SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 7
Descargar para leer sin conexión
1
                                วิธีคดกระบวนระบบ(Systemic Thinking)
                                     ิ

                                                                                                      สรุป ยอ มาจากหนังสือ วิธีคดกระบวนระบบ    ิ
                                                                                                                        ปยนาถ ประยูร เขียน/เรียบเรียง
 ......................................................................................................................................................................
สิ่งที่ควรรูเบื้องตน

มุมมองของความรูตามแนวทางการจัดการความรู(Knowledge Management)
         ในมุมมองของการจัดการความรู (Knowledge Management)
แบงความรูเปน 2 ประเภทใหญ ไดแก
         1. ความรูที่ชดแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูที่มีการ
                        ั
นํามารวบรวมใหปรากฏขึ้นมา เปนสิ่งที่เราสามารถจับตองและถายทอด
ตอๆไดงาย เชน ตํารา เอกสารตางๆ
         2. ความรูที่ฝงลึก (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ฝงลึกใน
แต ล ะคน เชื่ อ มโยงกั บ ประสบการณ ชี วิ ต อยู ใ นความคิ ด ความเชื่ อ
คานิยม หรือบางครั้งอาจเกิดจากสัญชาตญาณ ความรูชนิดนี้ยากที่จะ
ถายทอดออกมา ดังที่ อาจารยประพนธ กลาววา “ขี้อาย ระเหยงาย”


                                             การสรางความรู
                                             ศาสตราจารย อิคุจิโร โนนากะ (Ikujiro Nonaka)จากมหาวิทยาลัย ฮิโตสุบาชิ
                                             ญี่ปุน ไดอธิบายถึงหลักสําคัญของการสรางความรูในองคกรตางๆวา มันคือการ
                                             สังเคราะหหลอมรวมความรูที่ชัดแจงกับความรูที่ฝงลึก และยกระดับขึ้น โดยผาน
                                             กระบวนการ 4 สวนที่เรียกวา “เซกิ” (SECI)

           1. การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน (Socialization) เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณ ขอคิดเห็น ความ
เชื่อ วิธีการ ฯลฯ ในลักษณะบุคคลตอบุคคล ตัวตอตัว
           2. การสกัดความรูออกจากตัวตน (Externalization) เปนการแลกเปลี่ยนความรูที่ฝงลึกอยูในตัวบุคคล
ไปเปนความรูที่ผูอื่นสามารถเขาถึงได โดยกระบวนการตางๆ เชน การจับกลุมคุยกันเพื่อหาความคิดใหมๆ
           3. การผนวกความรู (Combination) เป น การนํ า เอาความรู ที่ ชั ด แจ ง จากแหล ง ต า งๆที่ มี ม ากมาย
มารวบรวม บันทึก จัดกลุม แบงเปนหมวดเปนหมู ทําใหเกิดเปนความรูชัดแจงอีกระดับหนึ่ง ในรูปแบบที่สามารถ
เผยแพรไดมากยิ่งขึ้น
           4. การผนึกความรูในตน (Internalization) เปนการนําเอาความรูที่ไดรับมาดวยวิธีตางๆ ไปลองปฏิบัติให
เกิดความเชี่ยวชาญเปน “การรูจริง” สามารถประยุกต เปนผลิตภัณฑ กระบวนการ หรือวิธีการใหมๆ หรืออาจจะเปน
การปรับปรุงของเกาที่มีใหเกิดคุณคามากขึ้น ซึ่งสุดทายจะเปนความรูฝงลึกที่ยกระดับขึ้นไปในตัวบุคคล
2


                การแลกเปลียนตัวตอตัว
                          ่                                                การแลกเปลียนเปนกลุม
                                                                                     ่

          การแลกเปลียนเรียนรูระหวางกัน
                    ่                                                 การสกัดความรูออกจากตัวตน
                 (Socialization)                                            (Externalization)


                การผนึกความรูในตน                                           การผนวกความรู
                  (Internalization)                                           (Combination)


        ศาสตราจารย อิคุจิโร โนนากะ ยังไดอธิบายถึง “พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู” ที่เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ” (CoP
: Communities of Practice) หรือ “บา” (ba) ซึ่งจะตองประกอบไปดวย ผูที่เกี่ยวของ 3 แบบ เขามาคอยกระตุน
สงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทําใหพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรูมีความสนุกสนาน เปนกันเอง มีชีวิตชีวา อันจะสงผล
ใหเกิดการสรางความรูอยางมีประสิทธิภาพ เกิดการหมุนวงจร “เซกิ” อยางมีพลังตอเนื่อง
        ผูที่เกี่ยวของทั้ง 3 แบบไดแก
        1. นักนวัตกรรม หรือนักฝน (Idea generator) จะคอยทําหนาที่สรางความคิดใหมๆ
        2. พี่เลี้ยง หรือโคช (Coach) จะเขามารวมกับนักฝน ชวยทําใหความคิดใหมๆดังกลาวมีความชัดเจนขึ้น
โดยการชี้แนะ ชวยพัฒนาทักษะ ทําใหความรูจากแตละสาขารวมเปนสหวิชา รวมทั้งชวยแปลงความรูสวนบุคคล
ใหกลายเปนความรูหรือทักษะขององคกร
        3. นักกิจกรรมความรู (Knowledge              activist) จะเปนผูที่มีความคลองตัว ในการเชื่อมโยงผูคน
ที่หลากหลายในองคกร เขามารวมสังเคราะหความคิดกับนักฝนและโคช เชื่อมโยงกับผูปฏิบัติตางๆ หลอมรวม
ความรูที่ชัดแจงกับความรูที่ฝงลึกเขาดวยกัน
                                 

ศักยภาพในการพัฒนาตนเองไปสูอนาคตที่พึงปรารถนา
       ศาสตราจารย ปเตอร เซ็งเกา (Peter Senge) แหง MIT Sloan
School of Management ผูนําในศาสตรดานการพัฒนาองคการเรียนรู ได
อธิบายสิ่งสําคัญที่จะทําใหทุกคนไปถึงเปาหมายที่ปรารถนา และยังอธิบายถึง
ความสามารถในการจัดการเรียนรูวา ควรมีระบบ มีการะบวนการอันจะนําไปสู
การพัฒนาศักยภาพสูงสุดได
3


