SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 53
Descargar para leer sin conexión
จัดทำโดย
เด็กหญิง รชยำนันท์ จันโททัย ม.1/1 เลขที่ 21
  เด็กหญิง วิภำมำศ พลภักดี ม.1/1 เลขที่ 22
เด็กหญิง บุษบำวิลิศ สิ ทธิมงคล ม.1/2 เลขที่ 18
ประวัติจงหวัดแพร่
                               ั
 เมืองแพร่ เป็ นเมืองเก่าเมืองหนึ่งในภาคเหนือของประเทศไทย ประวัติการสร้างเมือง ไม่มี
จารึ กในที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะารศึกษาเรื่ องราวของเมืองแพร่ จึงต้องอาศัยหลักฐาน ของ
เมืองอื่น เช่น พงศาวดารโยนก ตานานเมืองเหนือ ตานาน การสร้างพระธาตุลาปางหลวง
และศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็ นต้นตานานพระธาตุช่อแฮกล่าวว่า เมืองแพร่ มี
                                                    ่
มาตั้งแต่ สมัยพุทธกาล ตานานวัดหลวงกล่าวไว้วาประมาณ พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล
ราชนัดดาแห่งกษัตริ ยน่านเจ้าได้อพยพคนไทย ( ไทยลื้อ ไทยเขิน) ส่ วนหนึ่งจากเมืองเชียง
                         ์
แสน ไชยบุรี และเวียงพางคาลงมาสร้างเมืองบนที่ราบริ มฝังแม่น้ ายม ขนานนามว่า เมือง
พลนคร (เมืองแพร่ ปัจจุบน) ตานานสิ งหนวัติกล่าวว่าเมืองแพร ่่เป็ นเมือง ที่ปกครองโดย
                            ั
พญายีบาแห่งแคว้นหริ ภุญไชยสันนิษฐานว่าเมืองแพร่ และเมืองลาพูนเป็ นเมือง ที่สร้าง
         ่
ขึ้นมาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่ งสอดคล้องกับหลักศิลาจารึ ก พ่อขุนราม คาแหง
                                                           ่
มหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 24 - 25 ซึ่ งจารึ กไว้วา . “.. เบื้องตีนนอน รอดเมือง
แพล เมืองน่าน เมือง … เมืองพลัวพ้นฝั่งของ เมืองชวา เป็ นที่แล้ว …” ในข้อความนี้ เมือง
แพล คือ เมืองแพร่ ศิลาจารึ กนี้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 1826 จึงเป็ น สิ่ งที่ยนยันถึง ความเก่าแก่
                                                                         ื
ของเมืองแพร่ ว่าตั้งขึ้นมาก่อนเมืองเชียงใหม่และเชื่อว่าเมืองแพร่ ได้ก่อตั้งขึ้นแล้วก่อนการ
ตั้งกรุ งสุ โขทัยเป็ น ราชธานี ชื่อเดิมของเมืองแพร่
ประวัติจงหวัดแพร่
                        ั
การก่อตั้งชุมชนหรื อบ้านเมืองส่ วนใหญ่ในภาคเหนือมักปรากฎ ชื่อ
บ้านเมืองนั้นในตานาน เรื่ องเล่า หรื อจารึ กตลอดจนหลักฐานเอกสาร
พื้นเมืองของเมืองนั้น ๆ แต่สาหรับเมืองแพร่ น้ น แตกต่างออกไปเนื่องจาก
                                               ั
ไม่มีหลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงจึงมีที่มาของ ชื่อเมืองจากหลักฐานอื่น
ดังนี้ เมืองพล นครพลหรื อพลรัฐนคร เป็ นชื่อเก่าแก่ด้ งเดิมที่สุดที่พบชื่อ
                                                      ั
เวียงโกศัย น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็ นที่ต้ งขององค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่ งเป็ น
                                            ั
พระธาตุศกดิ์สิทธิ์ คู่บานคู่เมืองแพร่ คือ ดอยโกสิ ยธชัคบรรพต หมายถึง
            ั          ้
ดอยแห่งผ้าแพร เมืองแพล เป็ นชื่อที่ปรากฎ ในศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหง
มหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 โดยคาว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของ
ชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพร หรื อช่อแฮที่สร้างขึ้น ภายหลังการสร้าง
เมืองต่อมาจึงได้เรี ยกชื่อ เมืองของตนว่า เมืองแพล และได้กลายเสี ยงเป็ น
เมืองแพร่ และเป็ นจังหวัดแพร่ ในปั จจุบนปั จจุบน
                                          ั      ั
สภาพทัวไป
                             ่
                                                      ่
จังหวัดแพร่ เป็ นจังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งอยูระหว่างเส้นรุ ้งเหนือที่
                                                            ่
14.70 ถึง 18.44 องศา กับเส้นแวงที่ 99.58 ถึง 100.32 องศา อยูสูงกว่า
                                         ่
ระดับน้ าทะเลประมาณ 155 เมตร อยูห่างจากกรุ งเทพมหานคร ตามทางหลวง
หมายเลข 11 และ 101 ประมาณ 555 กิโลเมตร และทางรถไฟ 550 กิโลเมตร
(ถึงสถานีรถไฟเด่นชัย) มีเนื้อที่ประมาณ 6,538.59 ตารางกิโลเมตร หรื อ
ประมาณ 4,086,625 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 1.27 ของพื้นที่ประเทศ จัดเป็ นพื้นที่
จังหวัดขนาดกลาง มีความกว้างประมาณ 59 กิโลเมตร (วัดจากตะวันออกสุ ด
ของอาเภอเมืองตะวันตกสุ ดของอาเภอลอง ) มีความยาวประมาณ 118 กิโลเมตร
(วัดจากเหนือสุ ดของอาเภอสอง ใต้สุดของอาเภอวังชิ้น ) ปั จจุบน ที่ต้งของ
                                                              ั ั
จังหวัดแพร่ นบเป็ นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ งทางรถยนต์ ที่สาคัญแห่งหนึ่ง
               ั
ของภาคเหนือที่ติดต่อไปยังจังหวัดน่าน พะเยา เชียงราย ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่
             ่
จึงเรี ยกได้วาจังหวัดแพร่ เป็ น ประตูสู่ ล้ำนนำ
อำณำเขต
 ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดพะเยาและน่าน
 ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดน่าน
 ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดลาปาง
 ทิศใต้ ติดกับจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดสุ โขทัย
ภูมประเทศ
                                ิ

จังหวัดแพร่ เป็ นจังหวัดที่มีภูเขาล้อมรอบทั้งสี่ ทิศ มีภูเขาที่สูงที่สุดอยู่
ที่ ดอยกู่สถาน (บางชื่อเรี ยกว่าดอยขุนสถาน) สู ง 1,650 เมตร จาก
ระดับน้ าทะเลปานกลาง โดยทัวไปพื้นที่ราบจะมีความสู งจาก
                                 ่
ระดับน้ าทะเลปานกลางประมาณ 120-200 เมตร สาหรับตัวเมืองแพร่
มีความสู ง 161 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง แม่น้ ายมเป็ นลาน้ า
ที่สาคัญที่สุดของจังหวัดแพร่ ตนกาเนิดจากเทือกเขาผีปันน้ า อาเภอ
                                   ้
ปง จังหวัดพะเยา
ภูมอำกำศ
                            ิ
 ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์-กลางเดือนพฤษภาคม จะมี
  อากาศร้อน อบอ้าวอุณหภูมิสูงสุ ดที่เคยวัดได้ 43.6 องศาเซลเซียสเมื่อ
  ปี พ.ศ. 2526 อุณหภูมิเฉลี่ยสู งสุ ดในเดือนเมษายน 37.3 องศา
  เซลเซียส
 ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม มีน้ าฝน
  เฉลี่ยต่อปี ประมาณ 1,000-1,500 มิลมิเมตร
 ฤดูหนำว เริ่ มตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคม-ปลายเดือนกุมภาพันธ์ จะมี
  อากาศหนาวอาจถึงหนาวจัดในบางปี อุณหภูมิต่าสุ ดที่เคยวัดได้ 4.6
  องศาเซลเซียสเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517 อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุ ดใน
  เดือนมกราคม 14.4 องศาเซลเซียส
หน่วยการปกครอง
การปกครองแบ่งออกเป็ น 8 อาเภอ 78 ตาบล 645 หมู่บาน
                                               ้
1. อาเภอเมืองแพร่
2. อาเภอร้องกวาง
3. อาเภอลอง
4, อาเภอสู งเม่น
5. อาเภอเด่นชัย
6. อาเภอสอง
7. อาเภอวังชิ้น
8. อาเภอหนองม่วงไข่
หน่วยการปกครอง
 อำเภอเมือง      อำเภอสอง       อำเภอลอง     อำเภอสู งเม่ น   อำเภอเด่ นชัย    อำเภอร้ อง   อำเภอหนอง    อำเภอวังชิ้น
    แพร่                                                                         กวำง         ม่ วงไข่

