SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
๑
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
----------------------------------------------
ชื่อผลงาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social MediaX
ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสายพิน วงษารัตน์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ
โรงเรียน/หน่วยงาน โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๖ จังหวัดเชียงราย
โทรศัพท์ ๐ ๕๓๑๘ ๓๘๑๗ โทรสาร ๐ ๕๓๑๗ ๔๕๕๕
โทรศัพท์มือถือ ๐๘ ๙๑๙๑ ๖๓๒๑ e-mail : wongsarat@yahoo.com
๑. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ
สมเด็จพระเทรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงมี พระราชดาริดาเนิน“โครงการส่งเสริม
การใช้บทเรียนออนไลน์ SAS CurriculumPathways” พัฒนาการศึกษา๕สาขา ได้แก่ วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์,
สังคมศึกษา/ประวัติศาสตร์, ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร
ความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิด
เป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการ
ใช้เทคโนโลยีและการเรียนรู้โลกยุศตวรรษที่๒๑ เน้นกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมและการสร้างองค์ความรู้ด้วย
ตนเอง ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)และการประเมินคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน(LAS) โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัดสังกัด และระดับประเทศพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา
โรงเรียนและวงการศึกษามีคุณภาพ
สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย
Social Media” เป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพเพราะปัจจุบั น Social
Media ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในวงการศึกษาและโลก
ออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็วซึ่ง
จะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมากSocialMedia เป็นเครื่องมือผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบันและสามารถ
เข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Communityแห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
๒
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๒. ความเป็นมาของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช๒๕๔๒และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช๒๕๔๕
มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และ
วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้มีความคิด
ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาให้ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต
(กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๖ : ๕ – ๖) แนวการจัดการศึกษา ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้
และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัด
ของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์
การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เพื่อให้ดาเนินชีวิตอยู่ใน
สังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข (กรมวิชาการ. ๒๕๔๕ : ๑) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้ นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทากิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออกอย่าง
ชัดเจน และมีเหตุมีผล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ได้ฝึกค้นคว้าแสวงหาความรู้
รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน ปรับปรุง
ตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สาหรับครูผู้สอนต้องเรียนรู้การสอนทั้งเนื้อหา
และเทคนิค วิธีการ จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เสริมแรงให้ผู้เรี ยนเกิดการเรียนรู้
ออกแบบการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก และคิดอย่างสร้างสรรค์
ใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง สังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน
อย่างต่อเนื่อง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ.๒๕๔๓ : ๒๙-๓๑) เช่นเดียวกับแนวคิดการจัด
การเรียนรู้ที่ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า
ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และผู้จัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นา
ผู้ถ่ายทอดความ รู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อ และแหล่ง
เรียนรู้ต่างๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู้ของตน การจัดการ
เรียนรู้ตามความต้องการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการผู้เรียน
ให้มีความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนาความสามารถทางอารมณ์ โดยการ
ปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น สามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทาง
อารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(กระทรวงศึกษาธิการ.๒๕๔๕ : ๒๑)
ตามเจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปฏิรูปการเรียนการสอน” การเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ
๓
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ทาได้ คิดเป็น และทาเป็น การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนรู้ เช่น
กระบวนการคิด วิเคราะห์ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ศึกษา ทากิจกรรม ตามความถนัด
และความต้องการ ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ๕ ประการ
ได้แก่ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการ
ใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
บริษัท SAS Institute, Inc. ได้พัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อการศึกษาชื่อว่า SAS Curriculum
Pathways ๕ สาขา ได้แก วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, สังคมศึกษา/ประวัติศาสตร์, ภาษาอังกฤษ และ
ภาษาสเปน และได้ทูลเกล้าฯถวายบทเรียน SAS Curriculum Pathways แด่ สมเด็จพระเทรั ตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงมีพระราชดาริสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช)
ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาส ตร์และเทคโนโลยี (สสวท. บริษัทแซส ซอฟท์แวร์ (ไทย
แลนด์) จากัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) และ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ดาเนิน
“โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways”
โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงราย บริหารงานโดยมีนโยบายการบริหารงาน ตามแนวทาง
การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ได้แก่๑) การรับรองสิทธิและโอกาสทางการศึกษา โรงเรียนมี
วัตถุประสงค์พิเศษในการรับนักเรียนที่มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย
การดาเนินการสอบคัดเลือกตามประกาศสานักงานคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้โอกาสกับนักเรียนที่มี
ความสามารถอย่างเสมอภาค โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึก ษาขั้นพื้นฐาน และเป็นที่เชื่อถือ