             ความสามารถในการจัดการเรียนรู จึงมี 3 ประเด็นหลักที่สาคัญคือํ
             1. ความตั้งใจที่จะทําสิ่งดีๆใหดยิ่งขึ้น (Aspiration) คือแรงจูงใจ แรงบันดาลใจที่จะทําสิ่งดีๆใหดียิ่งๆขึ้น
                                               ี
มันจะเปนแรงผลักดันใหเราทําอะไรใหสําเร็จใหได ในกระบวนการนี้มวิชาที่เราควรจะฝกฝน คือ
                                                                            ี
                    1.1 การเปนนายเหนือตนเอง (Personal mastery) เปนการพัฒนาตนเองใหเกงขึ้น มุงมั่นตั้งใจ
ใฝดี อันเปนการนําไปสูการเกิดการเรียนรูเชิงสรางสรรค
                    1.2 การสรางวิสัยทัศนรวม (Shared vision) เปนการสรางบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู
อยางแทจริง จะยิ่งทําใหเห็นศักยภาพและพลังของคนอื่น ทําใหเราเห็นหนทางที่จะนําเราไปสูสิ่งทีปรารถนาไดอยาง
                                                                                                           ่
ชัดเจน
             2. ความสามารถในการสนทนาอยางครุนคิดและผลิดอกออกผล (Dialogue) เปนกระบวนการซึ่ง
มุงเนนการพูดจาเพื่อใหเกิดความเขาใจซึ่งกันและกัน โดยผานการครุนคิดที่ลึกซึ้งและสนทนาใหเกิดความคิดใหมๆ
มุมมองใหมๆ แทนที่จะถกเถียงยืนยันความคิดของตนวาถูกตอง การสนทนาแบบนี้จะทําใหแตละคนพยายาม “ฟง”
คนอื่น และ”ตั้งคําถาม” เพื่อใหเกิดความรูใหมๆรวมกัน ในกระบวนการนี้มีวิชาที่เราควรจะฝกฝน คือ
                    2.1 ภาพจําลองความคิด (Mental model) ฝกการสรางภาพจําลองความคิดที่ถูกตอง เพื่อไมให
ตัวเองมีความคิด ความเชื่อ คานิยม คุณคา ที่ผิดๆ เราควรจะศึกษาขอมูล ความรูที่รอบดาน หลากหลาย รูจัก
แยกแยะ ไมควรเชื่ออะไรงายๆจนกวาจะมีขอมูลที่เพียงพอ
                    2.2 การเรียนรูรวมกันเปนทีม (Team Learning) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน ทําใหความรูที่ไดมา
แตกฉานขึ้น การเรียนรูรวมกันเปนทีมจะเนนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และการสนทนาแบบ “ภาวนาสนทนา”
(Dialogue) เพื่อคนหาแนวคิดใหมๆ เปนการแสดงความคิดอยางหลากหลาย เคารพซึ่งกันและกันเพื่อตอยอดไปสูสิ่ง
ที่ดียิ่งขึ้น การแลกเปลี่ยนเรียนรูที่สนุก ไมตึงเครียดจะยิ่งทําใหผูเขารวมสามารถเรียนรูไดดียิ่งขึ้น และเชื่อมั่น (Trust)
ซึ่งกันและกัน สิ่งเปนสิ่งสําคัญในการทํางานเปนทีม
             3. การเข า ใจโลกและระบบที่ ซั บ ซ อ น เราต อ งใช ค วามละเอี ย ดอ อ นและคิ ด แบบเชื่ อ มโยงบวกกั บ
จินตนาการอันสรางสรรค เพื่อใหเราสามารถเขาใจถึงระบบที่ซับซอนได เราจึงตองฝกฝนวิชาที่สําคัญที่สุด อันจะเปน
พื้นฐานสําคัญในการเรียนรูวิชาอื่นๆ

                                                วิธีคิดกระบวนระบบ หรือวิธีคิดเชิงระบบ (Systemic Thinking)
                                                เป น การคิ ด ในลั ก ษณะเชื่ อ มโยง คิ ด มองแบบภาพรวมให เ ห็ น ภาพ
                                                ทั้งหมด รูจักสังเคราะหและมองเห็นปฏิสัมพันธตางๆของระบบ ทั้งใน
                                                สัมพันธเชิงลึกและสัมพันธแนวกวาง รวมทั้งความสัมพันธที่ซับซอน
                                                อันเปนการคิดแบบกระบวนการ หรือที่เราเรียกกันวา “วิธีคิดแบบองค
                                                รวม”
4


วิธีการฝกฝนการคิดกระบวนระบบ
ระบบปด       เปนระบบที่ไมมีชวิต เปนเสมือนเครื่องจักร แมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมตางๆ
                               ี
              ระบบก็ยังทํางานไดเรื่อยๆ จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงคําสั่งการ วิธีคิดแบบนี้จึงเสมือน
              วิธีคิดแบบเกา(Old paradigm)
ระบบเปด      เปนระบบที่มีชวิต เสมือนรางกายมนุษย มีระบบตางๆ แตละระบบจะทํางานสัมพันธกัน
                             ี
              และมีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมภายนอกตลอดเวลา วิธีคิดแบบนี้เปนการคิดกระบวนระบบ
              (Systemic Thinking)
หากเรามองปญหาแบบระบบปด วิธีการแกปญหาจึงมักจะออกมาในลักษณะ
1. ตรงไปหาทางออกในการแกปญหาทันที โดยยังไมเขาใจรากเหงาของปญหา
2. แกปญหาแบบแยกสวน
       
3. มักจะมุงไปแกปญหาแตในดานที่ “จับตองได” หรือ “วัดได” สวนในดานที่ยากๆ เชน อารมณ คุณคา
   มักจะไมคอยไดแกไข
4. มักจะทําซ้ําๆกับสิ่งที่เคยทําสําเร็จมาแลวในอดีต แมจะสําเร็จเพียงเล็กๆนอยๆ
5. มักจะชอบเนนวาจะทําอยางไร “กลุมอื่นๆ” จึงจะเปลี่ยนแปลง