1.เทศบาลเมือง   1.เทศบาลตาบล   1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล      1.เทศบาลตาบล    1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล
แพร่            สอง            บ้านปิ น     สู งเม่น          เด่นชัย         ร้องกวาง     หนองม่วงไข่  วังชิ้น
2.เทศบาลตาบล    2.เทศบาลตาบล   2.เทศบาลตาบล                   2.เทศบาลตาบล    2.เทศบาลตาบล
ช่อแฮ           ห้วยหม้าย      ห้วยอ้อ                        แม่จวะ
                                                                   ั๊         บ้านเวียง
3.เทศบาลตาบล                   3.เทศบาลตาบล                   3.เทศบาลตาบล
ทุ่งโฮ้ง                       แม่ปาน                         ปงป่ าหวาย
4.เทศบาลตาบล                   4.เทศบาลตาบล
แม่หล่าย                       แม่ลานนา
5.เทศบาลตาบล                   5.เทศบาลตาบล
ป่ าแมต                        เวียงต้า
6.เทศบาลตาบล
แม่คามี
7.เทศบาลตาบล
บ้านถิ่น
8.เทศบาลตาบล
สวนเขื่อน
9.เทศบาลตาบล
เศรษฐกิจ
สถานภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดแพร่ ในปี 2543 พบว่าประชากรที่รายได้
เฉลี่ยต่อหัว 25,497 ต่อปี เป็ นลาดับที่ 17 ของภาคเหนือ ลาดับที่ 63 ของ
ประเทศ จังหวัดมีผลิตภัณฑ์มวลรวม 13,080 ล้านบาท รายได้ส่วนใหญ่
       ่ ั
ขึ้นอยูกบสาขาการบริ การ มากที่สุดคือ ร้อยละ 24.08 คิดเป็ นมูลค่า 3,071
ล้านบาท (3.071 พันล้านบาท) รองลงมาได้แก่ สาขาการค้าส่ งและค้าปลีก
คือร้อยละ 23.71 คิดเป็ นมูลค่า 3,023 ล้านบาท (3.023 พันล้านบาท) และเป็ น
สาขา เกษตรกรรม ร้อยละ 15.38 คิดเป็ นมูลค่า 1,962 ล้านบาท(1.962
พันล้านบาท)
เว็บไซต์จงหวัดแพร่
                  ั
www.phrae.go.th
ประวัติอาเภอเมืองแพร่
ร.๕ กรณี กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ การปกครองของไทยยุคปฏิรูป ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า
        ่ ั
เจ้าอยูหว ส่งผลให้หวเมืองทางล้านนา ต้องเปลี่ยนระบบการปกครอง จากระบบเจ้าหลวง มาเป็ น ระบบ
                          ั
เทศาภิบาล เป็ นจังหวะเดียวกับ ที่เกิดเหตุการณ์ กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ อันเป็ นเหตุ ให้ไม่มีนามสกุล 'ณ
แพร่ ' เหมือนชาวจังหวัดอื่น ยุวดี มณี กล เปิ ดเผย ประวัติศาสตร์บอกเล่า ของคนท้องถิ่น ทายาทเจ้าวัง
                                       ุ
ซ้าย ผูกมความลับสาคัญ ของแผ่นดินมาเนิ่นนานเจ้านายเมืองแพร่ เป็ นนักรบผูเ้ สี ยสละทุกพระองค์ไม่วา
         ุ้                                                                                            ่
จะเป็ นเจ้ามังไชยยะ เจ้าพิริยะะเทพวงศ์ (ผูตองยอมรับกับความผิดที่ตนไม่ได้ทาแต่เพื่อเมืองแพร่ จึงจา
                                             ้้
ยอม) หรื อองค์อื่นใดก็ตาม เจ้าหลวงแพร่ ไม่ได้เป็ นกบฏ!ชายชราวัย 78 ปี ผูคงบุคลิกกระฉับกระเฉง
                                                                           ้
และมีความทรงจาแจ่มชัด นังอยูเ่ บื้องหน้าคนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่ง ซึ่งแกเชื่อเหลือเกินว่าคนเหล่านี้ 'ถูก
                               ่
เลือก' ให้เป็ นผูเ้ ปิ ดเผยความลับสาคัญของตระกูล และเป็ นความลับสาคัญของแผ่นดิน ในรัชสมัย
                                         ่ ั
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว เป็ นความลับที่ คุณลุงรัตน์ วังซ้าย ทายาทคนสุดท้องใน
บรรดา 12 คนของเจ้าน้อยหมวก (บุตรของเจ้าวังซ้าย) และเจ้าแสงแก้ว เก็บงามาตลอดเพราะหวัน          ่
อาถรรพณ์น้ าสาบานที่พระมหากษัตริ ยรับสังให้ผรู้ความดื่มร่ วมกัน สยามประเทศยุคนั้นมีผร่วมดื่มน้ า
                                          ์ ่ ู้                                          ู้
สาบานและรู้ความลับนี้เพียง 8 คน ยังสัญญาใจที่มารดากาชับไม่ให้บอกใคร จนกว่าจะถึงเวลาที่
เหมาะสม แม้แกไม่ใช่ผร่วมดื่มน้ าสาบานโดยตรง แต่อาถรรพณ์ที่เกิดกับบุพการี เป็ นประจักษ์ อย่างไรก็
                            ู้
ตามในวัยขนาดนี้แกไม่กลัวความตายอีกแล้ว 24 มีนาคม 2546 คือเวลาเหมาะสมที่ชายชราเมืองแพร่
ตัดสิ นใจเผยความลับนั้น ก่อนที่สงขารจะพรากความทรงจาไป
                                    ั
ที่ต้ งและอาณาเขต
                        ั
อาเภอเมืองแพร่ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้
 ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอหนองม่วงไข่
 ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอร้องกวาง และอาเภอนาหมื่น (จังหวัด
   น่าน)
 ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอท่าปลา (จังหวัดอุตรดิตถ์) และอาเภอสู งเม่น
 ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสู งเม่นและอาเภอลอง
กำรปกครองส่ วนภูมภำค
                                    ิ
    อาเภอเมืองแพร่ แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็ น20 ตาบล 156 หมู่บาน ได้แก่
                                                                     ้
   1.ในเวียง(Nai Wiang)-                        11.บ้านถิ่น(Ban Thin)11 หมู่บาน ้
   2.นาจักร(Na Chak)9 หมู่บาน้                  12.สวนเขื่อน(Suan Khuean)10 หมู่บาน         ้
   3.น้ าชา(Nam Cham)4 หมู่บาน ้                13.วังหงส์(Wang Hong)7 หมู่บาน      ้
   4.ป่ าแดง(Pa Daeng)10 หมู่บาน     ้          14.แม่คามี(Mae Kham Mi)12 หมู่บาน         ้
   5.ทุ่งโฮ้ง(Thung Hong)6 หมู่บาน         ้    15.ทุ่งกวาว(Thung Kwao)5 หมู่บาน        ้
   6.เหมืองหม้อ(Mueang Mo)11 หมู่บาน  16.ท่าข้าม(Tha Kham)3 หมู่บาน
                                              ้                                 ้
                                                 17.แม่ยม(Mae Yom)4 หมู่บาน  ้
   7.วังธง(Wang Thong)6 หมู่บาน          ้
                                                 18.ช่อแฮ(Cho Hae)12 หมู่บาน
                                                                            ้
   8.แม่หล่าย(Mae Lai)8 หมู่บาน  ้
                                                 19.ร่ องฟอง(Rong Fong)4 หมู่บาน       ้
   9.ห้วยม้า(Huai Ma)12 หมู่บาน    ้
                                                 20.กาญจนา(Kanchana)7 หมู่บาน      ้
   10.ป่ าแมต(Pa Maet)15 หมู่บาน       ้
ประวัติหมู่บานสองแคว
                         ้
                    ต.ป่ าแมต อ.เมือง จ.แพร่
ด้วยบ้านสองแควเป็ นเกาะกลางของแม่น้ ายม โดยสมัยก่อนแม่น้ ายมไหลเป็ น
สองสาย สายแรกอย่าทงทิศตะวันออกของหมู่บานไหลลงไปทางหนองข้าว
                                          ้
หลงในปัจจุบน สายที่สอง คือสายของแม่น้ ายมปัจจุบน ดังนั้นหมู่บานนี้ จึงมี
               ั                                 ั            ้
ชื่อเรี ยกตามลักษณะภูมิประเทศว่าบ้านสองแคว เนื่องจากมีน้ าไหลผ่าน
หมู่บานสองสายด้ยกัน
        ้
ประวัติจงหวัดเชียงราย
                         ั
 พงศาวดารโยนกว่า พญามังรายสร้างขึ้น ณ ที่ซ่ ึ งเดิมเป็ นเวียงชัยนารายณ์ เมื่อ พ.ศ.
1805 และครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. 1839 จึงไปสร้างเมือง
เชียงใหม่ข้ ึนในท้องที่ระหว่างดอยสุ เทพกับแม่น้ าปิ ง และครองราชสมบัติอยู่ ณ
เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860สาหรับเมืองเชียงรายนั้น เมื่อพญามังรายย้ายไป
ครองราชสมบัติท่ีเมืองเชียงใหม่แล้ว พระราชโอรสคือ ขุนคราม หรื ออีกชื่อหนึ่ ง
ว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชสมบัติสืบต่อมา นับแต่น้ นเมืองเชียงรายก็ข้ ึน
                                                            ั
                                               ่
ต่อเมืองเชียงใหม่ครั้นต่อมาเมื่อล้านนาตกไปอยูในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ.
2101 พม่าได้ต้ งขุนนางปกครองเมืองเชียงรายเรื่ อยมา หลังจากนั้น พ.ศ. 2317 เจ้า
                ั
กาวิละแห่งลาปางได้สวามิภกดิ์ต่อกรุ งเทพฯ ทาให้หวเมืองล้านนาฝ่ ายใต้ตกเป็ น
                             ั                       ั
ประเทศราชของสยาม ขณะที่เชียงรายและหัวเมืองล้านนาฝ่ านเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่
ใต้อานาจพม่า ล้านนากลายเป็ นพื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า
ประวัติจงหวัดเชียงราย
                   ั
ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่ มร้างผูคน ประชาชนอพยพหนี ภย
                                             ้                      ั
สงครามไปอยูเ่ มืองอื่น บ้างก็ถกกวาดต้อนลงไปทางใต้ พ.ศ. 2247 เมือง
                                  ู
เชียงแสนฐานที่มนสุ ดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่าน
                     ั่
ตีแตก เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็ นเมืองร้างตามเมืองเชียงแสนในปี
                                               ่ ั
พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหวมีพระบรมราชานุญาตให้
                                    ่
เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟ้ื นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงรายได้เป็ น
ส่ วนหนึ่ งของมณฑลพฤศจิกายนพ กระทังปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จ
                                           ่
                            ่ ั
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหวจึงมีพระราชบัญญัติยกเชียงรายขึ้นเป็ น เมือง
                                                       ่ ั
เชี ยงราย ซึ่ ง "เมือง" เป็ นหน่วยการปกครองหนึ่ งที่อยูถดจาก "มณฑล" ลง
มา โดยเมืองเชียงรายเป็ นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง และพะเยา
ภายหลังเมืองเชียงรายได้เปลี่ยนเป็ นจังหวัดเชียงราย และเมื่อวันที่ 28
สิ งหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่ วนทางตอนใต้ของจังหวัด
จัดตั้งขึ้นเป็ นจังหวัดพะเยา จนถึงปั จจุบน
                                         ั
ทีต้ง
                              ่ ั
จังหวัดเชียงรายตั้งอยูเ่ หนือสุ ดของประเทศไทย อยูระหว่างเส้นรุ ้งที่
                                                 ่
19 องศาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา
15 ลิปดา ถึง 100 องศา 45 ลิปดาตะวันออก อยูห่างจาก
                                               ่
กรุ งเทพมหานคร 824 กิโลเมตร
ภูมประเทศ
                               ิ
จังหวัดเชียงรายมีภูมิประเทศเป็ นเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือ (North Continental Highland) มีพ้ืนที่
ราบสู งเป็ นหย่อม ๆ ในเขตอาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่ าเป้ า และอาเภอเชียงของ บริ เวณเทือกเขาจะมี
                                                                              ่
ความสูงประมาณ 1,500-2,000 เมตรจากระดับน้ าทะเล บริ เวณส่ วนที่ราบตามลุมแม่น้ าสิ งหาคมญใน
ตอนกลางของพื้นที่ ได้แก่ อาเภอพาน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่จน อาเภอแม่สาย อาเภอเชียง
                                                                      ั
แสน และอาเภอเชียงของ มีความสูงประมาณ 410-580 เมตร จากระดับน้ าทะเลตั้งอยูเ่ หนือสุ ดของ
ประเทศไทย อาณาเขตของจังหวัดทางทิศเหนือติดกับแคว้นเมืองสาด และ แคว้นท่าขี้เหล็ก ของ รัฐ
ฉาน ประเทศพม่า และ แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว ทิศตะวันออกติดกับแขวงอุดมไซ ประเทศลาว ทิศ
ใต้ติดกับ อาเภอแม่ใจ อาเภอภูกามยาว อาเภอดอกคาใต้ อาเภอจุน อาเภอเชียงคาและ อาเภอภู
ซาง จังหวัดพะเยา อาเภอเมืองปาน และอาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง ทิศตะวันตกติดกับ อาเภอดอย
สะเก็ด อาเภอพร้าว อาเภอไชยปราการ อาเภอฝาง และ อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และแคว้นเมือง
สาด ของ รัฐฉานประเทศพม่า มีชายแดนติดกับประเทศพม่ายาว ประมาณ 130 กิโลเมตร และมี
ชายแดนติดต่อกับลาวประมาณ 180 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ประมาณ 11,680 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ
7,290,000 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขาสู ง มีป่าไม้ปกคลุม บริ เวณเทือกเขามีช้ นความสู ง
                                                                                     ั
1,500-2,000 เมตร จากระดับน้ าทะเล มีที่ราบเป็ นหย่อม ๆ ในระหว่างหุ บเขา และตามลุมน้ า  ่
สิ งหาคมญ จังหวัดเชียงรายมีภูเขาล้อมรอบโดยเฉพาะทางทิศตะวันตกเป็ นแนวเทือกเขาผีปัน
น้ า ติดต่อกันไปเป็ นพืดตลอดเขตจังหวัด
ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี
มีหลำกหลำยประเพณีและวัฒนธรรม เช่ น
 แห่ พระแวดเวียง
 ปอยหลวง
 ป๋ ำเวณี ปี๋ ใหม่ เมือง งำนประเพณีสงกรำนต์
 งำนเทศกำลลินจี่และของดีเมืองเชียงรำย
                    ้
 งำนไหว้ สำพญำมังรำย
 เป็ งปุ๊ ด(เพ็ญพุทธ)
 งำนอนุรักษ์ มรดกไทยล้ ำนนำ
 งำนประเพณีขึนพระธำตุดอยตุง
                      ้
 ประเพณีบวงสรวงเจ้ ำพ่ อปลำบึก
 ประเพณีโล้ ชิงช้ ำของชำวอีก้อ
การปกครอง
       การปกครองแบ่งออกเป็ น 18 อาเภอ 124 ตาบล 1,751 หมู่บาน
                                                          ้
1.อาเภอเมืองเชียงราย   10.อาเภอแม่สรวย
2.อาเภอเวียงชัย        11.อาเภอเวียงป่ าเป้ า
3.อาเภอเชียงของ        12.อาเภอพญาเม็งราย
4.อาเภอเทิง            13.อาเภอเวียงแก่น
5.อาเภอพาน             14.อาเภอขุนตาล
6.อาเภอป่ าแดด         15.อาเภอแม่ฟ้าหลวง
7อาเภอแม่จน ั          16.อาเภอแม่ลาว
8.อาเภอเชียงแสน        17.อาเภอเวียงเชียงรุ ้ง
9.อาเภอแม่สาย          18.อาเภอดอยหลวง
ทรัพยากร
พื้นที่จงหวัดเชียงรายมีท้ งสิ้ น 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรื อ
        ั                 ั
7,298,981 ไร่
ในปี 2542 มีพ้ืนที่ป่าไม้จานวน 2,365,967 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 32.42
ของพื้นที่ท้ งหมด
             ั
ประชากร
  ประชากรในเขตจังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้เป็ น กลุ่ม คือประชากร
  ในเขตจังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้เป็ น กลุ่ม คือ
 คนไทยพืนรำบ้
 ชำวไทยภูเขำ
 ผู้พลัดถินสั ญชำติพม่ ำ
           ่
 ชำวลำวอพยพ
 ชำวจีน
เว็บไซต์จงหวัดเชียงราย
                 ั
www.chiangrai.go.th
ประวัติอาเภอเวียงป่ าเป้ า