ของผู้ปกครองและชุมชน ๒) การปฏิรูปการเรียนรู้ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตา มแนวทาง
หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ .ศ.๒๕๕๑ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีเป้าหมายในการจัด
การศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อ ม และ ๓)
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา โรงเรียนได้นานวัตกรรมทาง เทคโนโลยีสารสนเทศมา
พัฒนาระบบบริหารและการจัดการเรียนการสอน ครูสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน ผลินสื่อ
นักเรียนสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ในการสืบค้นและการเรียนรู้ได้ระดับดีทุกคนวิสัยทัศน์ คือ องค์กรการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เพียบพร้อมคุณธรรมจริยธรรม น้อมนางานพระราชดาริ
มุ่งพัฒนาสู่มิติมาตรฐานสากล พันธกิจได้แก่ ๑) จัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐานการศึกษาของ
ชาติ ๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มี
คุณภาพในระดับสากล ๓) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิญญาณของการเป็นนักวิจัยนักประดิษฐ์คิดค้นและมีความมุ่งมั่นใน
การพัฒนาประเทศชาติ๔)จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมมีความเป็นไทย มีคุณภาพอนามัยที่ดีและ
๔
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในลักษณะโรงเรียนประจา และ ๕) ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีและ
ภาษาต่างประเทศตามเกณฑ์มาตรฐานสากลวัตถุประสงค์ ได้แก่๑) เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๓ รอบ ๒)เพื่อเป็น
สถานศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาที่ฝึกทักษะความรู้ความสามารถของนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ
สิ่งแวดล้อมตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งเป็นการเตรียมบุคลากรไว้รองรับโครงการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ
สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งเป็นการเตรียมบุคลากรไว้รองรับโครงการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ
ประเทศ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่เรียนดี มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีโอกาส
เพิ่มมากขึ้น ในการเข้าเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาและได้พัฒนาความรู้พื้นฐานในด้านนี้อย่างเข้ มข้น นาไปสู่
การแก้ปัญหาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ได้ผลอย่างแท้จริง ๓) เพื่อเป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตัวอย่าง
ในด้านการฝึกอบรมนักเรียนให้เป็นกุลบุตร กุลสตรี ที่เพียบพร้อมด้วยจริยธรรมสามารถพึ่งพาตนเองได้และเป็น
ประโยชน์ต่อสังคม เอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ แหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ อัตลักษณ์ของนักเรียน มีภูมิรู้
ภูมิธรรม และภูมิฐาน
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกคนสามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตได้ง่าย
ซึ่งมีผู้ใช้งานที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเข้าไปแบ่งปันความรู้และ เลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด
เพื่อนาไปเผยแพร่ความรู้ที่ตัวเองต้องการสื่อสารและเสนอความคิดใหม่ๆได้โดยไม่ถูกปิดกั้นโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย
เชียงรายได้เล็งเห็นความสาคัญการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้
สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี และบริบทของโรงเรียนมีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ จึงดาเนินการจัดการ
พัฒนาศักยภาพนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยส่งเสริมการ ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้
ส่งเสริมสนับสนุนให้สามารถนาเครื่องมือออนไลน์มาประยุกต์ใ ช้ในการ จัดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
๓. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของนวัตกรรม
๓.๑ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และ
การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน (LAS)
๓.๒ ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน โดยได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ต
ด้านการเรียนรู้ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน สามารถ
เชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ต
๓.๓ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
๓.๔. เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ด้วยการสร้าง
Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS
Curriculum Pathways
๓.๕ เพื่อเป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
๕
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๔. การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)
กรอบแนวคิดในการพัฒนาที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหาแนวคิด หลักการและ
ทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนาและผลสาเร็จที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)
พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ
บริษัทแซส ซอฟท์แวร์(ไทยแลนด์)จากัดได้ดาเนิน“โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum
Pathways”
การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ.๒๕๔๒ และแก้ไข
เพิ่มเติม(ฉบับที่๒) พุทธศักราช๒๕๔๕ การพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑
หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๙
การพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิด
สมรรถนะสาคัญ๕ประการได้แก่ความสามารถในการสื่อสารความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค
ต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย
Social Media″ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านนวัตกรรม
Social Media นามาเป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพนับเป็นกลยุทธ์ที่
สาคัญซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรทางการศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน เพราะปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง
กันในวงการศึกษาและโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้
อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็วซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ดังนั้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม(SocialMedia) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เป็นการผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบัน
และสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ด้านเนื้อหา เนื้อหา แยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดแนว(ทั้งภาคเรียน
และหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชาและระดับชั้น
ด้านการใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ความจาเป็นในการนาเครื่องมือ สื่อ นวัตกรรมมาใช้ประกอบการเรียนรู้
ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างฝ่ายบริหาร ครู และนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ
ครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด (Knowledge Management : KM)