เราคิดแบบไหน?
         สวนใหญ หรือเดิมๆเรามักจะคิดแบบนี้                             ลองปรับมาคิดแบบใหม
ความเชื่อมโยงระหวางปญหากับสาเหตุของมัน                ความสัมพันธระหวางปญหากับสาเหตุของมัน
จะเห็นไดงายๆ                                          มักจะเปนทางออม(Indirect) และไมชัดเจน
เพื่อที่จะใหผลลัพธในภาพรวมดีที่สุด เราควรจะทํา        เพื่อที่จะใหผลลัพธในภาพรวมดีที่สด เราควรจะปรับปรุง
                                                                                           ุ
สวนยอยใหดท่สุดเสียกอน
              ี ี                                       ความสัมพันธระหวางสวนตางๆ
นโยบายที่สรางเพื่อใหเกิดความสําเร็จในระยะสันๆจะ
                                             ้          การแกปญหาเฉพาะหนา(Quick fix)นั้น
นําพาเราไปสูความสําเร็จระยะยาวแนนอน                   ในระยะยาวจะไมมีอะไรดีขึ้นหรือบางครั้งอาจจะแยลง
                                                        กวาเดิมดวยซ้าไป
                                                                       ํ
คนอื่นๆคือตัวปญหาหรือควรจะตองรับผิดชอบที่ทาให
                                            ํ           เราก็มีสวนสรางปญหาโดยไมรูตัว และเราเองก็มีสวน
                                                                                                        
เกิดปญหา และคนพวกนี้ควรจะตองเปลี่ยนแปลง               สําคัญในการแกปญหา โดยการเปลียนพฤติกรรมของ
                                                                                             ่
                                                        ตัวเราเอง
5
เมื่อเราคิดแบบกระบวนระบบ เราจะเห็นอะไรบาง
1. จะเห็นวาคําตอบที่ถูกตองมิไดมีเพียงคําตอบเดียว
          ในการทํางานบางครั้งเราจะพบวามีการกระทําที่มีศักยภาพ (Potential action)มากมาย บางการกระทํา
สงผลกระทบอยางแรงหรือที่เราเรียกวา “คานงัดทรงพลัง” (Hight leverage) ในขณะที่บางการกระทําอาจจะสงผล
กระทบอยางเบา หรือที่เราเรียกวา “คานงัดเล็ก” (Low leverage)
2. เราไมสามารถแบงระบบออกเปนครึ่งหรือชิ้นๆออกจากกันอยางสิ้นเชิงหรืออยางเด็ดขาด
          เนื่องจากระบบเปนองครวม ดังนั้นในการทํางานเราจึงควรมองใหเห็นภาพรวม การที่เราจะทํางานใหได
ผลลั พ ธ ที่ ดี ที่ สุ ด จากระบบที่ ซั บ ซ อ นนั้ น ขึ้ น อยู กั บ ว า เราสามารถมองระบบให เ ห็ น ทุ ก แง ทุ ก มุ ม ทุ ก มิ ติ ห รื อ ไม
โดยธรรมชาติของการคิดกระบวนระบบจะใหความสําคัญของการรวมมือกัน บางครั้งอาจจะตองดึงคนที่อยูตรงขาม
เขามารวมดําเนินการดวยซ้ํา
3. งานที่เราทําบางครั้งซับซอนมากมาย เราเองก็ไมสามารถจัดการใหเสร็จในทันใด
          บางครั้งเราจําเปนตองอดทนเพื่อทําใหสําเร็จ
คุณสมบัติบางประการของการคิดกระบวนระบบ
1. เปนการคิดเชิงเครือขาย
         ตองมองใหเห็นวาในระบบประกอบไปดวยอะไรบาง มีความสัมพันธกันอยางไร ตัวอยางเชน ระบบตางๆ
ของรางกาย เชนเดียวกับการมองชุมชน เราตองเขาใจปฏิสัมพันธของผูคนและสิ่งตางๆในชุมชน
2. ระบบตางๆจะซอนทับกัน
         ในระบบใหญๆจะมีระบบยอยๆ ซอนลงมาเรื่อยๆเปนชั้นๆ ดังนั้นเมื่อเรามองปญหาในหมูบาน เราอาจจะ
พบวามันซอนทับกับปญหาระดับชุมชน ปญหาระดับสังคม เปนตน
3. การคิดกระบวนระบบคือ การคิดแบบสัมพันธกับบริบท (Context)
         การคิดแบบสัมพันธกับบริบท คือการคิดถึงความสัมพันธระหวางตัวระบบกับสิ่งแวดลอมของมัน
4. หัวใจอยูที่การเชื่อมความสัมพันธปอนกลับ (Feedback)
         การคิดกระบวนระบบนั้น เราจะตองมองใหเห็นเสนแหงความสัมพันธ (Relationship) เพราะถาเราคิดแบบ
แยกสวน เราก็จะเห็นแคจุดปญหาเทานั้น และเราก็จะมุงไปแกแคจุดปญหาที่เราเห็น โดยละเลยการแกไขตรง
จุดอื่นๆที่สงผลตอปญหา
            
5. การคิดกระบวนระบบเปนการคิดอยางเปนกระบวนการ (Systemic thinking is a process thinking)
         ระบบตางๆมักจะมีชีวิต มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นกระบวนการ (Process) สําหรับการ
ทํางานจึงเปนเรื่องสําคัญ แตในการคิดเชิงกระบวนระบบนั้น เราไมควรจะไปยึดติดกับกระบวนการ เพราะทุกสิ่ง
ทุกอยางมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงดังที่กลาวมาแลว
6
ระบบเปรียบเสมือนภูเขาน้ําแข็ง
วิธีคิดกระบวนระบบ จะมองระบบดวยวิธคดใน 4 ระดับ ดังนี้
                                  ี ิ




                                        ระดับปรากฏการณ                            สายตาของเรา



                              ระดับแนวโนมและแบบแผน (Pattern)



                                  ระดับโครงสราง (Structure)



                          ระดับภาพจําลองความคิด (Mental Model)




