของผูเ้ รี ยนดีข้ ึน มีการ ยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อน ๆ มีความเป็ นกัลยาณมิตร 4. ทักษะการสื่ อสาร หรื อ ทักษะการนําเสนอ ผูเ้ รี ยนเมื่อเกิดการเรี ยนรู ้ในกระบวนการทําโครงงาน ผูเ้ รี ยนเกิดการพัฒนาด้านการนําเสนอผลการเรี ยนรู ้ของกลุ่มตนด้วยทักษะการสื่ อสาร หรื อทักษะ การนําเสนอผลงานของตนหรื อกลุ่มของตนเอง ผูเ้ รี ยนสามารถแสดงออกด้วยทักษะการนําเสนอ ได้แก่ - การนําเสนอด้ วยวาจา สามารถพูดหรื อบรรยาย อธิ บาย อภิปราย ในสิ่ งที่ปฏิบติมา ั อาจจะใช้สื่อประกอบ เช่น แผ่นใส พาวเวอร์ พอยท์ วิดีทศน์ ้ ั - การนําเสนอด้ วยแผงงาน หรื อ แผงโครงงาน ต้องอาศัยศิลปะของการนําเสนอ อาจมีการจัดทํา ตกแต่งด้วยตนเอง สรุ ปว่า คุณค่าของการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานทําให้ผเู ้ รี ยนมีการพัฒนาตนโดยเกิดการ พัฒนาด้านทักษะการเรี ยนรู ้ ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะทางอารมณ์ และทักษะการสื่ อสาร สิ่ งที่ เกิดขึ้นในการพัฒนา ผูเ้ รี ยนจะพบว่าผูเ้ รี ยนมีความฉลาดหลาย ๆ ด้าน เช่น ความฉลาดทางด้าน สติปัญญา (I.Q) ความฉลาดทางด้านอารมณ์ (E.Q) ความฉลาดทางด้านความอดทน ( A.Q) ความฉลาด ทางด้านทํางานเป็ นทีม ( T.Q) ความฉลาดทางด้านคุณธรรม ( M.Q) ความฉลาดทางด้านการเป็ นผูนา ้ ํ utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 15. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 30 (R.Q) เป็ นต้น การพัฒนาผูเ้ รี ยนด้วยการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานสามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ ทางการ เรี ยนรู ้ทุกกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ทําให้ผเู ้ รี ยนมีพฤติกรรมการเรี ยนรู ้ดานพุทธิ พิสย ทักษะพิสย และจิต ้ ั ั พิสัยสู งขึ้น utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 16. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 31 UTQ online e-Training Course ใบความรู้ ที่ 4 เรื่อง “บทบาทของผู้ สอนและผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ แบบโครงงาน” บทบาทครู และผูเ้ รี ยนในการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงาน โดยมีข้ นตอนจัดการเรี ยนรู ้แบบ ั โครงงาน ต้องเข้าใจและทําความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ละขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดกระบวนการเรียนรู้ แบบโครงงานทีเ่ หมาะสมกับบริบทของสถานศึกษา ขั้นตอนที่ 1 ขั้นนําเสนอ ขั้นตอนที่ 2 ขั้นวางแผน ขั้นตอนที่ 3 ขั้นปฏิบติ ั ขั้นตอนที่ 4 ขั้นประเมินผล ความหมายของแต่ ละขั้นตอน 1. ขั้นนําเสนอ หมายถึง ขั้นที่ครู ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ กําหนดสถานการณ์ ศึกษาสถานการณ์เกมส์ ั รู ปแบบ หรื อการใช้เทคนิคการตั้งคําถามเกี่ยวกับสาระการเรี ยนรู ้ท่ีกาหนดในแผนการจัดการเรี ยนรู ้แต่ ํ ละแผน เช่น สาระการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรและสาระการเรี ยนรู ้ท่ีเป็ นขั้นตอนของโครงงานเพื่อใช้เป็ น แนวทางในการวางแผนการเรี ยนรู้ 2. ขั้นวางแผน หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนร่ วมกันวางแผน โดยการระดมความคิด อภิปรายหารื อข้อสรุ ปของ ั กลุ่มเพื่อใช้เป็ นแนวทางในการปฏิบติ ั 3. ขั้นปฏิบัติ หมายถึง ขั้นที่นกเรี ยนปฏิบติกิจกรรม เขียนสรุ ปรายงานผลที่เกิดขึ้นจากการวางแผน ั ั ร่ วมกัน 4. ขั้นประเมินผล หมายถึง ขั้นการวัดและประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยให้บรรลุจุดประสงค์การเรี ยนรู ้ท่ี กําหนดไว้ในแผนการจัดการเรี ยนรู ้ โดยมีครู นักเรี ยนและเพื่อนร่ วมประเมิน utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่
  • 17. รหัส UTQ-2128:การจัดการเรียนรู ้ทีเน ้นผู ้เรียนเป็ นสาคัญ : การจัดการเรียนรู ้แบบโครงงาน ่ 32 เมื่อครู เข้าใจความหมายของแต่ละขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้แบบโครงงานแล้ว ต้องทําความ เข้าใจบทบาทของครู และผูเ้ รี ยน โดยมีรายละเอียดของการจัดการเรี ยนรู ้ ดังนี้ บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน บทบาทของผู้สอนและผู้เรียนแสดงตามขั้นตอนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ บทบาทของผู้สอน ขั้นตอนการจัดการ บทบาทของผู้เรียน เรียนรู้ แบบโครงงาน 1. จัดให้มีการปฐมนิเทศวิธีการเรี ยนรู้ 1. เสนอแนวคิด เลือก และกําหนด แบบโครงงานเพื่อให้รู้ถึงหลักการ ขั้นนําเสนอ หัวข้อโครงงาน วัตถุประสงค์ ประโยชน์ ตัวแปร ปัจจัย สําคัญในการทําโครงงาน ปัญหาและ อุปสรรคต่าง ๆ อันอาจเกิดขึ้น 2. ให้คาปรึ กษาในการดําเนินงาน ํ 2. เสนอแนวทาง ออกแบบการทํา ของผูเ้ รี ยนทุกขั้นตอน ขั้นวางแผน โครงงาน 3. วางแผนร่ วมกันในการเรี ยนรู ้ แบบโครงงาน 4. ศึกษาค้นคว้าเอกสารเพิ่มเติมจาก แหล่งเรี ยนรู ้ต่าง ๆ 5. เสนอเค้าโครงย่อของโครงงาน ต่อผูสอน ้ 3. ติดตาม สอบถามความก้าวหน้า ดูแล 6. ลงมือปฏิบติโครงงานตาม ั การทําโครงงานของผูเ้ รี ยนอย่างใกล้ชิด ขั้นปฏิบัติ ขั้นตอนที่วางแผนไว้ 7. รวบรมผลการทําโครงงาน 8. เสนอแนวทางแก้ไขปรับปรุ งผล การทําโครงงาน 9. เขียนรายงานหรื อนําเสนอผลงาน โครงงานต่อครู ผสอน ู้ 10. เผยแพร่ ผลงานต่อสาธารณชน 4. สังเกตและประเมินการทํากิจกรรม 11. ประเมินผลการเรี ยนรู้แบบ ของผูเ้ รี ยน ขั้นประเมินผล โครงงานของตนเอง 5. สรุ ปการทํางานและเสนอแนะการ ทํางานของผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มโดยรวม utqonlineโดยสานั กงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการอนุ ญาตให้ใช้ได้ตามสัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงทีมา-ไม่ใช ้เพือการค ้า-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย. ้ ้ ่ ่