๖
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๕. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) แสดงให้เห็น
ถึงรายละเอียดของการพัฒนาผลงานนวัตกรรม การนาไปใช้จริง และผลที่เกิดขึ้นจริง วิธีการพัฒนาโดยขั้นตอน
ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน และสอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมาย การนาไปใช้และการรายงาน ด้วย
กระบวนการ PDCA ดังนี้
๕.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา
ปัญหาที่พบปัญหาก่อนการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)
๑) ความต้องการพัฒนานักเรียนและ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ
ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และการประเมินคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน(LAS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒ ของนักเรียนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย
เชียงราย ให้สูงขึ้น
๒) นักเรียนมีทักษะและศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)ไปในทิศทางที่
ไม่พึงประสงค์ไม่ใช้เพื่อประโยชน์ด้านการเรียนรู้ไม่ได้ส่งเสริมทักษะและศักยภาพการเรียนรู้เช่นติดเกมส์ แชท
Facebook เป็นต้น
.๓) การเรียนรู้ของนักเรียนไม่ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้และไม่มีทักษะการ
ใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน
๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม่พัฒนาทักษะ และศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี
สื่อสังคม(SocialMedia) เพื่อการจัดการเรียนรู้ พัฒนานักเรียน และเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา
๕) นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม่สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ และไม่ใช้ประโยชน์ของ
สื่อเทคโนโลยี Social Media เพื่อทางการศึกษาและระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
๖). .โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงรายอยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายใน
โรงเรียน เมื่อแล้วเสร็จทาให้มีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถ บริหารงาน
วิชาการCSHSCR Social Media Innovative ได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น
๕.๒ การศึกษา วิเคราะห์ และวางแผน (P) การออกแบบนวัตกรรม กรอบแนวคิดในการพัฒนา
ที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหา แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนาผลสาเร็จที่พึง
ประสงค์ และการศึกษา วิเคราะห์ ดังนี้
๑) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑และหลักสูตรสถานศึกษา
๒) ความต้องการ ความจาเป็นของนักเรียน ครู บุคลากร โรงเรียนและชุมชน
๓) วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
๗
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๔) วิเคราะห์ วางแผน เขียน นาเสนอแผนงาน/โครงการ และ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้
นักเรียนมีความเข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับหลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด กิจกรรมการเรียนการสอน การวัด
ประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดและประเมินผล กฎเกณฑ์ในชั้นเรียน และขอบข่ายโดยรวมของ
เนื้อหาวิชา
๕) วิเคราะห์ วางแผนการนาเสนอเนื้อหาโดยแยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ตลอดแนว(ทั้งภาคเรียนและหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชา และ
ระดับชั้น
๖) วิเคราะห์ วางแผนเครื่องมือSocial Media โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือ
ออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ YouTube, SlideShare , Scribd,Flickr ,
Facebook และการใช้บทเรียนSASCurriculumPathways
๕.๓ ดาเนินงานพัฒนา (D) ดังนี้
๑) ประชาสัมพันธ์ให้ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ถึงการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) โดนผ่านจุลสารวิทย์ของโรงเรียน
๒) ดาเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
พัฒนาครู บุคลาการทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media) การสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ประกอบการจัดการ
เรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways
๓) ดาเนินการ สร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์
ประกอบการจัดการเรียนรู้ และพิจารณานา QL# ในบทเรียน SAS Curriculum Pathways มาใช้ที่
สอดคล้องกับรายวิชาที่สอน
๔) ครูแนะนารายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วัด การวัดและประเมินผล อภิปรายข้อเสนอแนะและข้อตกลงในการ
จัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)
๕) ครูผู้สอนนาบทเรียนที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัด ไปใ ช้ในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media)
๖) ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ กับ
การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรสถานศึกษา โดยครูผู้สอนได้โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ใช้ควบคู่กับการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และ
จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยออกแบบการจัดการเรียนรู้ได้ใน๒ ลักษณะ ได้แก่ การประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนรู้และ
เนื้อหาสาระ มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคู่กับเนื้อหา และสื่อการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้
ที่ครูได้วางแผนไว้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แล้วให้นักเรียนปฏิบัติภาระ
๘
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
งานหรือชิ้นงานตามที่นักเรียนสนใจ/ต้องการและจากกรอบการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้
๗) ครูจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย และการ
บริหารงานCSHSCR Social Media Innovative ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
๘) กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ
ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย นักเรียนจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ
เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ดังนี้
(๑) ศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ จากกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอน
(๒) เข้าใช้/จัดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเสริมทักษะนอกเวลาเรียน ในรายวิชาที่นักเรียนสนใจ
เพื่อเพิ่มเติมความรู้ และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
(๓) ศึกษา สืบเสาะแสวงหาความรู้ /จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media) ด้วยตนเอง และจากคาแนะนาของครูผู้สอนในรายวิชา
(๔) ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่จาเป็นต่อการเรียนรู้
ของนักเรียน เช่น จากเวปไซต์ เอกสาร ตารา ต่างๆ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
(๕) นาเสนอภาระงานหรือชิ้นงาน จากการเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ของตนเอง หรือผลงานจาก
กระบวนการกลุ่มในโรงเรียน