1. ระดับปรากฏการณหรือระดับเหตุการณ
          วิธีคิดในระดับนี้ จะเปนการมองเห็นสิ่งตางๆ หรือเหตุการณตางๆ ดวยสายตา เชน เห็นแมคาขายอาหาร
โดยใชน้ํามันทอดซ้ํา
2. ระดับแนวโนมและแบบแผน (Pattern)
          วิธีคิดในระดับนี้ จะมองโดยคิดวาหากมีแบบแผนแบบนี้ ปรากฎการณจะเปนอยางไร การมองแบบนี้จะเริ่ม
มีการใชขอมูล สถิติตางๆเขามาประกอบการมอง ทําใหเห็นแนวโนมของปรากฎการณที่เกิดขึ้น เชน แมคากลุมไหน
จะใชน้ํามันทอดซ้ํา และสวนใหญจะใชนานประมาณกี่วันถึงจะเปลี่ยน
3. ระดับโครงสราง (Structure)
          วิธีคิดในระดับนี้ เราจะตองเขาใจวาแบบแผนตางๆนั้นเกิดจากโครงสรางของมัน และในระบบนั้น สวนใหญ
ยังไมไดเกิดจากโครงสรางเดียว มันอาจจะเปนโครงสรางหลายชั้นซอนกัน เชน โครงสรางดานกฎระเบียบ/กฎหมาย ,
โครงสรางทางเศรษฐกิจ , โครงสรางดานเทคโนโลยี , โครงสรางทางธุรกิจ , โครงสรางขององคกร , โครงสราง
ความสัมพันธระหวางบุคคล , โครงสรางภาพจําลองความคิด
          ดังนั้นการที่น้ํามันพืชมีราคาแพง และเมื่อเหลือแลวไมมีใครมารับซื้อ ตลอดจนไมรูขอมูลเกี่ยวกับอันตราย
ก็ยงคงทําใหแมคาใชน้ํามันเกาๆอยู
   ั
7
4. ระดับภาพจําลองความคิด (Mental Model)
         วิธีคิดในระดับนี้ จะเปนการมองโดยเขาใจวา การที่คนมีพฤติกรรม เกิดจากทัศนคติ คานิยม ความเชื่อ นิสัย
ตางๆ เชน หากแมคาที่ใชนํ้ามันทอดซ้ํา รูวาน้ํามันทอดซ้ํามีอันตรายตอสุขภาพ และตนเองเปนคนใจบุญ ถือศีล
ก็อาจจะมีพฤติกรรมการใชน้ํามันที่ปลอดภัยขึ้นกวาเดิม หรือมีความรับผิดชอบตอสังคมมากขึ้น ในขณะที่คนบางคน
ที่ซื้ออาหารที่ใชน้ํา มั น ทอดซ้ํ า ก็ อาจจะเปน คนที่ มีนิสัยชอบรับประทานอาหารชนิดนั้นมากกว า จะตระหนัก ถึง
อันตราย

การคิดเชื่อมโยงเรื่องของเหตุและผล (Causal loop)
       ดังที่เราทราบมาแลววาหลักการสําคัญของวิธีคิดกระบวนการระบบคือความเชื่อมโยง (หรือที่เราเรียกวาเสน
ความสัมพันธ) , ความสัมพันธนั้นๆมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันอยางไร คําถามแบบนี้จะนําเราไปสูการคิดแบบ
ตรรกะ หรือความเปนเหตุเปนผล (Logic) อันจะทําใหเราเขาใจและแกไขปญหาตางๆไดดียิ่งขึ้น
        การฝกฝนเพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงสัมพันธตางๆนั้น ในวิธีคิดกระบวนระบบเรียบกวา “เสนของความเปน
เหตุและผล” (Causal loop) ซึ่งวิธีการลากเสนดังกลาวนั้น ในการคิดกระบวนระบบจะใชวิธีการลากเสนในรูปแบบ
ของการตั้งคําถาม โดยเราจะเริ่มจากผลลัพธสุดทายกอน แลวคอยๆตั้งคําถามยอนกลับ โดยใชทักษะการตั้งคําถาม
(Inquiry) , ทักษะการคิดทบทวน (Reflection) และทักษะการนําเสนอ (Advocacy)
          การคิดกระบวนระบบมีประโยชนตอความคิดของเราหลายประการ
1. ทําใหเรามองโลกรอบตัวอยางเปนองครวม
2. ทําใหเราเห็นความเกี่ยวของปฏิสมพันธขององคประกอบตางๆ
                                           ั
3. ทําใหเราเขาใจวา ความสัมพันธของสวนยอยๆนั้น มีอิทธิพลตอเหตุการณตางๆของระบบ
4. ทําใหเราเขาใจวา “ชีวิต” มีการเคลื่อนไหว และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
5. ทํ า ให เ ราเข า ใจว า เหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ๆอาจจะส ง ผลต อ อี ก เหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ได แม เ หตุ ก ารณ ห ลั ง จะเกิ ด หลั ง จาก
เหตุการณแรกผานไปแลวอยางนาน หรืออยูไกลจากเหตุการณแรกมาก
6. ทําใหเรารูวา สิ่งที่เกิดรอบๆตัวนั้น เราก็มีสวนเกี่ยวของดวย

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจPariwanButsat
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกSompak3111
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3Thanawut Rattanadon
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6teerachon
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designคุณครูพี่อั๋น
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง0804900158
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 

La actualidad más candente (20)

ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 3
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.6
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่างประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 

Destacado

ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ต
ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ตข้อมูลรับส่งผ่านเน็ต
ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ตprayoongroup
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคสปสช นครสวรรค์
 
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิว
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิวเอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิว
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิวprayoongroup
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสTouch Thanaboramat
 
อาหารผู้หญิงสวย
อาหารผู้หญิงสวยอาหารผู้หญิงสวย
อาหารผู้หญิงสวยImmy Sathumay
 
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPESNatapob Rakyong
 

Destacado (9)

A wonderful-life
A wonderful-lifeA wonderful-life
A wonderful-life
 
ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ต
ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ตข้อมูลรับส่งผ่านเน็ต
ข้อมูลรับส่งผ่านเน็ต
 
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรคกินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
กินอยู่อย่างไรให้ห่างไกลโรค
 
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิว
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิวเอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิว
เอนเชนเทรส เซรั่มบำรุงผิว
 
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโสธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
ธาตุธรรม 3 ฝ่าย โดยหลวงปู่ชั้ว โอภาโส
 
At last you win
At last you winAt last you win
At last you win
 
อาหารผู้หญิงสวย
อาหารผู้หญิงสวยอาหารผู้หญิงสวย
อาหารผู้หญิงสวย
 
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES
20 HEALTHY THAI FOOD RECIPES
 
Mobile Marketing "Changing or Die"
Mobile Marketing "Changing or Die"Mobile Marketing "Changing or Die"
Mobile Marketing "Changing or Die"
 