 อาเภอเวียงป่ าเป้ า เป็ นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ากว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผูครองเมือง
                                                                                 ้
เชียงใหม่ เป็ นผูก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นาราษฎรชาวเชียงใหม่ข้ ึนมาถาง
                   ้
ป่ าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยูห่างตัวอาเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระ
                       ่
ยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปั จจุบน )เป็ นเจ้าผูครองเมือง ต่อมาประมาณปี
                                                   ั            ้
พ.ศ.2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็ นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ าจะท่วมประจา
ทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่ าไม้ที่มีไม้เป้ า(เป้ าน้อย ซึ่งเป็ นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้ว
ตั้งขึ้นเป็ นเมืองชัวคราว ในปี พ.ศ.2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์
                     ่
(ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปั จจุบน ) ผูเ้ ป็ นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นเจ้าผูครองเมือง
                                     ั                                         ้
ป่ าเป้ าสื บแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็ นกาแพงเมือง (ปัจจุบนจะเห็นร่ องรอยบริ เวณวัดป่ า
                                                              ั
ม่วง - วัดศรี คาเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่ าเป้ า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่
กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชัยขันธ์” ในปั จจุบน ) ซึ่งเป็ นน้องเขย
                                                                     ั
ได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสื บแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อ
                                                          ่
จารจลขึ้นที่ตวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ข้ ึนอยูในเขตปกครองของอาเภอแม่พริ ก
                 ั
(บ้านแม่พริ ก อาเภอแม่สรวยในปั จจุบน      ั
ประวัติอาเภอเวียงป่ าเป้ า
                                      ่
และต่อมาอาเภอแม่พริ กได้ยายมาอยูริมน้ าแม่สรวย และขนานนามใหม่วา
                              ้                                           ่
                                                           ่
อาเภอแม่สรวย )อาเภอเวียงป่ าเป้ าเป็ นอาเภอหนึ่ งซึ่ งอยูทิศใต้ของจังหวัด
เชียงราย จากทั้งหมด 16 อาเภอ 2 กิ่ง อยูห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร
                                           ่
การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง
180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวง
หมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอาเภอวังเหนือ ถึงจังหวัด
ลาปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตาบล
บ้านโป่ งเทวีไปยังอาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม.
ลักษณะที่ต้ งของอาเภอเป็ นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ าไหลผ่านจากภูเขาผี
             ั
ปั นน้ า( ดอยนางแก้ว ) เรี ยกแม่น้ าลาว ไหลลงสู่ แม่น้ ากก โดยผ่านอาเภอ
แม่สรวย อาเภอแม่ลาว อาเภอเมือง และอาเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะ
    ่
อยูประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก
สู งกว่าระดับน้ าทะเล 547 เมตร พื้นที่ท้ งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรื อ
                                         ั
765,625 ไร่ เป็ นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่ พ้นที่ป่าไม้ 560,272
                                                         ื
ไร่
ลักษณะภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศของอาเภอเวียงป่ าเป้ า แบ่งเป็ น 3 ฤดู
  ฤดูร้อน ระหว่างเดือน มีนาคม – พฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดือน
                     ่
   เมษายน อุณหภูมิอยูระหว่าง 20 – 35 องศาเซลเซียส
  ฤดูฝน ระหว่างเดือน มิถุนายน – ตุลาคม ฝนตกชุกในเดือนสิ งหาคม
                                     ่
   มักจะมีน้ าป่ าไหลหลาก อุณหภูมิอยูระหว่าง 15 – 30 องศาเซลเซียส
  ฤดูหนำว ระหว่างเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อากาศหนาวจัดใน
                          ่
   เดือนธันวาคมอุณหภูมิอยูระหว่าง 10 – 25 องศาเซลเซียส บนยอด
   ดอยจะมีน้ าค้างแข็งได้
ลักษณะประชากร
ด้านชาติพนธุ์ ชาวพื้นเมืองได้อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงที่เกิด
             ั
กบฏเงี้ยวมีท้ งไทยยวนและ ไทยยองประชากรส่ วนใหญ่เป็ นชาวพื้นเมือง
                ั
มีประมาณ 60,000 คน และมีชาวเขาเผ่าม้ง ลาหู่(มูเซอร์ ) ลีซอ และกระเหรี่
ยง ประมาณ 15,000 คน โดยเฉพาะเผ่ามูเซอร์ มีมากที่สุด เดิมทีได้อพยพ
มาจากมณฑลยูนาน, เสฉวน, กวางสี แล้วถูกจีนรุ กราน เคลื่อนย้ายมาสู่ รัฐ
เชียงตุง รัฐฉานของพม่า และลาว แล้วทยอยเข้ามาสู่ ไทยหลายระลอก
ปั จจุบนทาให้เกิดปั ญหายาเสพติด และไม่มีบตรประจาตัวประชาชน
        ั                                         ั
ปั จจุบนได้มีประชาชนจากภาคอีสานได้มาซื้ อที่ดินบริ เวณรอบ ๆ อาเภอ
          ั
เวียงป่ าเป้ า ที่เป็ นป่ าเสื่ อมโทรม มาปลูกสร้างบ้านเรื อนและประกอบ
อาชีพเกษตรกรรม ทาไร่ ทาสวน ปลูกข้าว บางหมู่บานเป็ นคนอีสานทั้ง
                                                          ้
หมู่บาน และมีนายทุนมากว้านซื้ อที่ดินและมาอาศัยอยูกมีมาก
      ้                                                     ่็
สังคมวัฒนธรรม
ประชากรส่ วนมากเป็ นชาวพื้นเมือง ที่อพยพมาจาก จังหวัดลาปาง จังหวัด
เชียงใหม่ (ไทยวน) จังหวัดลาพูน (ไทยอง) ประมาณร้อยละ 75 นอกนั้น
เป็ น ชาวเขา เช่น ปกากะญอ(กระเหรี่ ยง) ม้ง เย้า อาข่า มูเซอดา ลีซอ
ศาสนาที่นบถือกันคือ ศาสนาพุทธ รองลงมาเป็ นคริ สต์นิกาย
             ั
โรมันคาทอลิก และโปแตสแตนต์ ประเพณี ที่สาคัญทางพุทธศาสนาก็คือ
ประเพณี ตานก๋ วยสลาก ปอยหลวง สรงน้ าพระธาตุต่าง ๆ จะมีข้ ึนในวัน
เพ็ญเดือน 6 ส่ วนประเพณี ทองถิ่นจะมีก่อนวันเพ็ญเดือน 7 ประมาณ 1-2
                              ้
วัน เช่น การลงผีมด ( เป็ นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ประจาหมู่บาน) การ
                                                                 ้
ฟ้ อนผีเม็ง ( เป็ นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ที่อาศัยอยูสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ )
                                                      ่       ั
การไหว้ผปู่ย่า ( ผีบรรพบุรุษ ) ส่ วนวัฒนธรรมในการดารงชีพ เช่น การ
           ี
               ่
กิน การอยูอาศัย มีลกษณะคล้ายคลึงกันทัวไปในภาคเหนือล้านนามีการ
                      ั                  ่
ก่อสร้างมัสยิดในเขตตาบลแม่เจดียใหม่ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีศาสนิก ชุมชนมุสลิม
                                    ์
หรื อสัปบุรุษในพื้นที่เลย[1] สร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มชาวบ้าน และเกิด
การต่อต้านจากกลุ่มชาวพุทธในพื้นที่[2]
เศรษฐกิจ
 อาชีพราษฎรส่ วนใหญ่ ทาการเกษตรกรรม มีพ้ืนที่นาประมาณ 39,347 ไร่ ที่ไร่ ประมาณ 28,500 ไร่ พืช
                                                                           ้ ่
เศรษฐกิจที่สาคัญได้แก่ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้ามีเพียงเล็กน้อย แต่จะมี โรงสี ขางอยูจานวนมากบริ เวณบ้าน
หม้อ ตาบลป่ างิ้ว ส่ วนมากจะรับจ้างสี ขาวส่งที่จงหวัดเชียงใหม่ โรงงานผสมปูนซีเมนต์สาเร็ จรู ปและผสม
                                         ้      ั
ยางแอสฟั้นส์ กับหินละเอียด ตั้งอยูเ่ ขตตาบลเวียงกาหลง มีการใช้น้ ามันเตาในการเผายางแอสฟั้นส์(ยางมะ
ตอย)ในการทายางผสมแอสฟั้นส์ติก เพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน ส่ วนพืชไร่ ที่สาคัญ คือ ขิง จะมีโรงงานดอง
ขิงฉวีเฉวียนฟรุ๊ ต ตั้งอยูบริ เวณตาบล เวียงกาหลง ซึ่ งได้ส่งออกไปยังประเทศไต้หวัน จีน และญี่ปุ่น ทา
                          ่
                                                                            ่ ้
รายได้ให้แก่ราษฎรปี ละประมาณ 100 ล้านบาท โรงงานดองผักกาดดอง ตั้งอยูดานทิศเหนือของอาเภอ ส่ วน
พืชชนิดอื่น เช่น กะหล่าปี จะปลูกมากบนที่ราบสูงโดยเฉพาะชาวเขาได้ทาการปลูกจานวนมาก ซึ่ งเป็ น
สาเหตุของการทาไร่ เลื่อนลอย ถางและเผาป่ า ใบชาเมี่ยงก็ปลูกกันมากบริ เวณหุบเขาผีปันน้ า เพราะอากาศ
เย็นตลอดปี มีจาหน่ายในตลาดบ้านแม่ขะจาน โดยเฉพาะใบชาตราแม่คาที่ข้ ึนชื่อด้านรสชาติ อาชีพการเพาะ
                                                                      ้
เห็ดเป็ นอาชีพอีกอาชีพหนึ่งที่ทารายได้ให้เกษตรกรกลุ่มหนึ่ง ไม่วาจะเป็ นเห็ดฟาง ( จะเริ่ มทาการ เพาะเห็ด
                                                                 ่
ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ – ตุลาคม ) เห็ดแชมปิ ยอง ( ระเริ่ มทาการเพาะเห็ดประมาณเดือน ตุลาคม –
กุมภาพันธ์ เพราะเห็ดชนิดนี้ชอบอากาศเย็นในการออกผลผลิต ) ส่ วนเห็ดที่สามารถทาการเพาะได้ตลอดปี
                                           ็
คือ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้ า นางรม เห็ด แต่กมีการเพาะเห็ดเป๋ าฮื้อเหมือนกัน แต่มีไม่มาก สาหรับตลาดที่รับซื้ อ
ที่สาคัญคือ โครงการหลวงดอยคา อาเภอฝาง บริ ษทส่ งออกเห็ดแปรรู ป นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดลาพูน
                                                  ั
โรงงาน UFC จังหวัดลาปาง และส่ งขายปลีกให้แก่แม่คาภายในอาเภอเพื่อจาหน่ายแก่ประชาชนทัวไป
                                                         ้                                     ่
ที่ต้ งและอาณาเขต
                      ั
                          ่
อาเภอเวียงป่ าเป้ าตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ของจังหวัด มีอาณา
เขตติดต่อกับอาเภอข้างเคียง ดังนี้
ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอแม่สรวยและอาเภอพาน
ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอวังเหนือ(จังหวัดลาปาง)
ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเมืองปาน (จังหวัดลาปาง) และอาเภอดอ
สะเก็ด (จังหวัดเชียงใหม่)
ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอพร้าว(จังหวัดเชียงใหม่)
การแบ่งเขตการปกครอง
กำรปกครองส่ วนภูมภำค  ิ
อาเภอเวียงป่ าเป้ าแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็ น 7 ตาบล 92 หมู่บาน ได้แก่
                                                               ้
1.ตำบลสั นสลี(San Sali)13 หมู่บาน้
2.ตำบลเวียง(Wiang)12 หมู่บาน ้
3.ตำบลบ้ ำนโป่ ง(Ban Pong)7 หมู่บาน้
4.ตำบลป่ ำงิว(Pa Ngiw)16 หมู่บาน
            ้                  ้
5.ตำบลเวียงกำหลง(Wiang Kalong)15 หมู่บาน   ้
6.ตำบลแม่ เจดีย์(Mae Chedi)16 หมู่บาน้
7.ตำบลแม่ เจดีย์ใหม่ (Mae Chedi Mai)14 หมู่บาน
                                             ้
การแบ่งเขตการปกครอง
กำรปกครองส่ วนท้ องถิ่น
ท้องที่อาเภอเวียงป่ าเป้ าประกอบด้วยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 9 แห่ง ได้แก่
1.เทศบำลตำบลเวียงป่ ำเป้ ำ ครอบคลุมพื้นที่บางส่ วนของตาบลเวียง
2.เทศบำลตำบลแม่ ขะจำน ครอบคลุมพื้นที่บางส่ วนของตาบลแม่เจดีย ์
3.เทศบำลตำบลเวียงกำหลง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเวียงกาหลงทั้งตาบล
4.เทศบำลตำบลป่ ำงิว ครอบคลุมพื้นที่ตาบลป่ างิ้วทั้งตาบล
                     ้
5.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลสั นสลี ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสันสลีท้ งตาบล
                                                               ั
6.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลเวียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเวียง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลเวียงป่ าเป้ า)
7.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลบ้ ำนโป่ ง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านโป่ งทั้งตาบล
8.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลแม่ เจดีย์ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลแม่เจดีย ์ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลแม่ขะจาน)
9.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลแม่ เจดีย์ใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลแม่เจดียใหม่ท้ งตาบล
                                                                    ์     ั
ประวัติบานหัวเวียง
                          ้
                 ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
ประวัติควำมเป็ นมำ :
  ตาบลเวียง เป็ นตาบลที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับอาเภอเวียงป่ าเป้ า ในปี
   พ.ศ.2446 คาว่า "เวียง" ตามภาษาลานนา แปล่า เมือง
ประวัติบานหัวเวียง
                      ้
             ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
สภำพทั่วไปของตำบล :
 สภาพพื้นที่เป็ นที่ราบลุ่ม ที่ราบสู ง ที่เชิงเขา มีภูเขาล้อมรอบ ตัดผ่าน
  ด้วยแม่น้ าลาวและน้ าแม่ปูน
อำณำเขตตำบล :
 ทิศเหนือ ติดกับ ต.สันสลี อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
  ทิศใต้ ติดกับ ต.บ้านโป่ ง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
  ทิศตะวันออก ติดกับ อ.วังเหนือ จ.ลาปาง
  ทิศตะวันตก ติดกับ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่
ประวัติบานหัวเวียง
                    ้
           ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
จำนวนประชำกรของตำบล :
 จานวนประชากรในเขต อบต. 10,382 คน และจานวนหลังคาเรื อน
  2,783 หลังคาเรื อน
ข้ อมูลอำชีพของตำบล :
 อาชีพหลัก ทานา ทาสวน
  อาชีพเสริ ม ทาผ้าห่มนวม
ประวัติบานหัวเวียง
                     ้
            ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย
ข้ อมูลสถำนทีสำคัญของตำบล :
             ่
  1. วนอุทยานแห่งชาติน้ าตกแม่โท
  2. หนองน้ าใส
  3. วัดหนองยาว
  4. วัดอรัญญวิเวกคีรี
3