(๖) เผยแพร่ผลงานจากการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา
และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้จากคาแนะนาของครูผู้สอน นักเรียนนาเสนอผลงานบนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต (Social Media) เป็นการส่งเสริม ให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community
แห่งการเรียนรู้
๕.๔ การนิเทศติดตาม(C)
ครู และผู้บริหารโรงเรียน นิเทศติดตามผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม Social Media
ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดย การประชุมฝ่ายบริหาร ฝ่ายงานวิชาการ ประชุมสามัญ ประชุมวิสามัญ
ของโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ , จากเว็ปไซต์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย คือ
http://๖๑.๗.๒๒๙.๑๐๑/web_pcccr/index.html , เว็ปไซต์ครูโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย โดยการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม Social Media คือ http://๖๑.๗.๒๒๙.๑๐๒/T_pcccr/ , Blog
Wordpress Social Media การนิเทศติดตามผลดังนี้
๑) ศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียนได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้ และ
มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ
๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนโรงเรียน
จุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย พัฒนาและสูงขึ้น
๙
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๓) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้
๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) และ
พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
๕) พัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง
Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ได้แก่ YouTube, SlideShare,
Flickr , Facebook และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways
๖.) การขยายผลงาน เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน สร้างเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิด
ระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเช่น การได้รับเชิญเป็นวิทยากรให้ความรู้
๗) ครูได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ และรางวัลดีเด่นในระดับต่างๆ
๕.๕ รายงานผล/ขยายผลและเผยแพร่ผลงาน (A) จากการพัฒนานวัตกรรม บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้ การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างฝ่าย
บริหาร ครู นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนและครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด
(Knowledge Management : KM)
๑) การเผยแพร่ผลงาน ดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ในเว็ปไซต์
โรงเรียน และบนเครือข่าย Internet เพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้ และเพื่อเป็นประโยชน์ทาง
การศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
๒) การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองรับทราบ ในการดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(SocialMedia) ผ่านจุลสาร “ข่าวจุฬาวิทย์”
๑๐
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
แผนภาพ แสดงการพัฒนา CSHSCRSocial Media Innovative
๑๑
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ขั้นตอนการดาเนินการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
เข้ารับการอบรม จาก สทร.
ครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับอบรมเชิงปฏิบัติการ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
ครูแกนนา
การจัดการเรียนรู้ เครื่องมือ Social media
วิทยาศาสตร์
s
Wordpress YouTube
SlideShare Facebook
Flickr Twitter
SAS Curriculum Pathways
คณิตศาสตร์
สังคมศึกษา ภาษาไทย
ประเทศ
สุขศึกษาฯ ดนตรี
ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพฯ
ฯ
กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้
กระบวนการจัดการเรียนรู้ สร้าง Blog Wordpress
นาเสนอเนื้อหานาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ
มาประกอบการจัดการเรียนรู้
กระบวนการนาเสนอเนื้อหา
ศึกษา/วิเคราะห์
นื้อหา
แผนการจัดการเรียนรู้
ดำเนินกำรตำมแผน
ฯ
นิเทศติดตาม
วัด และประเมินผล วิจัยในชั้นเรียน ประเมินการจัดการเรียนรู้
๑๒
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media)
หลักสูตร
พ.ศ ๒๕๕๑
ความต้องการ
และความจาเป็น
วิธัการเรียนรู้
ของนักเรียน
แผนาน/โครงการ
แผนการจัด
การเรียนรู้
แผนการ
วัดประเมินผล
การเรียนรู้
วิธีการนาเสนอ
เนื้อหา
เครื่องมือ
Social Media
โรงเรียน
ประชาสัมพันธ์
อบรม
เชิงปฏิบัติการ
สร้าง นาเสนอ
เนื้อหา โดยใช้
Social Media
ครูแนะนา
รายวิชา
การจัดการเรียนรู้
จัดกิจกรรม
บูรณาการกับ
Social Media
จัดการเรียนรู้
ตามแผน
การจัดการเรียนรู้
นิเทศ ติดตามผล
(C)
ขยาย/เผยแพร่
(A)
ศึกษา/วิเคราะห์
วิธีการเรียนรู้
การสืบเสาะ
แสวงหาความรู้
ทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษ
ทักษะการคิด
วิเคราะห์
สังเคราะห์
ทักษะการใช้
เครื่องมือ
Social Media
ทักษะในการ
สืบค้นข้อมูล
วิเคราะห์
เครื่องมือ
Social Media
นาเสนอภาระงาน
หรือชิ้นงาน
ผลสัมฤทธิ์
ทางกรเรียน
เผยแพร่ผลงาน
ในชั้นเรียน
เผยแพร่ผลงาน
บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
รับ ปรับใช้ข้อมูล
บนเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ขั้นตอนการดาเนินการ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
Innovative
ศึกษา/วิเคราะห์ และวางแผน (P) การดาเนินงานพัฒนา (ครู) (D)
การดาเนินงานพัฒนา (นักเรียน)
๑๓
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนา การใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways
๑๔
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
แผนภูมิ แนวทางการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways ในการจัดการเรียนการสอน
๖. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ
ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพนักเรียน ด้านครูและ
บุคลากรทางการศึกษา และโรงเรียน โดยส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานจนเป็นที่ประจักษ์ โดยมี
องค์ประกอบ ผลงานที่เป็นชิ้นงานนวัตกรรม และผลการใช้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นกับ นักเรียน ครู ผู้บริหาร
สถานศึกษา ชุมชน หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านพฤติกรรม พัฒนาการหรือการเรียนรู้ ครูในโรงเรียนมีผลงาน
เชิงประจักษ์ที่นาความรู้และประสบการณ์ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
ไปพัฒนาการเรียนการสอนหรืองานอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
๑๕
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
๖.๑ การพัฒนาคุณภาพนักเรียน โดยประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การสืบเสาะ
หาความรู้ การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมก้าวสู่สังคมอาเซียน การระดมความคิด
วิเคราะห์ สังเคราะห์ การจัดทารายงาน การนาเสนอผลงาน และนาแนวทางไปใช้กับการจัดการเรียนรู้
แบบปกติ ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรมผลสัมฤทธิ์ต่อการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบ
ระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) และการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(LAS) โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด
สังกัดเขตพื้นที่ และระดับประเทศและได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี ส่งผลให้เกิดประโยชน์แก่
การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายละเอียด ดังนี้
๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยรวมคะแนนเฉลี่ย ๓ ขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้
ของปีการศึกษา ที่ผ่านมา (ปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ปีการศึกษา ๒๕๕๕) สรุปผล ดังนี้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๔๐ ๓.๔๘ ๓.๖๘
คณิตศาสตร์ ๓.๕๐ ๓.๓๐ ๓.๔๐
ภาษาต่างประเทศ ๓.๓๘ ๓.๓๒ ๓.๒๔
ภาษาไทย ๓.๔๔ ๓.๕๒ ๓.๕๖
สังคมศึกษาฯ ๓.๓๒ ๓.๕๘ ๓.๕๔
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๕๐ ๓.๗๕ ๓.๖๒
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๔๗ ๓.๐๐ ๓.๗๑
ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๓๓ ๓.๑๗ ๓.๔๐
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๒ ๓.๓๙ ๓.๕๒
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๔๘ ๓.๕๔ ๓.๖๐
คณิตศาสตร์ ๓.๔๒ ๓.๒๕ ๓.๑๒
ภาษาต่างประเทศ ๓.๕๕ ๓.๔๘ ๓.๑๙
ภาษาไทย ๓.๔๑ ๓.๒๗ ๓.๒๙
สังคมศึกษาฯ ๓.๑๐ ๓.๓๐ ๓.๔๘
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๖๘ ๓.๖๒ ๓.๘๑
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๔๕ ๓.๔๓ ๓.๗๒
ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๗๔ ๓.๓๘ ๓.๔๖
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๘ ๓.๔๑ ๓.๔๖
๑๖
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๕๔ ๓.๒๑ ๓.๑๑
คณิตศาสตร์ ๓.๓๖ ๓.๓๕ ๓.๓๕
ภาษาต่างประเทศ ๓.๗๐ ๓.๕๔ ๓.๓๔
ภาษาไทย ๓.๒๘ ๒.๙๔ ๒.๗๐
สังคมศึกษาฯ ๓.๘๐ ๓.๖๓ ๓.๔๘
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๖๖ ๓.๙๔ ๓.๘๓
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๕๓ ๓.๔๔ ๓.๒๐
ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๕๙ ๓.๔๕ ๓.๔๐
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๕๖ ๓.๔๔ ๓.๓๐
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๑๓ ๒.๙๒ ๓.๐๘
คณิตศาสตร์ ๒.๙๘ ๒.๘๘ ๒.๘๗
ภาษาต่างประเทศ ๓.๑๘ ๓.๓๑ ๓.๑๓
ภาษาไทย ๓.๖๘ ๓.๖๑ ๓.๖๓
สังคมศึกษาฯ ๓.๓๙ ๓.๓๔ ๓.๖๖
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๘๑ ๓.๙๘ ๓.๙๗
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๑๖ ๓.๑๗ ๓.๕๗
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๔ ๓.๔๓ ๓.๔๕
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๐๙ ๓.๑๗ ๓.๐๑
คณิตศาสตร์ ๓.๒๘ ๓.๐๔ ๒.๙๖
ภาษาต่างประเทศ ๓.๔๒ ๓.๒๗ ๓.๔๒
ภาษาไทย ๓.๕๙ ๓.๖๖ ๓.๕๒
สังคมศึกษาฯ ๓.๓๗ ๓.๒๘ ๓.๓๔
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๘๘ ๓.๙๒ ๓.๖๒
การงานอาชีพ ๓.๗๐ ๓.๕๙ ๓.๔๒
ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๖๑ ๓.๗๖ ๓.๔๕
๑๗
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๙ ๓.๔๖ ๓.๓๔
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ค่าเฉลี่ย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
วิทยาศาสตร์ ๓.๔๗ ๓.๑๑ ๒.๘๗
คณิตศาสตร์ ๓.๖๘ ๓.๖๙ ๓.๕๖
ภาษาต่างประเทศ ๓.๓๘ ๓.๒๓ ๓.๑๔
ภาษาไทย ๓.๕๓ ๓.๖๗ ๓.๖๕
สังคมศึกษาฯ ๓.๖๙ ๓.๗๔ ๓.๖๙
สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๙๕ ๓.๙๑ ๓.๙๓
การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๘๗ ๓.๙๑ ๓.๙๘
ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๔๑ ๓.๔๗ ๓.๓๒
คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๖๒ ๓.๕๙ ๓.๕๒
ที่มา ;งานวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาที่ผู้ขอรับการประเมินปฏิบัติการสอน
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
รหัส
รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๐.๕ ๒/๑ ๙ ๑๐ ๑๐ ๕ - ๓๔ ๓.๓๔
๒/๒ ๕ ๗ ๑๑ ๙ ๒ ๓๔ ๓.๐๖
๒/๓ ๓ ๒ ๑๓ ๑๐ ๖ ๓๔ ๒.๗๙
๒/๔ ๒ ๔ ๘ ๑๐ ๙ ๓๓ ๒.๗๐
๒/๕ - ๑ ๘ ๙ ๑๔ ๓๒ ๒.๔๔
รวม ๑๙ ๒๔ ๕๐ ๔๓ ๓๑ ๑๖๗ ๒.๘๗
๑๘
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๑.๐ ๒/๑ ๒๓ ๑๑ ๓๔ ๓.๘๔
๒/๒ ๔ ๑๕ ๑๔ ๑ ๓๔ ๓.๓๒
๒/๓ ๖ ๙ ๑๕ ๒ ๒ ๓๔ ๓.๒๒
๒/๔ ๓ ๑๐ ๑๓ ๗ ๓๓ ๓.๑๔
๒/๕ ๑ ๑๖ ๙ ๕ ๓๑ ๓.๒๑
รวม ๓๗ ๖๑ ๕๑ ๑๕ ๒ ๑๖๖ ๓.๓๕
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๔๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐
ส๔๓๑๐๒ ๖/๒ ๒๒ ๒๒ ๔.๐๐
๖/๓ ๒๐ ๖ ๒ ๒๘ ๓.๘๒
๖/๔ ๒๒ ๗ ๓ ๑ ๓๓ ๓.๗๔
รวม ๘๗ ๑๓ ๕ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๖ ๓.๘๗
๑๙
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๒๔ ๒๔ ๔.๐๐
ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๒๓ ๑ ๒๔ ๓.๙๘
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๓๐๑๐๙ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐
ส๓๓๑๐๓ ๖/๒ ๓๕ ๓๕ ๔.๐๐
๖/๓ ๓๔ ๓๔ ๔.๐๐
๖/๔ ๓๕ ๓๕ ๔.๐๐
รวม ๑๒๗ ๑๒๗ ๔.๐๐
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๒ ๐.๕ ๑/๑ ๑๙ ๓ ๒ ๒๔ ๓.๘๕
ส๒๒๑๐๖ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๑/๑ ๒๓ ๑ ๒๔ ๓.๙๘
ส๔๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๑ ๒๐ ๒ ๑ ๒๓
ส๔๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๒ ๓๐ ๔ ๒ ๓๖
๖/๓ ๑๙ ๑๔ ๑ ๓๔
๖/๔ ๕ ๑๓ ๑๔ ๓ ๓๕
รวม ๗๔ ๓๓ ๑๘ ๐ ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๒๘
๒๐
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๑๗ ๒ ๑ ๑ ๓ ๒๔ ๓.๖๐
๑/๒ ๖ ๒ ๕ ๔ ๖ ๑ ๒๔ ๒.๙๐
๑/๓ ๑๐ ๓ ๖ ๕ ๒๔ ๓.๒๗
๑/๔ ๑๐ ๒ ๒ ๑ ๘ ๑ ๒๔ ๒.๙๘
รวม ๔๓ ๙ ๑๔ ๖ ๒๒ ๑ ๑ ๙๖ ๓.๑๙
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๓๐๑๐๙ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐
ส๓๓๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๒ ๓๓ ๓๓ ๔.๐๐
๖/๓ ๒๘ ๓ ๑ ๑ ๓๓ ๓.๘๖
๖/๔ ๒๒ ๖ ๕ ๑ ๓๔ ๓.๗๑
รวม ๑๐๖ ๙ ๖ ๒ ๑๒๓ ๓.๘๘
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๒๒๑๐๖ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๑ ๕๔ ๑๐ ๖ ๗ ๑๔ ๙๖ ๓.๔๘
๒๑
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง
จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
เกรดเฉลี่ย
๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม
ส๓๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐
ส๓๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๐.๕
๖/๒-
๖/๔
๙๖ ๑ ๓ ๓๓ ๓.๙๗
ที่มา. งานวัด ประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
๒) ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ
นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยรวมทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และ
ระดับประเทศปีการศึกษา๒๕๕๓- ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ดังนี้
สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานO-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๕๐.๒๘ ๔๒.๐๘ ๓๔.๔๖ ๕๔.๖๗ ๕๖.๑๔ ๕๖.๘๔ ๘๔.๖๐ ๓๐.๙๖
จังหวัด ๒๙.๘๑ ๒๔.๓๕ ๑๕.๖๘ ๔๓.๗๐ ๔๐.๙๔ ๔๗.๐๗ ๗๓.๗๐ ๒๗.๘๓
สังกัด ๒๙.๒๙ ๒๔.๒๒ ๑๕.๘๐ ๔๒.๘๙ ๔๐.๘๕ ๔๗.๐๓ ๗๒.๒๖ ๒๘.๕๑
ประเทศ ๒๙.๑๗ ๒๔.๑๘ ๑๖.๑๙ ๔๒.๘๐ ๔๐.๘๕ ๔๗.๐๗ ๗๑.๙๗ ๒๘.๔๘
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๔๗.๗๖ ๔๒.๕๔ ๓๗.๘๔ ๕๙.๕๒ ๕๒.๓๐ ๕๗.๖๔ ๕๗.๓๕ ๕๑.๒๖