Similar a วิธีคิดกระบวนระบบ

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์Sansana Siritarm
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
บทความ
บทความบทความ
บทความaorchalisa
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1olivemu
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904Pattie Pattie
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษาsaengpet
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนKasem S. Mcu
 

Similar a วิธีคิดกระบวนระบบ (20)

บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
การคิดอย่างเป็นระบบ การคิดแบบจินตนาการ การคิดแบบสร้างสรรค์
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
Content03
Content03Content03
Content03
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
การบริหารแบบคิดนอกกรอบศาล600904
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
Expand
ExpandExpand
Expand
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษาใบความรู้  จิตตปัญญาศึกษา
ใบความรู้ จิตตปัญญาศึกษา
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 

Más de sivapong klongpanich

โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก sivapong klongpanich
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:sivapong klongpanich
 
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554sivapong klongpanich
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่sivapong klongpanich
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่sivapong klongpanich
 
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54sivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคsivapong klongpanich
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังsivapong klongpanich
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศsivapong klongpanich
 

Más de sivapong klongpanich (20)

551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก โรคมือเท้าปาก
โรคมือเท้าปาก
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Northernhaze20120225
Northernhaze20120225Northernhaze20120225
Northernhaze20120225
 
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
สถานการณ์หมอกควันในพื้นที่ภาคเหนือ 25 ก.พ.55:
 
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
สังเคราะห์ปัญญาเพื่อพัฒนา R2R ปี 2554
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
 
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
การเฝ้าระวังโรคไข้หวัดใหญ่
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
แผ่นพับรักษ์หัวใจในที่ทำงาน 54
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรคแผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
แผ่นพับ ลดเค็ม ต้านโรค
 
EGAT Heart Score
EGAT Heart ScoreEGAT Heart Score
EGAT Heart Score
 
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรังบันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
บันได 5 ขั้นป้องกันโรคเรื้อรัง
 
แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.
 
Flu redcross01
Flu redcross01Flu redcross01
Flu redcross01
 
Data l3 100
Data l3 100Data l3 100
Data l3 100
 
Poster h1n1 03
Poster h1n1 03Poster h1n1 03
Poster h1n1 03
 
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
ประชาชนปฏิรูปประเทศไทย ประเวศ
 