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพJunya Yimprasert
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandTon51238K
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงJunya Yimprasert
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 

La actualidad más candente (18)

แผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวมแผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวม
 
แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62แผนพัฒนาสามปี 60 62
แผนพัฒนาสามปี 60 62
 
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
 
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
 
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501
 
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailand
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวงกว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
กว่าจะพูดออกมาได้ว่า ทำไมถึงไม่รักในหลวง
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
ศรีษเกษ
ศรีษเกษศรีษเกษ
ศรีษเกษ
 

Similar a 3

ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าjarudee
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
Pp ผลกระทบ
Pp ผลกระทบPp ผลกระทบ
Pp ผลกระทบKanokwan Bewii
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายChoengchai Rattanachai
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจามสพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจามCDD Pathum Thani
 

Similar a 3 (20)

ตาก
ตากตาก
ตาก
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
ภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้าภาคเหนือเจ้า
ภาคเหนือเจ้า
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
จังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพรจังหวัดชุมพร
จังหวัดชุมพร
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
จังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตรจังหวัดพิจิตร
จังหวัดพิจิตร
 
Pp ผลกระทบ
Pp ผลกระทบPp ผลกระทบ
Pp ผลกระทบ
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
สงขลา
สงขลาสงขลา
สงขลา
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
จังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษจังหวัดศรีสะเกษ
จังหวัดศรีสะเกษ
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ชัยภุม
ชัยภุมชัยภุม
ชัยภุม
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจามสพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 5 บ้านคลองอ้ายจาม
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