จังหวัด ๓๒.๐๖ ๓๑.๓๖ ๒๙.๗๕ ๔๘.๑๙ ๔๒.๒๔ ๔๕.๙๔ ๕๑.๘๓ ๔๒.๒๖
สังกัด ๓๒.๒๘ ๓๒.๑๙ ๓๐.๑๓ ๔๘.๓๕ ๔๒๘๘ ๔๗.๕๙ ๕๑.๑๖ ๔๓.๖๑
ประเทศ ๓๒.๑๙ ๒๑.๐๘ ๓๐.๔๙ ๔๘.๑๑ ๔๒.๗๓ ๔๗.๒๙ ๕๐.๘๗ ๔๓.๕๐
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๕๗.๖๐ ๔๐.๒๐ ๓๙.๗๘ ๖๕.๒๒ ๖๐.๓๘ ๖๑.๓๙ ๖๖.๘๓ ๕๔.๔๕
จังหวัด ๓๖.๖๔ ๒๗.๐๒ ๒๘.๕๑ ๕๕.๒๓ ๔๗.๕๗ ๔๘.๖๒ ๕๗.๓๔ ๔๓.๑๖
สังกัด ๓๕.๔๐ ๒๖.๙๔ ๒๘.๒๙ ๕๔.๕๗ ๔๗.๑๕ ๔๗.๖๙ ๕๖.๙๓ ๔๓.๔๑
ประเทศ ๓๕.๓๗ ๒๖.๙๕ ๒๘.๗๑ ๕๔.๔๘ ๔๗.๑๒ ๔๗.๓๙ ๕๖.๖๗ ๔๓.๓๑
๒๒
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๓ ปีการศึกษา๒๕๕๓-
ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และระดับประเทศ
สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานO-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ปีการศึกษา ๒๕๕๓
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๔๒.๙๒ ๓๑.๔๘ ๓๒.๕๖ ๕๖.๙๖ ๕๔.๙๙ ๕๓.๘๗ ๖๙.๔๓ ๔๐.๕๙
จังหวัด ๓๐.๖๓ ๑๔.๑๖ ๑๗๙๑ ๔๒.๒๘ ๔๖.๘๑ ๔๓.๙๕ ๖๓.๑๘ ๓๒.๖๑
สังกัด ๓๐.๙๐ ๑๔.๗๙ ๑๘.๗๕ ๔๒.๙๕ ๔๖.๗๐ ๔๔.๑๔ ๖๓.๑๐ ๓๒.๘๐
ประเทศ ๓๐.๙๐ ๑๔.๙๙ ๑๙.๒๒ ๔๒.๖๑ ๔๖.๕๑ ๔๓.๖๙ ๖๒.๘๖ ๓๒.๖๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๔๐.๓๒ ๔๒.๒๖ ๓๑.๐๖ ๕๒.๓๔ ๔๑.๑๙ ๕๗.๗๘ ๖๐.๗๖ ๓๕.๒๔
จังหวัด ๒๗.๘๒ ๒๑.๙๕ ๒๐.๕๒ ๔๑.๓๕ ๓๒.๘๖ ๔๘.๔๔ ๕๔.๖๐ ๒๘.๑๗
สังกัด ๒๗.๘๙ ๒๒.๕๓ ๒๑.๓๔ ๔๒.๑๒ ๓๓.๔๐ ๔๙.๒๑ ๕๔.๙๒ ๒๘.๖๕
ประเทศ ๒๗.๙๐ ๒๒.๗๓ ๒๑.๘๐ ๔๑.๘๘ ๓๓.๓๙ ๔๘.๗๒ ๕๔.๖๑ ๒๘.๕๔
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ระดับ วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
การงานอาชีพฯ
คะแนนเฉลี่ย
สุขศึกษาฯ
คะแนนเฉลี่ย
ศิลปะ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๔๔.๘๒ ๓๗.๐๑ ๒๙.๗๔ ๖๒.๖๗ ๔๓.๔๑ ๕๖.๘๖ ๖๒.๑๘ ๔๑.๑๗
จังหวัด ๓๒.๕๔ ๒๒.๗๕ ๒๑.๔๗ ๔๗.๔๗ ๓๖.๓๒ ๔๖.๒๘ ๕๔.๓๘ ๓๓.๐๔
สังกัด ๓๒.๗๗ ๒๒.๔๗ ๒๑.๒๑ ๔๗.๑๘ ๓๖.๑๘ ๔๕.๙๓ ๕๔.๑๕ ๓๓.๐๘
ประเทศ ๓๓.๑๐ ๒๒.๗๓ ๒๒.๑๓ ๔๗.๑๙ ๓๖.๒๗ ๔๕.๙๖ ๕๓.๗๐ ๓๒.๗๓
สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ ปีการศึกษา๒๕๕๓-
ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และระดับประเทศ
ที่มา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สทศ. สาเนาเกียรติบัตรผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET) และ สพม. เขต ๓๖
๓) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) เพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน ภาพรวม๕
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒โดยรวม
ปีการศึกษา ๒๕๕๔–๒๕๕๕ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต๓๖และระดับประเทศ
๒๓
แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑”
สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(LAS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
ปีการศึกษา ๒๕๕๔
ระดับ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ๕ วิชา
(๑๐๐ คะแนน)ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๖๑.๐๘ ๕๓.๙๙ ๔๗.๘๒ ๓๗.๒๗ ๕๙.๒๘ ๕๑.๘๗
สังกัด ๔๖.๒๗ ๓๗.๘๐ ๒๙.๘๒ ๒๙.๗๘ ๓๐.๖๐ ๓๔.๘๒
ประเทศ ๔๔.๖๓ ๓๕.๔๕ ๒๗.๘๘ ๒๙.๓๓ ๒๘.๐๕ ๓๓.๐๑
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ระดับ
คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ๕ วิชา
(๑๐๐ คะแนน)ภาษาไทย
คะแนนเฉลี่ย
วิทยาศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
คณิตศาสตร์
คะแนนเฉลี่ย
สังคมศึกษา
คะแนนเฉลี่ย
ภาษาอังกฤษ
คะแนนเฉลี่ย
โรงเรียน ๔๘.๒๗ ๔๘.๕๘ ๔๔.๔๐ ๔๘.๘๖ ๕๘.๗๘ ๔๙.๗๘
จังหวัด ๓๕.๕๕ ๓๒.๒๐ ๒๖.๒๗ ๓๗.๙๐ ๓๔.๔๕ ๓๓.๒๘
สังกัด ๓๓.๕๖ ๓๒.๒๗ ๒๖.๒๖ ๓๗.๗๔ ๓๔.๒๖ ๓๓.๒๔
ที่มา ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียนภาพรวม๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๖
๔) นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้โดยได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้และฝึก
ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่อาเซียน
(หลักฐาน คือ DVD ประกอบการนาเสนอผลงาน ตัวอย่างผลงานนักเรียน ไฟล์.VDO โครงงาน ภาพกิจกรรม)
๕) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้
๖) นักเรียนได้รับประโยชน์จากการจัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)
ไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม ผลงานที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนได้รับประโยชน์ ดังนี้
(๑) ผลงานกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
โดยการระดมความคิดงานที่ได้รับมอบหมายและที่สนใจในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชา สาระการเรียนรู้
กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดทารายงาน การนาเสนอผลงาน การทาแบบทดสอบ และวิเคราะห์ แนวทาง
การเรียนไปใช้กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ นาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม
(๒) ผลงานกิจกรรมการศึกษา การสืบเสาะหาความรู้ ด้วยตนเอง
(๓) ผลงานการใช้เทคโนโลยี คือนักเรียนได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีและส่งผล
ให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
(๔) ผลงานการฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ของนักเรียน โดยใช้บทเรียน SAS
(๕) นักเรียนที่มีผลงานได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ และได้รับรางวัลดีเด่นในระดับต่างๆ
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media

More Related Content

What's hot

โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษSamrit Kung
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตWichai Likitponrak
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 

What's hot (20)

วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
โครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษโครงงานภาษาอังกฤษ
โครงงานภาษาอังกฤษ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
Esterification
Esterification Esterification
Esterification
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 

Similar to รายงานนวัตกรรม Social media

บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2chatruedi
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 newboomakung
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม krupornpana55
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21T' Bomb Kim-bomb
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาSattakamon
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้Kanatip Sriwarom
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224Pattie Pattie
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้immyberry
 

Similar to รายงานนวัตกรรม Social media (20)

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
949 3844-1-pb
949 3844-1-pb949 3844-1-pb
949 3844-1-pb
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 6 new
Chapter 6 newChapter 6 new
Chapter 6 new
 
4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม 4รายงานนวีตกรรม
4รายงานนวีตกรรม
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
Present sornor
Present sornorPresent sornor
Present sornor
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
 
บทท 6..