วิธีคิดกระบวนระบบ

  • 1. 1 วิธีคดกระบวนระบบ(Systemic Thinking) ิ สรุป ยอ มาจากหนังสือ วิธีคดกระบวนระบบ ิ ปยนาถ ประยูร เขียน/เรียบเรียง ...................................................................................................................................................................... สิ่งที่ควรรูเบื้องตน มุมมองของความรูตามแนวทางการจัดการความรู(Knowledge Management) ในมุมมองของการจัดการความรู (Knowledge Management) แบงความรูเปน 2 ประเภทใหญ ไดแก 1. ความรูที่ชดแจง (Explicit Knowledge) เปนความรูที่มีการ ั นํามารวบรวมใหปรากฏขึ้นมา เปนสิ่งที่เราสามารถจับตองและถายทอด ตอๆไดงาย เชน ตํารา เอกสารตางๆ 2. ความรูที่ฝงลึก (Tacit Knowledge) เปนความรูที่ฝงลึกใน แต ล ะคน เชื่ อ มโยงกั บ ประสบการณ ชี วิ ต อยู ใ นความคิ ด ความเชื่ อ คานิยม หรือบางครั้งอาจเกิดจากสัญชาตญาณ ความรูชนิดนี้ยากที่จะ ถายทอดออกมา ดังที่ อาจารยประพนธ กลาววา “ขี้อาย ระเหยงาย” การสรางความรู ศาสตราจารย อิคุจิโร โนนากะ (Ikujiro Nonaka)จากมหาวิทยาลัย ฮิโตสุบาชิ ญี่ปุน ไดอธิบายถึงหลักสําคัญของการสรางความรูในองคกรตางๆวา มันคือการ สังเคราะหหลอมรวมความรูที่ชัดแจงกับความรูที่ฝงลึก และยกระดับขึ้น โดยผาน กระบวนการ 4 สวนที่เรียกวา “เซกิ” (SECI) 1. การแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางกัน (Socialization) เปนการแลกเปลี่ยนประสบการณ ขอคิดเห็น ความ เชื่อ วิธีการ ฯลฯ ในลักษณะบุคคลตอบุคคล ตัวตอตัว 2. การสกัดความรูออกจากตัวตน (Externalization) เปนการแลกเปลี่ยนความรูที่ฝงลึกอยูในตัวบุคคล ไปเปนความรูที่ผูอื่นสามารถเขาถึงได โดยกระบวนการตางๆ เชน การจับกลุมคุยกันเพื่อหาความคิดใหมๆ 3. การผนวกความรู (Combination) เป น การนํ า เอาความรู ที่ ชั ด แจ ง จากแหล ง ต า งๆที่ มี ม ากมาย มารวบรวม บันทึก จัดกลุม แบงเปนหมวดเปนหมู ทําใหเกิดเปนความรูชัดแจงอีกระดับหนึ่ง ในรูปแบบที่สามารถ เผยแพรไดมากยิ่งขึ้น 4. การผนึกความรูในตน (Internalization) เปนการนําเอาความรูที่ไดรับมาดวยวิธีตางๆ ไปลองปฏิบัติให เกิดความเชี่ยวชาญเปน “การรูจริง” สามารถประยุกต เปนผลิตภัณฑ กระบวนการ หรือวิธีการใหมๆ หรืออาจจะเปน การปรับปรุงของเกาที่มีใหเกิดคุณคามากขึ้น ซึ่งสุดทายจะเปนความรูฝงลึกที่ยกระดับขึ้นไปในตัวบุคคล
  • 2. 2 การแลกเปลียนตัวตอตัว ่ การแลกเปลียนเปนกลุม ่ การแลกเปลียนเรียนรูระหวางกัน ่ การสกัดความรูออกจากตัวตน (Socialization) (Externalization) การผนึกความรูในตน การผนวกความรู (Internalization) (Combination) ศาสตราจารย อิคุจิโร โนนากะ ยังไดอธิบายถึง “พื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู” ที่เรียกวา “ชุมชนนักปฏิบัติ” (CoP : Communities of Practice) หรือ “บา” (ba) ซึ่งจะตองประกอบไปดวย ผูที่เกี่ยวของ 3 แบบ เขามาคอยกระตุน สงเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู ทําใหพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรูมีความสนุกสนาน เปนกันเอง มีชีวิตชีวา อันจะสงผล ใหเกิดการสรางความรูอยางมีประสิทธิภาพ เกิดการหมุนวงจร “เซกิ” อยางมีพลังตอเนื่อง ผูที่เกี่ยวของทั้ง 3 แบบไดแก 1. นักนวัตกรรม หรือนักฝน (Idea generator) จะคอยทําหนาที่สรางความคิดใหมๆ 2. พี่เลี้ยง หรือโคช (Coach) จะเขามารวมกับนักฝน ชวยทําใหความคิดใหมๆดังกลาวมีความชัดเจนขึ้น โดยการชี้แนะ ชวยพัฒนาทักษะ ทําใหความรูจากแตละสาขารวมเปนสหวิชา รวมทั้งชวยแปลงความรูสวนบุคคล ใหกลายเปนความรูหรือทักษะขององคกร 3. นักกิจกรรมความรู (Knowledge activist) จะเปนผูที่มีความคลองตัว ในการเชื่อมโยงผูคน ที่หลากหลายในองคกร เขามารวมสังเคราะหความคิดกับนักฝนและโคช เชื่อมโยงกับผูปฏิบัติตางๆ หลอมรวม ความรูที่ชัดแจงกับความรูที่ฝงลึกเขาดวยกัน  ศักยภาพในการพัฒนาตนเองไปสูอนาคตที่พึงปรารถนา ศาสตราจารย ปเตอร เซ็งเกา (Peter Senge) แหง MIT Sloan School of Management ผูนําในศาสตรดานการพัฒนาองคการเรียนรู ได อธิบายสิ่งสําคัญที่จะทําใหทุกคนไปถึงเปาหมายที่ปรารถนา และยังอธิบายถึง ความสามารถในการจัดการเรียนรูวา ควรมีระบบ มีการะบวนการอันจะนําไปสู การพัฒนาศักยภาพสูงสุดได