3

  • 1. จัดทำโดย เด็กหญิง รชยำนันท์ จันโททัย ม.1/1 เลขที่ 21 เด็กหญิง วิภำมำศ พลภักดี ม.1/1 เลขที่ 22 เด็กหญิง บุษบำวิลิศ สิ ทธิมงคล ม.1/2 เลขที่ 18
  • 2.
  • 3.
  • 4. ประวัติจงหวัดแพร่ ั เมืองแพร่ เป็ นเมืองเก่าเมืองหนึ่งในภาคเหนือของประเทศไทย ประวัติการสร้างเมือง ไม่มี จารึ กในที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะารศึกษาเรื่ องราวของเมืองแพร่ จึงต้องอาศัยหลักฐาน ของ เมืองอื่น เช่น พงศาวดารโยนก ตานานเมืองเหนือ ตานาน การสร้างพระธาตุลาปางหลวง และศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เป็ นต้นตานานพระธาตุช่อแฮกล่าวว่า เมืองแพร่ มี ่ มาตั้งแต่ สมัยพุทธกาล ตานานวัดหลวงกล่าวไว้วาประมาณ พ.ศ. 1371 พ่อขุนหลวงพล ราชนัดดาแห่งกษัตริ ยน่านเจ้าได้อพยพคนไทย ( ไทยลื้อ ไทยเขิน) ส่ วนหนึ่งจากเมืองเชียง ์ แสน ไชยบุรี และเวียงพางคาลงมาสร้างเมืองบนที่ราบริ มฝังแม่น้ ายม ขนานนามว่า เมือง พลนคร (เมืองแพร่ ปัจจุบน) ตานานสิ งหนวัติกล่าวว่าเมืองแพร ่่เป็ นเมือง ที่ปกครองโดย ั พญายีบาแห่งแคว้นหริ ภุญไชยสันนิษฐานว่าเมืองแพร่ และเมืองลาพูนเป็ นเมือง ที่สร้าง ่ ขึ้นมาในระยะเวลาใกล้เคียงกัน ซึ่ งสอดคล้องกับหลักศิลาจารึ ก พ่อขุนราม คาแหง ่ มหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 บรรทัดที่ 24 - 25 ซึ่ งจารึ กไว้วา . “.. เบื้องตีนนอน รอดเมือง แพล เมืองน่าน เมือง … เมืองพลัวพ้นฝั่งของ เมืองชวา เป็ นที่แล้ว …” ในข้อความนี้ เมือง แพล คือ เมืองแพร่ ศิลาจารึ กนี้สร้างขึ้นใน พ.ศ. 1826 จึงเป็ น สิ่ งที่ยนยันถึง ความเก่าแก่ ื ของเมืองแพร่ ว่าตั้งขึ้นมาก่อนเมืองเชียงใหม่และเชื่อว่าเมืองแพร่ ได้ก่อตั้งขึ้นแล้วก่อนการ ตั้งกรุ งสุ โขทัยเป็ น ราชธานี ชื่อเดิมของเมืองแพร่
  • 5. ประวัติจงหวัดแพร่ ั การก่อตั้งชุมชนหรื อบ้านเมืองส่ วนใหญ่ในภาคเหนือมักปรากฎ ชื่อ บ้านเมืองนั้นในตานาน เรื่ องเล่า หรื อจารึ กตลอดจนหลักฐานเอกสาร พื้นเมืองของเมืองนั้น ๆ แต่สาหรับเมืองแพร่ น้ น แตกต่างออกไปเนื่องจาก ั ไม่มีหลักฐาน ที่เกี่ยวข้อง โดยตรงจึงมีที่มาของ ชื่อเมืองจากหลักฐานอื่น ดังนี้ เมืองพล นครพลหรื อพลรัฐนคร เป็ นชื่อเก่าแก่ด้ งเดิมที่สุดที่พบชื่อ ั เวียงโกศัย น่าจะมาจากชื่อดอยที่เป็ นที่ต้ งขององค์พระธาตุช่อแฮ ซึ่ งเป็ น ั พระธาตุศกดิ์สิทธิ์ คู่บานคู่เมืองแพร่ คือ ดอยโกสิ ยธชัคบรรพต หมายถึง ั ้ ดอยแห่งผ้าแพร เมืองแพล เป็ นชื่อที่ปรากฎ ในศิลาจารึ กพ่อขุนรามคาแหง มหาราชหลักที่ 1 ด้านที่ 4 โดยคาว่า แพล น่าจะมาจากศรัทธาของ ชาวเมืองที่มีต่อพระธาตุช่อแพร หรื อช่อแฮที่สร้างขึ้น ภายหลังการสร้าง เมืองต่อมาจึงได้เรี ยกชื่อ เมืองของตนว่า เมืองแพล และได้กลายเสี ยงเป็ น เมืองแพร่ และเป็ นจังหวัดแพร่ ในปั จจุบนปั จจุบน ั ั
  • 6. สภาพทัวไป ่ ่ จังหวัดแพร่ เป็ นจังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ตั้งอยูระหว่างเส้นรุ ้งเหนือที่ ่ 14.70 ถึง 18.44 องศา กับเส้นแวงที่ 99.58 ถึง 100.32 องศา อยูสูงกว่า ่ ระดับน้ าทะเลประมาณ 155 เมตร อยูห่างจากกรุ งเทพมหานคร ตามทางหลวง หมายเลข 11 และ 101 ประมาณ 555 กิโลเมตร และทางรถไฟ 550 กิโลเมตร (ถึงสถานีรถไฟเด่นชัย) มีเนื้อที่ประมาณ 6,538.59 ตารางกิโลเมตร หรื อ ประมาณ 4,086,625 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 1.27 ของพื้นที่ประเทศ จัดเป็ นพื้นที่ จังหวัดขนาดกลาง มีความกว้างประมาณ 59 กิโลเมตร (วัดจากตะวันออกสุ ด ของอาเภอเมืองตะวันตกสุ ดของอาเภอลอง ) มีความยาวประมาณ 118 กิโลเมตร (วัดจากเหนือสุ ดของอาเภอสอง ใต้สุดของอาเภอวังชิ้น ) ปั จจุบน ที่ต้งของ ั ั จังหวัดแพร่ นบเป็ นศูนย์กลางการคมนาคมขนส่ งทางรถยนต์ ที่สาคัญแห่งหนึ่ง ั ของภาคเหนือที่ติดต่อไปยังจังหวัดน่าน พะเยา เชียงราย ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ ่ จึงเรี ยกได้วาจังหวัดแพร่ เป็ น ประตูสู่ ล้ำนนำ
  • 7. อำณำเขต  ทิศเหนือ ติดกับจังหวัดพะเยาและน่าน  ทิศตะวันออก ติดกับจังหวัดน่าน  ทิศตะวันตก ติดกับจังหวัดลาปาง  ทิศใต้ ติดกับจังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดสุ โขทัย
  • 8. ภูมประเทศ ิ จังหวัดแพร่ เป็ นจังหวัดที่มีภูเขาล้อมรอบทั้งสี่ ทิศ มีภูเขาที่สูงที่สุดอยู่ ที่ ดอยกู่สถาน (บางชื่อเรี ยกว่าดอยขุนสถาน) สู ง 1,650 เมตร จาก ระดับน้ าทะเลปานกลาง โดยทัวไปพื้นที่ราบจะมีความสู งจาก ่ ระดับน้ าทะเลปานกลางประมาณ 120-200 เมตร สาหรับตัวเมืองแพร่ มีความสู ง 161 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง แม่น้ ายมเป็ นลาน้ า ที่สาคัญที่สุดของจังหวัดแพร่ ตนกาเนิดจากเทือกเขาผีปันน้ า อาเภอ ้ ปง จังหวัดพะเยา
  • 9. ภูมอำกำศ ิ  ฤดูร้อน เริ่ มตั้งแต่ปลายเดือนกุมภาพันธ์-กลางเดือนพฤษภาคม จะมี อากาศร้อน อบอ้าวอุณหภูมิสูงสุ ดที่เคยวัดได้ 43.6 องศาเซลเซียสเมื่อ ปี พ.ศ. 2526 อุณหภูมิเฉลี่ยสู งสุ ดในเดือนเมษายน 37.3 องศา เซลเซียส  ฤดูฝน เริ่ มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม มีน้ าฝน เฉลี่ยต่อปี ประมาณ 1,000-1,500 มิลมิเมตร  ฤดูหนำว เริ่ มตั้งแต่ปลายเดือนตุลาคม-ปลายเดือนกุมภาพันธ์ จะมี อากาศหนาวอาจถึงหนาวจัดในบางปี อุณหภูมิต่าสุ ดที่เคยวัดได้ 4.6 องศาเซลเซียสเมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2517 อุณหภูมิเฉลี่ยต่าสุ ดใน เดือนมกราคม 14.4 องศาเซลเซียส
  • 10. หน่วยการปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็ น 8 อาเภอ 78 ตาบล 645 หมู่บาน ้ 1. อาเภอเมืองแพร่ 2. อาเภอร้องกวาง 3. อาเภอลอง 4, อาเภอสู งเม่น 5. อาเภอเด่นชัย 6. อาเภอสอง 7. อาเภอวังชิ้น 8. อาเภอหนองม่วงไข่
  • 11. หน่วยการปกครอง อำเภอเมือง อำเภอสอง อำเภอลอง อำเภอสู งเม่ น อำเภอเด่ นชัย อำเภอร้ อง อำเภอหนอง อำเภอวังชิ้น แพร่ กวำง ม่ วงไข่ 1.เทศบาลเมือง 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล 1.เทศบาลตาบล แพร่ สอง บ้านปิ น สู งเม่น เด่นชัย ร้องกวาง หนองม่วงไข่ วังชิ้น 2.เทศบาลตาบล 2.เทศบาลตาบล 2.เทศบาลตาบล 2.เทศบาลตาบล 2.เทศบาลตาบล ช่อแฮ ห้วยหม้าย ห้วยอ้อ แม่จวะ ั๊ บ้านเวียง 3.เทศบาลตาบล 3.เทศบาลตาบล 3.เทศบาลตาบล ทุ่งโฮ้ง แม่ปาน ปงป่ าหวาย 4.เทศบาลตาบล 4.เทศบาลตาบล แม่หล่าย แม่ลานนา 5.เทศบาลตาบล 5.เทศบาลตาบล ป่ าแมต เวียงต้า 6.เทศบาลตาบล แม่คามี 7.เทศบาลตาบล บ้านถิ่น 8.เทศบาลตาบล สวนเขื่อน 9.เทศบาลตาบล
  • 12. เศรษฐกิจ สถานภาพทางเศรษฐกิจของจังหวัดแพร่ ในปี 2543 พบว่าประชากรที่รายได้ เฉลี่ยต่อหัว 25,497 ต่อปี เป็ นลาดับที่ 17 ของภาคเหนือ ลาดับที่ 63 ของ ประเทศ จังหวัดมีผลิตภัณฑ์มวลรวม 13,080 ล้านบาท รายได้ส่วนใหญ่ ่ ั ขึ้นอยูกบสาขาการบริ การ มากที่สุดคือ ร้อยละ 24.08 คิดเป็ นมูลค่า 3,071 ล้านบาท (3.071 พันล้านบาท) รองลงมาได้แก่ สาขาการค้าส่ งและค้าปลีก คือร้อยละ 23.71 คิดเป็ นมูลค่า 3,023 ล้านบาท (3.023 พันล้านบาท) และเป็ น สาขา เกษตรกรรม ร้อยละ 15.38 คิดเป็ นมูลค่า 1,962 ล้านบาท(1.962 พันล้านบาท)
  • 14.
  • 15.
  • 16. ประวัติอาเภอเมืองแพร่ ร.๕ กรณี กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ การปกครองของไทยยุคปฏิรูป ในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้า ่ ั เจ้าอยูหว ส่งผลให้หวเมืองทางล้านนา ต้องเปลี่ยนระบบการปกครอง จากระบบเจ้าหลวง มาเป็ น ระบบ ั เทศาภิบาล เป็ นจังหวะเดียวกับ ที่เกิดเหตุการณ์ กบฏเงี้ยวเมืองแพร่ อันเป็ นเหตุ ให้ไม่มีนามสกุล 'ณ แพร่ ' เหมือนชาวจังหวัดอื่น ยุวดี มณี กล เปิ ดเผย ประวัติศาสตร์บอกเล่า ของคนท้องถิ่น ทายาทเจ้าวัง ุ ซ้าย ผูกมความลับสาคัญ ของแผ่นดินมาเนิ่นนานเจ้านายเมืองแพร่ เป็ นนักรบผูเ้ สี ยสละทุกพระองค์ไม่วา ุ้ ่ จะเป็ นเจ้ามังไชยยะ เจ้าพิริยะะเทพวงศ์ (ผูตองยอมรับกับความผิดที่ตนไม่ได้ทาแต่เพื่อเมืองแพร่ จึงจา ้้ ยอม) หรื อองค์อื่นใดก็ตาม เจ้าหลวงแพร่ ไม่ได้เป็ นกบฏ!ชายชราวัย 78 ปี ผูคงบุคลิกกระฉับกระเฉง ้ และมีความทรงจาแจ่มชัด นังอยูเ่ บื้องหน้าคนกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่ง ซึ่งแกเชื่อเหลือเกินว่าคนเหล่านี้ 'ถูก ่ เลือก' ให้เป็ นผูเ้ ปิ ดเผยความลับสาคัญของตระกูล และเป็ นความลับสาคัญของแผ่นดิน ในรัชสมัย ่ ั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหว เป็ นความลับที่ คุณลุงรัตน์ วังซ้าย ทายาทคนสุดท้องใน บรรดา 12 คนของเจ้าน้อยหมวก (บุตรของเจ้าวังซ้าย) และเจ้าแสงแก้ว เก็บงามาตลอดเพราะหวัน ่ อาถรรพณ์น้ าสาบานที่พระมหากษัตริ ยรับสังให้ผรู้ความดื่มร่ วมกัน สยามประเทศยุคนั้นมีผร่วมดื่มน้ า ์ ่ ู้ ู้ สาบานและรู้ความลับนี้เพียง 8 คน ยังสัญญาใจที่มารดากาชับไม่ให้บอกใคร จนกว่าจะถึงเวลาที่ เหมาะสม แม้แกไม่ใช่ผร่วมดื่มน้ าสาบานโดยตรง แต่อาถรรพณ์ที่เกิดกับบุพการี เป็ นประจักษ์ อย่างไรก็ ู้ ตามในวัยขนาดนี้แกไม่กลัวความตายอีกแล้ว 24 มีนาคม 2546 คือเวลาเหมาะสมที่ชายชราเมืองแพร่ ตัดสิ นใจเผยความลับนั้น ก่อนที่สงขารจะพรากความทรงจาไป ั
  • 17. ที่ต้ งและอาณาเขต ั อาเภอเมืองแพร่ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตการปกครองข้างเคียงดังต่อไปนี้  ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอหนองม่วงไข่  ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอร้องกวาง และอาเภอนาหมื่น (จังหวัด น่าน)  ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอท่าปลา (จังหวัดอุตรดิตถ์) และอาเภอสู งเม่น  ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอสู งเม่นและอาเภอลอง
  • 18. กำรปกครองส่ วนภูมภำค ิ อาเภอเมืองแพร่ แบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็ น20 ตาบล 156 หมู่บาน ได้แก่ ้  1.ในเวียง(Nai Wiang)-  11.บ้านถิ่น(Ban Thin)11 หมู่บาน ้  2.นาจักร(Na Chak)9 หมู่บาน้  12.สวนเขื่อน(Suan Khuean)10 หมู่บาน ้  3.น้ าชา(Nam Cham)4 หมู่บาน ้  13.วังหงส์(Wang Hong)7 หมู่บาน ้  4.ป่ าแดง(Pa Daeng)10 หมู่บาน ้  14.แม่คามี(Mae Kham Mi)12 หมู่บาน ้  5.ทุ่งโฮ้ง(Thung Hong)6 หมู่บาน ้  15.ทุ่งกวาว(Thung Kwao)5 หมู่บาน ้  6.เหมืองหม้อ(Mueang Mo)11 หมู่บาน  16.ท่าข้าม(Tha Kham)3 หมู่บาน ้ ้  17.แม่ยม(Mae Yom)4 หมู่บาน ้  7.วังธง(Wang Thong)6 หมู่บาน ้  18.ช่อแฮ(Cho Hae)12 หมู่บาน ้  8.แม่หล่าย(Mae Lai)8 หมู่บาน ้  19.ร่ องฟอง(Rong Fong)4 หมู่บาน ้  9.ห้วยม้า(Huai Ma)12 หมู่บาน ้  20.กาญจนา(Kanchana)7 หมู่บาน ้  10.ป่ าแมต(Pa Maet)15 หมู่บาน ้
  • 19.
  • 20.
  • 21.
  • 22. ประวัติหมู่บานสองแคว ้ ต.ป่ าแมต อ.เมือง จ.แพร่ ด้วยบ้านสองแควเป็ นเกาะกลางของแม่น้ ายม โดยสมัยก่อนแม่น้ ายมไหลเป็ น สองสาย สายแรกอย่าทงทิศตะวันออกของหมู่บานไหลลงไปทางหนองข้าว ้ หลงในปัจจุบน สายที่สอง คือสายของแม่น้ ายมปัจจุบน ดังนั้นหมู่บานนี้ จึงมี ั ั ้ ชื่อเรี ยกตามลักษณะภูมิประเทศว่าบ้านสองแคว เนื่องจากมีน้ าไหลผ่าน หมู่บานสองสายด้ยกัน ้
  • 23.
  • 24.
  • 25.
  • 26. ประวัติจงหวัดเชียงราย ั พงศาวดารโยนกว่า พญามังรายสร้างขึ้น ณ ที่ซ่ ึ งเดิมเป็ นเวียงชัยนารายณ์ เมื่อ พ.ศ. 1805 และครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. 1839 จึงไปสร้างเมือง เชียงใหม่ข้ ึนในท้องที่ระหว่างดอยสุ เทพกับแม่น้ าปิ ง และครองราชสมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860สาหรับเมืองเชียงรายนั้น เมื่อพญามังรายย้ายไป ครองราชสมบัติท่ีเมืองเชียงใหม่แล้ว พระราชโอรสคือ ขุนคราม หรื ออีกชื่อหนึ่ ง ว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชสมบัติสืบต่อมา นับแต่น้ นเมืองเชียงรายก็ข้ ึน ั ่ ต่อเมืองเชียงใหม่ครั้นต่อมาเมื่อล้านนาตกไปอยูในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ต้ งขุนนางปกครองเมืองเชียงรายเรื่ อยมา หลังจากนั้น พ.ศ. 2317 เจ้า ั กาวิละแห่งลาปางได้สวามิภกดิ์ต่อกรุ งเทพฯ ทาให้หวเมืองล้านนาฝ่ ายใต้ตกเป็ น ั ั ประเทศราชของสยาม ขณะที่เชียงรายและหัวเมืองล้านนาฝ่ านเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ ใต้อานาจพม่า ล้านนากลายเป็ นพื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า
  • 27. ประวัติจงหวัดเชียงราย ั ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่ มร้างผูคน ประชาชนอพยพหนี ภย ้ ั สงครามไปอยูเ่ มืองอื่น บ้างก็ถกกวาดต้อนลงไปทางใต้ พ.ศ. 2247 เมือง ู เชียงแสนฐานที่มนสุ ดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่าน ั่ ตีแตก เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็ นเมืองร้างตามเมืองเชียงแสนในปี ่ ั พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนังเกล้าเจ้าอยูหวมีพระบรมราชานุญาตให้ ่ เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟ้ื นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงรายได้เป็ น ส่ วนหนึ่ งของมณฑลพฤศจิกายนพ กระทังปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จ ่ ่ ั พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูหวจึงมีพระราชบัญญัติยกเชียงรายขึ้นเป็ น เมือง ่ ั เชี ยงราย ซึ่ ง "เมือง" เป็ นหน่วยการปกครองหนึ่ งที่อยูถดจาก "มณฑล" ลง มา โดยเมืองเชียงรายเป็ นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง และพะเยา ภายหลังเมืองเชียงรายได้เปลี่ยนเป็ นจังหวัดเชียงราย และเมื่อวันที่ 28 สิ งหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่ วนทางตอนใต้ของจังหวัด จัดตั้งขึ้นเป็ นจังหวัดพะเยา จนถึงปั จจุบน ั
  • 28. ทีต้ง ่ ั จังหวัดเชียงรายตั้งอยูเ่ หนือสุ ดของประเทศไทย อยูระหว่างเส้นรุ ้งที่ ่ 19 องศาเหนือ ถึง 20 องศา 30 ลิปดาเหนือ และเส้นแวงที่ 99 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 45 ลิปดาตะวันออก อยูห่างจาก ่ กรุ งเทพมหานคร 824 กิโลเมตร
  • 29. ภูมประเทศ ิ จังหวัดเชียงรายมีภูมิประเทศเป็ นเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือ (North Continental Highland) มีพ้ืนที่ ราบสู งเป็ นหย่อม ๆ ในเขตอาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่ าเป้ า และอาเภอเชียงของ บริ เวณเทือกเขาจะมี ่ ความสูงประมาณ 1,500-2,000 เมตรจากระดับน้ าทะเล บริ เวณส่ วนที่ราบตามลุมแม่น้ าสิ งหาคมญใน ตอนกลางของพื้นที่ ได้แก่ อาเภอพาน อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอแม่จน อาเภอแม่สาย อาเภอเชียง ั แสน และอาเภอเชียงของ มีความสูงประมาณ 410-580 เมตร จากระดับน้ าทะเลตั้งอยูเ่ หนือสุ ดของ ประเทศไทย อาณาเขตของจังหวัดทางทิศเหนือติดกับแคว้นเมืองสาด และ แคว้นท่าขี้เหล็ก ของ รัฐ ฉาน ประเทศพม่า และ แขวงบ่อแก้ว ประเทศลาว ทิศตะวันออกติดกับแขวงอุดมไซ ประเทศลาว ทิศ ใต้ติดกับ อาเภอแม่ใจ อาเภอภูกามยาว อาเภอดอกคาใต้ อาเภอจุน อาเภอเชียงคาและ อาเภอภู ซาง จังหวัดพะเยา อาเภอเมืองปาน และอาเภอวังเหนือ จังหวัดลาปาง ทิศตะวันตกติดกับ อาเภอดอย สะเก็ด อาเภอพร้าว อาเภอไชยปราการ อาเภอฝาง และ อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และแคว้นเมือง สาด ของ รัฐฉานประเทศพม่า มีชายแดนติดกับประเทศพม่ายาว ประมาณ 130 กิโลเมตร และมี ชายแดนติดต่อกับลาวประมาณ 180 กิโลเมตร มีพ้ืนที่ประมาณ 11,680 ตารางกิโลเมตร หรื อประมาณ 7,290,000 ไร่ ลักษณะพื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นภูเขาสู ง มีป่าไม้ปกคลุม บริ เวณเทือกเขามีช้ นความสู ง ั 1,500-2,000 เมตร จากระดับน้ าทะเล มีที่ราบเป็ นหย่อม ๆ ในระหว่างหุ บเขา และตามลุมน้ า ่ สิ งหาคมญ จังหวัดเชียงรายมีภูเขาล้อมรอบโดยเฉพาะทางทิศตะวันตกเป็ นแนวเทือกเขาผีปัน น้ า ติดต่อกันไปเป็ นพืดตลอดเขตจังหวัด
  • 30. ศิลปวัฒนธรรม และประเพณี มีหลำกหลำยประเพณีและวัฒนธรรม เช่ น  แห่ พระแวดเวียง  ปอยหลวง  ป๋ ำเวณี ปี๋ ใหม่ เมือง งำนประเพณีสงกรำนต์  งำนเทศกำลลินจี่และของดีเมืองเชียงรำย ้  งำนไหว้ สำพญำมังรำย  เป็ งปุ๊ ด(เพ็ญพุทธ)  งำนอนุรักษ์ มรดกไทยล้ ำนนำ  งำนประเพณีขึนพระธำตุดอยตุง ้  ประเพณีบวงสรวงเจ้ ำพ่ อปลำบึก  ประเพณีโล้ ชิงช้ ำของชำวอีก้อ
  • 31. การปกครอง การปกครองแบ่งออกเป็ น 18 อาเภอ 124 ตาบล 1,751 หมู่บาน ้ 1.อาเภอเมืองเชียงราย 10.อาเภอแม่สรวย 2.อาเภอเวียงชัย 11.อาเภอเวียงป่ าเป้ า 3.อาเภอเชียงของ 12.อาเภอพญาเม็งราย 4.อาเภอเทิง 13.อาเภอเวียงแก่น 5.อาเภอพาน 14.อาเภอขุนตาล 6.อาเภอป่ าแดด 15.อาเภอแม่ฟ้าหลวง 7อาเภอแม่จน ั 16.อาเภอแม่ลาว 8.อาเภอเชียงแสน 17.อาเภอเวียงเชียงรุ ้ง 9.อาเภอแม่สาย 18.อาเภอดอยหลวง
  • 32. ทรัพยากร พื้นที่จงหวัดเชียงรายมีท้ งสิ้ น 11,678.369 ตารางกิโลเมตร หรื อ ั ั 7,298,981 ไร่ ในปี 2542 มีพ้ืนที่ป่าไม้จานวน 2,365,967 ไร่ คิดเป็ นร้อยละ 32.42 ของพื้นที่ท้ งหมด ั
  • 33.
  • 34. ประชากร ประชากรในเขตจังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้เป็ น กลุ่ม คือประชากร ในเขตจังหวัดเชียงราย แบ่งออกได้เป็ น กลุ่ม คือ  คนไทยพืนรำบ้  ชำวไทยภูเขำ  ผู้พลัดถินสั ญชำติพม่ ำ ่  ชำวลำวอพยพ  ชำวจีน
  • 36.
  • 37.
  • 38. ประวัติอาเภอเวียงป่ าเป้ า อาเภอเวียงป่ าเป้ า เป็ นเมืองเก่าแก่ อายุไม่ต่ากว่า 200 ปี เจ้าอินทวิชยานนท์ ผูครองเมือง ้ เชียงใหม่ เป็ นผูก่อตั้งโดยมอบหมายให้พระยาไชยวงค์ นาราษฎรชาวเชียงใหม่ข้ ึนมาถาง ้ ป่ าอ้อหญ้าไซ ซึ่งอยูห่างตัวอาเภอไปทางใต้ แล้วสร้างเมืองชื่อว่า “เมืองเฟยไฮ” และพระ ่ ยาไชยวงค์( ต้นตระกูล "บุญชัยวงศ์" ในปั จจุบน )เป็ นเจ้าผูครองเมือง ต่อมาประมาณปี ั ้ พ.ศ.2430 พระยาไชวงค์เห็นว่าเมืองเฟยไฮเป็ นที่ราบลุ่ม พอเข้าฤดูฝนน้ าจะท่วมประจา ทุกปี จึงให้ราษฎรขึ้นมาถางป่ าไม้ที่มีไม้เป้ า(เป้ าน้อย ซึ่งเป็ นสมุนไพรชนิดหนึ่ง) แล้ว ตั้งขึ้นเป็ นเมืองชัวคราว ในปี พ.ศ.2440 พระยาไชยวงค์ได้ถึงแก่กรรม พระยาเทพณรงค์ ่ (ต้นตระกูล”ทาอุปรงค์”ในปั จจุบน ) ผูเ้ ป็ นบุตรเขย ได้รับแต่งตั้งให้เป็ นเจ้าผูครองเมือง ั ้ ป่ าเป้ าสื บแทน และได้ใช้อิฐก่อเป็ นกาแพงเมือง (ปัจจุบนจะเห็นร่ องรอยบริ เวณวัดป่ า ั ม่วง - วัดศรี คาเวียง) และตั้งชื่อเมืองว่า”เวียงป่ าเป้ า” ต่อมาพระยาเทพณรงค์ ได้ถึงแก่ กรรม พระยาขันธเสมาบดี ( ต้นตระกูล ”ธนะชัยขันธ์” ในปั จจุบน ) ซึ่งเป็ นน้องเขย ั ได้รับการแต่งตั้งให้ครองเมืองสื บแทน ประมาณปี พ.ศ 2448 พวกเงี้ยว (ไทยใหญ่) ได้ก่อ ่ จารจลขึ้นที่ตวเมืองเชียงรายและเชียงใหม่ ได้ข้ ึนอยูในเขตปกครองของอาเภอแม่พริ ก ั (บ้านแม่พริ ก อาเภอแม่สรวยในปั จจุบน ั
  • 39. ประวัติอาเภอเวียงป่ าเป้ า ่ และต่อมาอาเภอแม่พริ กได้ยายมาอยูริมน้ าแม่สรวย และขนานนามใหม่วา ้ ่ ่ อาเภอแม่สรวย )อาเภอเวียงป่ าเป้ าเป็ นอาเภอหนึ่ งซึ่ งอยูทิศใต้ของจังหวัด เชียงราย จากทั้งหมด 16 อาเภอ 2 กิ่ง อยูห่างจากตัวจังหวัด 90 กิโลเมตร ่ การคมนาคมสะดวก ด้วยถนนลาดยาง ทางหลวงหมายเลข 118 ระยะทาง 180 กิโลเมตร จากจังหวัดเชียงราย – จังหวัดเชียงใหม่ และทางหลวง หมายเลข 1035 จากเขตเทศบาลแม่ขะจานไปยังอาเภอวังเหนือ ถึงจังหวัด ลาปาง ยาวประมาณ 120 กม. และทางหลวงหมายเลข 1150 จากตาบล บ้านโป่ งเทวีไปยังอาเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ ยาวประมาณ 53 กม. ลักษณะที่ต้ งของอาเภอเป็ นที่ราบระหว่างภูเขา มีแม่น้ าไหลผ่านจากภูเขาผี ั ปั นน้ า( ดอยนางแก้ว ) เรี ยกแม่น้ าลาว ไหลลงสู่ แม่น้ ากก โดยผ่านอาเภอ แม่สรวย อาเภอแม่ลาว อาเภอเมือง และอาเภอเวียงชัย ตามแผนที่สากลจะ ่ อยูประมาณ ละติจูดที่ 15 – 19 องศาเหนือ ลองติจูดที่ 99 องศาตะวันออก สู งกว่าระดับน้ าทะเล 547 เมตร พื้นที่ท้ งหมดประมาณ 1,217 ตร.กม. หรื อ ั 765,625 ไร่ เป็ นพื้นที่เพาะปลูกประมาณ 205,353 ไร่ พ้นที่ป่าไม้ 560,272 ื ไร่
  • 40. ลักษณะภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศของอาเภอเวียงป่ าเป้ า แบ่งเป็ น 3 ฤดู ฤดูร้อน ระหว่างเดือน มีนาคม – พฤษภาคม อากาศร้อนจัดในเดือน ่ เมษายน อุณหภูมิอยูระหว่าง 20 – 35 องศาเซลเซียส ฤดูฝน ระหว่างเดือน มิถุนายน – ตุลาคม ฝนตกชุกในเดือนสิ งหาคม ่ มักจะมีน้ าป่ าไหลหลาก อุณหภูมิอยูระหว่าง 15 – 30 องศาเซลเซียส ฤดูหนำว ระหว่างเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ อากาศหนาวจัดใน ่ เดือนธันวาคมอุณหภูมิอยูระหว่าง 10 – 25 องศาเซลเซียส บนยอด ดอยจะมีน้ าค้างแข็งได้
  • 41. ลักษณะประชากร ด้านชาติพนธุ์ ชาวพื้นเมืองได้อพยพมาจากจังหวัดเชียงใหม่ ช่วงที่เกิด ั กบฏเงี้ยวมีท้ งไทยยวนและ ไทยยองประชากรส่ วนใหญ่เป็ นชาวพื้นเมือง ั มีประมาณ 60,000 คน และมีชาวเขาเผ่าม้ง ลาหู่(มูเซอร์ ) ลีซอ และกระเหรี่ ยง ประมาณ 15,000 คน โดยเฉพาะเผ่ามูเซอร์ มีมากที่สุด เดิมทีได้อพยพ มาจากมณฑลยูนาน, เสฉวน, กวางสี แล้วถูกจีนรุ กราน เคลื่อนย้ายมาสู่ รัฐ เชียงตุง รัฐฉานของพม่า และลาว แล้วทยอยเข้ามาสู่ ไทยหลายระลอก ปั จจุบนทาให้เกิดปั ญหายาเสพติด และไม่มีบตรประจาตัวประชาชน ั ั ปั จจุบนได้มีประชาชนจากภาคอีสานได้มาซื้ อที่ดินบริ เวณรอบ ๆ อาเภอ ั เวียงป่ าเป้ า ที่เป็ นป่ าเสื่ อมโทรม มาปลูกสร้างบ้านเรื อนและประกอบ อาชีพเกษตรกรรม ทาไร่ ทาสวน ปลูกข้าว บางหมู่บานเป็ นคนอีสานทั้ง ้ หมู่บาน และมีนายทุนมากว้านซื้ อที่ดินและมาอาศัยอยูกมีมาก ้ ่็