  • 3. 3 ความสามารถในการจัดการเรียนรู จึงมี 3 ประเด็นหลักที่สาคัญคือํ 1. ความตั้งใจที่จะทําสิ่งดีๆใหดยิ่งขึ้น (Aspiration) คือแรงจูงใจ แรงบันดาลใจที่จะทําสิ่งดีๆใหดียิ่งๆขึ้น ี มันจะเปนแรงผลักดันใหเราทําอะไรใหสําเร็จใหได ในกระบวนการนี้มวิชาที่เราควรจะฝกฝน คือ ี 1.1 การเปนนายเหนือตนเอง (Personal mastery) เปนการพัฒนาตนเองใหเกงขึ้น มุงมั่นตั้งใจ ใฝดี อันเปนการนําไปสูการเกิดการเรียนรูเชิงสรางสรรค 1.2 การสรางวิสัยทัศนรวม (Shared vision) เปนการสรางบรรยากาศของการแลกเปลี่ยนเรียนรู อยางแทจริง จะยิ่งทําใหเห็นศักยภาพและพลังของคนอื่น ทําใหเราเห็นหนทางที่จะนําเราไปสูสิ่งทีปรารถนาไดอยาง ่ ชัดเจน 2. ความสามารถในการสนทนาอยางครุนคิดและผลิดอกออกผล (Dialogue) เปนกระบวนการซึ่ง มุงเนนการพูดจาเพื่อใหเกิดความเขาใจซึ่งกันและกัน โดยผานการครุนคิดที่ลึกซึ้งและสนทนาใหเกิดความคิดใหมๆ มุมมองใหมๆ แทนที่จะถกเถียงยืนยันความคิดของตนวาถูกตอง การสนทนาแบบนี้จะทําใหแตละคนพยายาม “ฟง” คนอื่น และ”ตั้งคําถาม” เพื่อใหเกิดความรูใหมๆรวมกัน ในกระบวนการนี้มีวิชาที่เราควรจะฝกฝน คือ 2.1 ภาพจําลองความคิด (Mental model) ฝกการสรางภาพจําลองความคิดที่ถูกตอง เพื่อไมให ตัวเองมีความคิด ความเชื่อ คานิยม คุณคา ที่ผิดๆ เราควรจะศึกษาขอมูล ความรูที่รอบดาน หลากหลาย รูจัก แยกแยะ ไมควรเชื่ออะไรงายๆจนกวาจะมีขอมูลที่เพียงพอ 2.2 การเรียนรูรวมกันเปนทีม (Team Learning) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรูกัน ทําใหความรูที่ไดมา แตกฉานขึ้น การเรียนรูรวมกันเปนทีมจะเนนกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู และการสนทนาแบบ “ภาวนาสนทนา” (Dialogue) เพื่อคนหาแนวคิดใหมๆ เปนการแสดงความคิดอยางหลากหลาย เคารพซึ่งกันและกันเพื่อตอยอดไปสูสิ่ง ที่ดียิ่งขึ้น การแลกเปลี่ยนเรียนรูที่สนุก ไมตึงเครียดจะยิ่งทําใหผูเขารวมสามารถเรียนรูไดดียิ่งขึ้น และเชื่อมั่น (Trust) ซึ่งกันและกัน สิ่งเปนสิ่งสําคัญในการทํางานเปนทีม 3. การเข า ใจโลกและระบบที่ ซั บ ซ อ น เราต อ งใช ค วามละเอี ย ดอ อ นและคิ ด แบบเชื่ อ มโยงบวกกั บ จินตนาการอันสรางสรรค เพื่อใหเราสามารถเขาใจถึงระบบที่ซับซอนได เราจึงตองฝกฝนวิชาที่สําคัญที่สุด อันจะเปน พื้นฐานสําคัญในการเรียนรูวิชาอื่นๆ วิธีคิดกระบวนระบบ หรือวิธีคิดเชิงระบบ (Systemic Thinking) เป น การคิ ด ในลั ก ษณะเชื่ อ มโยง คิ ด มองแบบภาพรวมให เ ห็ น ภาพ ทั้งหมด รูจักสังเคราะหและมองเห็นปฏิสัมพันธตางๆของระบบ ทั้งใน สัมพันธเชิงลึกและสัมพันธแนวกวาง รวมทั้งความสัมพันธที่ซับซอน อันเปนการคิดแบบกระบวนการ หรือที่เราเรียกกันวา “วิธีคิดแบบองค รวม”
  • 4. 4 วิธีการฝกฝนการคิดกระบวนระบบ ระบบปด เปนระบบที่ไมมีชวิต เปนเสมือนเครื่องจักร แมวาจะมีการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดลอมตางๆ ี ระบบก็ยังทํางานไดเรื่อยๆ จนกวาจะมีการเปลี่ยนแปลงคําสั่งการ วิธีคิดแบบนี้จึงเสมือน วิธีคิดแบบเกา(Old paradigm) ระบบเปด เปนระบบที่มีชวิต เสมือนรางกายมนุษย มีระบบตางๆ แตละระบบจะทํางานสัมพันธกัน ี และมีปฏิสัมพันธกับสภาพแวดลอมภายนอกตลอดเวลา วิธีคิดแบบนี้เปนการคิดกระบวนระบบ (Systemic Thinking) หากเรามองปญหาแบบระบบปด วิธีการแกปญหาจึงมักจะออกมาในลักษณะ 1. ตรงไปหาทางออกในการแกปญหาทันที โดยยังไมเขาใจรากเหงาของปญหา 2. แกปญหาแบบแยกสวน  3. มักจะมุงไปแกปญหาแตในดานที่ “จับตองได” หรือ “วัดได” สวนในดานที่ยากๆ เชน อารมณ คุณคา มักจะไมคอยไดแกไข 4. มักจะทําซ้ําๆกับสิ่งที่เคยทําสําเร็จมาแลวในอดีต แมจะสําเร็จเพียงเล็กๆนอยๆ 5. มักจะชอบเนนวาจะทําอยางไร “กลุมอื่นๆ” จึงจะเปลี่ยนแปลง เราคิดแบบไหน? สวนใหญ หรือเดิมๆเรามักจะคิดแบบนี้ ลองปรับมาคิดแบบใหม ความเชื่อมโยงระหวางปญหากับสาเหตุของมัน ความสัมพันธระหวางปญหากับสาเหตุของมัน จะเห็นไดงายๆ มักจะเปนทางออม(Indirect) และไมชัดเจน เพื่อที่จะใหผลลัพธในภาพรวมดีที่สุด เราควรจะทํา เพื่อที่จะใหผลลัพธในภาพรวมดีที่สด เราควรจะปรับปรุง ุ สวนยอยใหดท่สุดเสียกอน ี ี ความสัมพันธระหวางสวนตางๆ นโยบายที่สรางเพื่อใหเกิดความสําเร็จในระยะสันๆจะ ้ การแกปญหาเฉพาะหนา(Quick fix)นั้น นําพาเราไปสูความสําเร็จระยะยาวแนนอน ในระยะยาวจะไมมีอะไรดีขึ้นหรือบางครั้งอาจจะแยลง กวาเดิมดวยซ้าไป ํ คนอื่นๆคือตัวปญหาหรือควรจะตองรับผิดชอบที่ทาให ํ เราก็มีสวนสรางปญหาโดยไมรูตัว และเราเองก็มีสวน  เกิดปญหา และคนพวกนี้ควรจะตองเปลี่ยนแปลง สําคัญในการแกปญหา โดยการเปลียนพฤติกรรมของ ่ ตัวเราเอง
  • 5. 5 เมื่อเราคิดแบบกระบวนระบบ เราจะเห็นอะไรบาง 1. จะเห็นวาคําตอบที่ถูกตองมิไดมีเพียงคําตอบเดียว ในการทํางานบางครั้งเราจะพบวามีการกระทําที่มีศักยภาพ (Potential action)มากมาย บางการกระทํา สงผลกระทบอยางแรงหรือที่เราเรียกวา “คานงัดทรงพลัง” (Hight leverage) ในขณะที่บางการกระทําอาจจะสงผล กระทบอยางเบา หรือที่เราเรียกวา “คานงัดเล็ก” (Low leverage) 2. เราไมสามารถแบงระบบออกเปนครึ่งหรือชิ้นๆออกจากกันอยางสิ้นเชิงหรืออยางเด็ดขาด เนื่องจากระบบเปนองครวม ดังนั้นในการทํางานเราจึงควรมองใหเห็นภาพรวม การที่เราจะทํางานใหได ผลลั พ ธ ที่ ดี ที่ สุ ด จากระบบที่ ซั บ ซ อ นนั้ น ขึ้ น อยู กั บ ว า เราสามารถมองระบบให เ ห็ น ทุ ก แง ทุ ก มุ ม ทุ ก มิ ติ ห รื อ ไม โดยธรรมชาติของการคิดกระบวนระบบจะใหความสําคัญของการรวมมือกัน บางครั้งอาจจะตองดึงคนที่อยูตรงขาม เขามารวมดําเนินการดวยซ้ํา 3. งานที่เราทําบางครั้งซับซอนมากมาย เราเองก็ไมสามารถจัดการใหเสร็จในทันใด บางครั้งเราจําเปนตองอดทนเพื่อทําใหสําเร็จ คุณสมบัติบางประการของการคิดกระบวนระบบ 1. เปนการคิดเชิงเครือขาย ตองมองใหเห็นวาในระบบประกอบไปดวยอะไรบาง มีความสัมพันธกันอยางไร ตัวอยางเชน ระบบตางๆ ของรางกาย เชนเดียวกับการมองชุมชน เราตองเขาใจปฏิสัมพันธของผูคนและสิ่งตางๆในชุมชน 2. ระบบตางๆจะซอนทับกัน ในระบบใหญๆจะมีระบบยอยๆ ซอนลงมาเรื่อยๆเปนชั้นๆ ดังนั้นเมื่อเรามองปญหาในหมูบาน เราอาจจะ พบวามันซอนทับกับปญหาระดับชุมชน ปญหาระดับสังคม เปนตน 3. การคิดกระบวนระบบคือ การคิดแบบสัมพันธกับบริบท (Context) การคิดแบบสัมพันธกับบริบท คือการคิดถึงความสัมพันธระหวางตัวระบบกับสิ่งแวดลอมของมัน 4. หัวใจอยูที่การเชื่อมความสัมพันธปอนกลับ (Feedback) การคิดกระบวนระบบนั้น เราจะตองมองใหเห็นเสนแหงความสัมพันธ (Relationship) เพราะถาเราคิดแบบ แยกสวน เราก็จะเห็นแคจุดปญหาเทานั้น และเราก็จะมุงไปแกแคจุดปญหาที่เราเห็น โดยละเลยการแกไขตรง จุดอื่นๆที่สงผลตอปญหา  5. การคิดกระบวนระบบเปนการคิดอยางเปนกระบวนการ (Systemic thinking is a process thinking) ระบบตางๆมักจะมีชีวิต มีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ดังนั้นกระบวนการ (Process) สําหรับการ ทํางานจึงเปนเรื่องสําคัญ แตในการคิดเชิงกระบวนระบบนั้น เราไมควรจะไปยึดติดกับกระบวนการ เพราะทุกสิ่ง ทุกอยางมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงดังที่กลาวมาแลว
  • 6. 6 ระบบเปรียบเสมือนภูเขาน้ําแข็ง วิธีคิดกระบวนระบบ จะมองระบบดวยวิธคดใน 4 ระดับ ดังนี้ ี ิ ระดับปรากฏการณ  สายตาของเรา ระดับแนวโนมและแบบแผน (Pattern) ระดับโครงสราง (Structure) ระดับภาพจําลองความคิด (Mental Model) 1. ระดับปรากฏการณหรือระดับเหตุการณ วิธีคิดในระดับนี้ จะเปนการมองเห็นสิ่งตางๆ หรือเหตุการณตางๆ ดวยสายตา เชน เห็นแมคาขายอาหาร โดยใชน้ํามันทอดซ้ํา 2. ระดับแนวโนมและแบบแผน (Pattern) วิธีคิดในระดับนี้ จะมองโดยคิดวาหากมีแบบแผนแบบนี้ ปรากฎการณจะเปนอยางไร การมองแบบนี้จะเริ่ม มีการใชขอมูล สถิติตางๆเขามาประกอบการมอง ทําใหเห็นแนวโนมของปรากฎการณที่เกิดขึ้น เชน แมคากลุมไหน จะใชน้ํามันทอดซ้ํา และสวนใหญจะใชนานประมาณกี่วันถึงจะเปลี่ยน 3. ระดับโครงสราง (Structure) วิธีคิดในระดับนี้ เราจะตองเขาใจวาแบบแผนตางๆนั้นเกิดจากโครงสรางของมัน และในระบบนั้น สวนใหญ ยังไมไดเกิดจากโครงสรางเดียว มันอาจจะเปนโครงสรางหลายชั้นซอนกัน เชน โครงสรางดานกฎระเบียบ/กฎหมาย , โครงสรางทางเศรษฐกิจ , โครงสรางดานเทคโนโลยี , โครงสรางทางธุรกิจ , โครงสรางขององคกร , โครงสราง ความสัมพันธระหวางบุคคล , โครงสรางภาพจําลองความคิด ดังนั้นการที่น้ํามันพืชมีราคาแพง และเมื่อเหลือแลวไมมีใครมารับซื้อ ตลอดจนไมรูขอมูลเกี่ยวกับอันตราย ก็ยงคงทําใหแมคาใชน้ํามันเกาๆอยู ั
  • 7. 7 4. ระดับภาพจําลองความคิด (Mental Model) วิธีคิดในระดับนี้ จะเปนการมองโดยเขาใจวา การที่คนมีพฤติกรรม เกิดจากทัศนคติ คานิยม ความเชื่อ นิสัย ตางๆ เชน หากแมคาที่ใชนํ้ามันทอดซ้ํา รูวาน้ํามันทอดซ้ํามีอันตรายตอสุขภาพ และตนเองเปนคนใจบุญ ถือศีล ก็อาจจะมีพฤติกรรมการใชน้ํามันที่ปลอดภัยขึ้นกวาเดิม หรือมีความรับผิดชอบตอสังคมมากขึ้น ในขณะที่คนบางคน ที่ซื้ออาหารที่ใชน้ํา มั น ทอดซ้ํ า ก็ อาจจะเปน คนที่ มีนิสัยชอบรับประทานอาหารชนิดนั้นมากกว า จะตระหนัก ถึง อันตราย การคิดเชื่อมโยงเรื่องของเหตุและผล (Causal loop) ดังที่เราทราบมาแลววาหลักการสําคัญของวิธีคิดกระบวนการระบบคือความเชื่อมโยง (หรือที่เราเรียกวาเสน ความสัมพันธ) , ความสัมพันธนั้นๆมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันอยางไร คําถามแบบนี้จะนําเราไปสูการคิดแบบ ตรรกะ หรือความเปนเหตุเปนผล (Logic) อันจะทําใหเราเขาใจและแกไขปญหาตางๆไดดียิ่งขึ้น การฝกฝนเพื่อใหเห็นความเชื่อมโยงสัมพันธตางๆนั้น ในวิธีคิดกระบวนระบบเรียบกวา “เสนของความเปน เหตุและผล” (Causal loop) ซึ่งวิธีการลากเสนดังกลาวนั้น ในการคิดกระบวนระบบจะใชวิธีการลากเสนในรูปแบบ ของการตั้งคําถาม โดยเราจะเริ่มจากผลลัพธสุดทายกอน แลวคอยๆตั้งคําถามยอนกลับ โดยใชทักษะการตั้งคําถาม (Inquiry) , ทักษะการคิดทบทวน (Reflection) และทักษะการนําเสนอ (Advocacy) การคิดกระบวนระบบมีประโยชนตอความคิดของเราหลายประการ 1. ทําใหเรามองโลกรอบตัวอยางเปนองครวม 2. ทําใหเราเห็นความเกี่ยวของปฏิสมพันธขององคประกอบตางๆ ั 3. ทําใหเราเขาใจวา ความสัมพันธของสวนยอยๆนั้น มีอิทธิพลตอเหตุการณตางๆของระบบ 4. ทําใหเราเขาใจวา “ชีวิต” มีการเคลื่อนไหว และเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 5. ทํ า ให เ ราเข า ใจว า เหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ๆอาจจะส ง ผลต อ อี ก เหตุ ก ารณ ห นึ่ ง ได แม เ หตุ ก ารณ ห ลั ง จะเกิ ด หลั ง จาก เหตุการณแรกผานไปแลวอยางนาน หรืออยูไกลจากเหตุการณแรกมาก 6. ทําใหเรารูวา สิ่งที่เกิดรอบๆตัวนั้น เราก็มีสวนเกี่ยวของดวย