  • 42. สังคมวัฒนธรรม ประชากรส่ วนมากเป็ นชาวพื้นเมือง ที่อพยพมาจาก จังหวัดลาปาง จังหวัด เชียงใหม่ (ไทยวน) จังหวัดลาพูน (ไทยอง) ประมาณร้อยละ 75 นอกนั้น เป็ น ชาวเขา เช่น ปกากะญอ(กระเหรี่ ยง) ม้ง เย้า อาข่า มูเซอดา ลีซอ ศาสนาที่นบถือกันคือ ศาสนาพุทธ รองลงมาเป็ นคริ สต์นิกาย ั โรมันคาทอลิก และโปแตสแตนต์ ประเพณี ที่สาคัญทางพุทธศาสนาก็คือ ประเพณี ตานก๋ วยสลาก ปอยหลวง สรงน้ าพระธาตุต่าง ๆ จะมีข้ ึนในวัน เพ็ญเดือน 6 ส่ วนประเพณี ทองถิ่นจะมีก่อนวันเพ็ญเดือน 7 ประมาณ 1-2 ้ วัน เช่น การลงผีมด ( เป็ นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ประจาหมู่บาน) การ ้ ฟ้ อนผีเม็ง ( เป็ นการเข้าทรงของเทวาอารักษ์ที่อาศัยอยูสถานที่ศกดิ์สิทธิ์ ) ่ ั การไหว้ผปู่ย่า ( ผีบรรพบุรุษ ) ส่ วนวัฒนธรรมในการดารงชีพ เช่น การ ี ่ กิน การอยูอาศัย มีลกษณะคล้ายคลึงกันทัวไปในภาคเหนือล้านนามีการ ั ่ ก่อสร้างมัสยิดในเขตตาบลแม่เจดียใหม่ ทั้ง ๆ ที่ไม่มีศาสนิก ชุมชนมุสลิม ์ หรื อสัปบุรุษในพื้นที่เลย[1] สร้างความไม่พอใจแก่กลุ่มชาวบ้าน และเกิด การต่อต้านจากกลุ่มชาวพุทธในพื้นที่[2]
  • 43. เศรษฐกิจ อาชีพราษฎรส่ วนใหญ่ ทาการเกษตรกรรม มีพ้ืนที่นาประมาณ 39,347 ไร่ ที่ไร่ ประมาณ 28,500 ไร่ พืช ้ ่ เศรษฐกิจที่สาคัญได้แก่ ข้าวเหนียวและข้าวเจ้ามีเพียงเล็กน้อย แต่จะมี โรงสี ขางอยูจานวนมากบริ เวณบ้าน หม้อ ตาบลป่ างิ้ว ส่ วนมากจะรับจ้างสี ขาวส่งที่จงหวัดเชียงใหม่ โรงงานผสมปูนซีเมนต์สาเร็ จรู ปและผสม ้ ั ยางแอสฟั้นส์ กับหินละเอียด ตั้งอยูเ่ ขตตาบลเวียงกาหลง มีการใช้น้ ามันเตาในการเผายางแอสฟั้นส์(ยางมะ ตอย)ในการทายางผสมแอสฟั้นส์ติก เพื่อใช้ในการก่อสร้างถนน ส่ วนพืชไร่ ที่สาคัญ คือ ขิง จะมีโรงงานดอง ขิงฉวีเฉวียนฟรุ๊ ต ตั้งอยูบริ เวณตาบล เวียงกาหลง ซึ่ งได้ส่งออกไปยังประเทศไต้หวัน จีน และญี่ปุ่น ทา ่ ่ ้ รายได้ให้แก่ราษฎรปี ละประมาณ 100 ล้านบาท โรงงานดองผักกาดดอง ตั้งอยูดานทิศเหนือของอาเภอ ส่ วน พืชชนิดอื่น เช่น กะหล่าปี จะปลูกมากบนที่ราบสูงโดยเฉพาะชาวเขาได้ทาการปลูกจานวนมาก ซึ่ งเป็ น สาเหตุของการทาไร่ เลื่อนลอย ถางและเผาป่ า ใบชาเมี่ยงก็ปลูกกันมากบริ เวณหุบเขาผีปันน้ า เพราะอากาศ เย็นตลอดปี มีจาหน่ายในตลาดบ้านแม่ขะจาน โดยเฉพาะใบชาตราแม่คาที่ข้ ึนชื่อด้านรสชาติ อาชีพการเพาะ ้ เห็ดเป็ นอาชีพอีกอาชีพหนึ่งที่ทารายได้ให้เกษตรกรกลุ่มหนึ่ง ไม่วาจะเป็ นเห็ดฟาง ( จะเริ่ มทาการ เพาะเห็ด ่ ประมาณเดือน กุมภาพันธ์ – ตุลาคม ) เห็ดแชมปิ ยอง ( ระเริ่ มทาการเพาะเห็ดประมาณเดือน ตุลาคม – กุมภาพันธ์ เพราะเห็ดชนิดนี้ชอบอากาศเย็นในการออกผลผลิต ) ส่ วนเห็ดที่สามารถทาการเพาะได้ตลอดปี ็ คือ เห็ดหอม เห็ดนางฟ้ า นางรม เห็ด แต่กมีการเพาะเห็ดเป๋ าฮื้อเหมือนกัน แต่มีไม่มาก สาหรับตลาดที่รับซื้ อ ที่สาคัญคือ โครงการหลวงดอยคา อาเภอฝาง บริ ษทส่ งออกเห็ดแปรรู ป นิคมอุตสาหกรรมจังหวัดลาพูน ั โรงงาน UFC จังหวัดลาปาง และส่ งขายปลีกให้แก่แม่คาภายในอาเภอเพื่อจาหน่ายแก่ประชาชนทัวไป ้ ่
  • 44. ที่ต้ งและอาณาเขต ั ่ อาเภอเวียงป่ าเป้ าตั้งอยูทางทิศตะวันตกเฉี ยงใต้ของจังหวัด มีอาณา เขตติดต่อกับอาเภอข้างเคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอาเภอแม่สรวยและอาเภอพาน ทิศตะวันออก ติดต่อกับอาเภอวังเหนือ(จังหวัดลาปาง) ทิศใต้ ติดต่อกับอาเภอเมืองปาน (จังหวัดลาปาง) และอาเภอดอ สะเก็ด (จังหวัดเชียงใหม่) ทิศตะวันตก ติดต่อกับอาเภอพร้าว(จังหวัดเชียงใหม่)
  • 45. การแบ่งเขตการปกครอง กำรปกครองส่ วนภูมภำค ิ อาเภอเวียงป่ าเป้ าแบ่งเขตการปกครองย่อยออกเป็ น 7 ตาบล 92 หมู่บาน ได้แก่ ้ 1.ตำบลสั นสลี(San Sali)13 หมู่บาน้ 2.ตำบลเวียง(Wiang)12 หมู่บาน ้ 3.ตำบลบ้ ำนโป่ ง(Ban Pong)7 หมู่บาน้ 4.ตำบลป่ ำงิว(Pa Ngiw)16 หมู่บาน ้ ้ 5.ตำบลเวียงกำหลง(Wiang Kalong)15 หมู่บาน ้ 6.ตำบลแม่ เจดีย์(Mae Chedi)16 หมู่บาน้ 7.ตำบลแม่ เจดีย์ใหม่ (Mae Chedi Mai)14 หมู่บาน ้
  • 46. การแบ่งเขตการปกครอง กำรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ท้องที่อาเภอเวียงป่ าเป้ าประกอบด้วยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 9 แห่ง ได้แก่ 1.เทศบำลตำบลเวียงป่ ำเป้ ำ ครอบคลุมพื้นที่บางส่ วนของตาบลเวียง 2.เทศบำลตำบลแม่ ขะจำน ครอบคลุมพื้นที่บางส่ วนของตาบลแม่เจดีย ์ 3.เทศบำลตำบลเวียงกำหลง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเวียงกาหลงทั้งตาบล 4.เทศบำลตำบลป่ ำงิว ครอบคลุมพื้นที่ตาบลป่ างิ้วทั้งตาบล ้ 5.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลสั นสลี ครอบคลุมพื้นที่ตาบลสันสลีท้ งตาบล ั 6.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลเวียง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลเวียง (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลเวียงป่ าเป้ า) 7.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลบ้ ำนโป่ ง ครอบคลุมพื้นที่ตาบลบ้านโป่ งทั้งตาบล 8.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลแม่ เจดีย์ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลแม่เจดีย ์ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตาบลแม่ขะจาน) 9.องค์กำรบริหำรส่ วนตำบลแม่ เจดีย์ใหม่ ครอบคลุมพื้นที่ตาบลแม่เจดียใหม่ท้ งตาบล ์ ั
  • 47.
  • 48.
  • 49. ประวัติบานหัวเวียง ้ ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย ประวัติควำมเป็ นมำ : ตาบลเวียง เป็ นตาบลที่เกิดขึ้นมาพร้อมกับอาเภอเวียงป่ าเป้ า ในปี พ.ศ.2446 คาว่า "เวียง" ตามภาษาลานนา แปล่า เมือง
  • 50. ประวัติบานหัวเวียง ้ ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย สภำพทั่วไปของตำบล : สภาพพื้นที่เป็ นที่ราบลุ่ม ที่ราบสู ง ที่เชิงเขา มีภูเขาล้อมรอบ ตัดผ่าน ด้วยแม่น้ าลาวและน้ าแม่ปูน อำณำเขตตำบล : ทิศเหนือ ติดกับ ต.สันสลี อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย ทิศใต้ ติดกับ ต.บ้านโป่ ง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย ทิศตะวันออก ติดกับ อ.วังเหนือ จ.ลาปาง ทิศตะวันตก ติดกับ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่
  • 51. ประวัติบานหัวเวียง ้ ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย จำนวนประชำกรของตำบล : จานวนประชากรในเขต อบต. 10,382 คน และจานวนหลังคาเรื อน 2,783 หลังคาเรื อน ข้ อมูลอำชีพของตำบล : อาชีพหลัก ทานา ทาสวน อาชีพเสริ ม ทาผ้าห่มนวม
  • 52. ประวัติบานหัวเวียง ้ ต.เวียง อ.เวียงป่ าเป้ า จ.เชียงราย ข้ อมูลสถำนทีสำคัญของตำบล : ่ 1. วนอุทยานแห่งชาติน้ าตกแม่โท 2. หนองน้ าใส 3. วัดหนองยาว 4. วัดอรัญญวิเวกคีรี