บทท  6..บทท  6..
บทท 6..
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
powerpoint บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อกาารเรียนรู้
 
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224โรงเรียนบันดาลใจ 600224
โรงเรียนบันดาลใจ 600224
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 

รายงานนวัตกรรม Social media

  • 1. ๑ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ---------------------------------------------- ชื่อผลงาน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social MediaX ชื่อผู้เสนอผลงาน นางสายพิน วงษารัตน์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียน/หน่วยงาน โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต ๓๖ จังหวัดเชียงราย โทรศัพท์ ๐ ๕๓๑๘ ๓๘๑๗ โทรสาร ๐ ๕๓๑๗ ๔๕๕๕ โทรศัพท์มือถือ ๐๘ ๙๑๙๑ ๖๓๒๑ e-mail : wongsarat@yahoo.com ๑. ความสาคัญของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ สมเด็จพระเทรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงมี พระราชดาริดาเนิน“โครงการส่งเสริม การใช้บทเรียนออนไลน์ SAS CurriculumPathways” พัฒนาการศึกษา๕สาขา ได้แก่ วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, สังคมศึกษา/ประวัติศาสตร์, ภาษาอังกฤษ และภาษาสเปน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ได้แก่ ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิด เป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการ ใช้เทคโนโลยีและการเรียนรู้โลกยุศตวรรษที่๒๑ เน้นกระบวนการเรียนรู้การมีส่วนร่วมและการสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง ส่งผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET)และการประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐาน(LAS) โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัดสังกัด และระดับประเทศพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา โรงเรียนและวงการศึกษามีคุณภาพ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media” เป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพเพราะปัจจุบั น Social Media ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในวงการศึกษาและโลก ออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็วซึ่ง จะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมากSocialMedia เป็นเครื่องมือผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบันและสามารถ เข้าถึงเยาวชนยุคใหม่ ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Communityแห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 2. ๒ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๒. ความเป็นมาของผลงานหรือนวัตกรรมที่นาเสนอ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช๒๕๔๒และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช๒๕๔๕ มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และ วัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีความสุขโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้มีความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาให้ยึดหลักการศึกษาตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. ๒๕๔๖ : ๕ – ๖) แนวการจัดการศึกษา ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และความถนัด ของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เพื่อให้ดาเนินชีวิตอยู่ใน สังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข (กรมวิชาการ. ๒๕๔๕ : ๑) การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้ นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทากิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออกอย่าง ชัดเจน และมีเหตุมีผล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ได้ฝึกค้นคว้าแสวงหาความรู้ รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน ปรับปรุง ตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สาหรับครูผู้สอนต้องเรียนรู้การสอนทั้งเนื้อหา และเทคนิค วิธีการ จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เสริมแรงให้ผู้เรี ยนเกิดการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก และคิดอย่างสร้างสรรค์ ใช้แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย และเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง สังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียน อย่างต่อเนื่อง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่ งชาติ.๒๕๔๓ : ๒๙-๓๑) เช่นเดียวกับแนวคิดการจัด การเรียนรู้ที่ว่า การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่า ผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และผู้จัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นา ผู้ถ่ายทอดความ รู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่งเสริม และสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อ และแหล่ง เรียนรู้ต่างๆ และให้ข้อมูลที่ถูกต้องแก่ผู้เรียน เพื่อนาข้อมูลเหล่านั้นไปใช้สร้างสรรค์ความรู้ของตน การจัดการ เรียนรู้ตามความต้องการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการผู้เรียน ให้มีความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนาความสามารถทางอารมณ์ โดยการ ปลูกฝังให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของตนเอง เข้าใจตนเอง เห็นอกเห็นใจผู้อื่น สามารถแก้ปัญหาข้อขัดแย้งทาง อารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(กระทรวงศึกษาธิการ.๒๕๔๕ : ๒๑) ตามเจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปฏิรูปการเรียนการสอน” การเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติ
  • 3. ๓ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ทาได้ คิดเป็น และทาเป็น การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนรู้ เช่น กระบวนการคิด วิเคราะห์ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ศึกษา ทากิจกรรม ตามความถนัด และความต้องการ ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ๕ ประการ ได้แก่ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการ ใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี บริษัท SAS Institute, Inc. ได้พัฒนาบทเรียนออนไลน์เพื่อการศึกษาชื่อว่า SAS Curriculum Pathways ๕ สาขา ได้แก วิทยาศาสตร์, คณิตศาสตร์, สังคมศึกษา/ประวัติศาสตร์, ภาษาอังกฤษ และ ภาษาสเปน และได้ทูลเกล้าฯถวายบทเรียน SAS Curriculum Pathways แด่ สมเด็จพระเทรั ตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระองค์ทรงมีพระราชดาริสานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช) ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียนการสอนวิทยาศาส ตร์และเทคโนโลยี (สสวท. บริษัทแซส ซอฟท์แวร์ (ไทย แลนด์) จากัด สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.) และ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ ดาเนิน “โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways” โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัยจังหวัดเชียงราย บริหารงานโดยมีนโยบายการบริหารงาน ตามแนวทาง การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ได้แก่๑) การรับรองสิทธิและโอกาสทางการศึกษา โรงเรียนมี วัตถุประสงค์พิเศษในการรับนักเรียนที่มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี โดย การดาเนินการสอบคัดเลือกตามประกาศสานักงานคระกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้โอกาสกับนักเรียนที่มี ความสามารถอย่างเสมอภาค โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึก ษาขั้นพื้นฐาน และเป็นที่เชื่อถือ ของผู้ปกครองและชุมชน ๒) การปฏิรูปการเรียนรู้ โรงเรียนจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตา มแนวทาง หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ .ศ.๒๕๕๑ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและมีเป้าหมายในการจัด การศึกษาที่มุ่งเน้นพัฒนาศักยภาพด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อ ม และ ๓) การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา โรงเรียนได้นานวัตกรรมทาง เทคโนโลยีสารสนเทศมา พัฒนาระบบบริหารและการจัดการเรียนการสอน ครูสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน ผลินสื่อ นักเรียนสามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ในการสืบค้นและการเรียนรู้ได้ระดับดีทุกคนวิสัยทัศน์ คือ องค์กรการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม เพียบพร้อมคุณธรรมจริยธรรม น้อมนางานพระราชดาริ มุ่งพัฒนาสู่มิติมาตรฐานสากล พันธกิจได้แก่ ๑) จัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามเกณฑ์และมาตรฐานการศึกษาของ ชาติ ๒) จัดกิจกรรมส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม ให้มี คุณภาพในระดับสากล ๓) ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีจิตวิญญาณของการเป็นนักวิจัยนักประดิษฐ์คิดค้นและมีความมุ่งมั่นใน การพัฒนาประเทศชาติ๔)จัดกิจกรรมส่งเสริมผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมมีความเป็นไทย มีคุณภาพอนามัยที่ดีและ
  • 4. ๔ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในลักษณะโรงเรียนประจา และ ๕) ส่งเสริมและพัฒนาการใช้เทคโนโลยีและ ภาษาต่างประเทศตามเกณฑ์มาตรฐานสากลวัตถุประสงค์ ได้แก่๑) เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่ สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๓ รอบ ๒)เพื่อเป็น สถานศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาที่ฝึกทักษะความรู้ความสามารถของนักเรียนด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อมตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งเป็นการเตรียมบุคลากรไว้รองรับโครงการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและ สิ่งแวดล้อม ตั้งแต่วัยเยาว์ ซึ่งเป็นการเตรียมบุคลากรไว้รองรับโครงการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ ประเทศ เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนที่เรียนดี มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีโอกาส เพิ่มมากขึ้น ในการเข้าเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาและได้พัฒนาความรู้พื้นฐานในด้านนี้อย่างเข้ มข้น นาไปสู่ การแก้ปัญหาและปรับปรุงสิ่งแวดล้อมให้ได้ผลอย่างแท้จริง ๓) เพื่อเป็นสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตัวอย่าง ในด้านการฝึกอบรมนักเรียนให้เป็นกุลบุตร กุลสตรี ที่เพียบพร้อมด้วยจริยธรรมสามารถพึ่งพาตนเองได้และเป็น ประโยชน์ต่อสังคม เอกลักษณ์ของโรงเรียน คือ แหล่งเรียนรู้ด้านวิทยาศาสตร์ อัตลักษณ์ของนักเรียน มีภูมิรู้ ภูมิธรรม และภูมิฐาน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกคนสามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตได้ง่าย ซึ่งมีผู้ใช้งานที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเข้าไปแบ่งปันความรู้และ เลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด เพื่อนาไปเผยแพร่ความรู้ที่ตัวเองต้องการสื่อสารและเสนอความคิดใหม่ๆได้โดยไม่ถูกปิดกั้นโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงรายได้เล็งเห็นความสาคัญการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี และบริบทของโรงเรียนมีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ จึงดาเนินการจัดการ พัฒนาศักยภาพนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยส่งเสริมการ ใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้สามารถนาเครื่องมือออนไลน์มาประยุกต์ใ ช้ในการ จัดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ๓. จุดประสงค์และเป้าหมาย ของนวัตกรรม ๓.๑ เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) และ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน (LAS) ๓.๒ ส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียน โดยได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ต ด้านการเรียนรู้ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน สามารถ เชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ต ๓.๓ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้และพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง ๓.๔. เพื่อส่งเสริมพัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ด้วยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways ๓.๕ เพื่อเป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
  • 5. ๕ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๔. การออกแบบนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) กรอบแนวคิดในการพัฒนาที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหาแนวคิด หลักการและ ทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนาและผลสาเร็จที่พึงประสงค์การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) และ บริษัทแซส ซอฟท์แวร์(ไทยแลนด์)จากัดได้ดาเนิน“โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways” การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ .ศ.๒๕๔๒ และแก้ไข เพิ่มเติม(ฉบับที่๒) พุทธศักราช๒๕๔๕ การพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช๒๕๕๑ หมวด ๔ แนวการจัดการศึกษา มาตรา ๒๒ มาตรา ๒๓ และมาตรา ๒๔ หมวด ๙ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๙ การพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งให้ผู้เรียนเกิด สมรรถนะสาคัญ๕ประการได้แก่ความสามารถในการสื่อสารความสามารถในการคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media″ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านนวัตกรรม Social Media นามาเป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพนับเป็นกลยุทธ์ที่ สาคัญซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรทางการศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน เพราะปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง กันในวงการศึกษาและโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็วซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ดังนั้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม(SocialMedia) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เป็นการผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุคปัจจุบัน และสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บน เครือข่ายอินเทอร์เน็ต ด้านเนื้อหา เนื้อหา แยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดแนว(ทั้งภาคเรียน และหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชาและระดับชั้น ด้านการใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ความจาเป็นในการนาเครื่องมือ สื่อ นวัตกรรมมาใช้ประกอบการเรียนรู้ ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างฝ่ายบริหาร ครู และนักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และ ครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด (Knowledge Management : KM)
  • 6. ๖ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๕. กระบวนการพัฒนานวัตกรรม การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) แสดงให้เห็น ถึงรายละเอียดของการพัฒนาผลงานนวัตกรรม การนาไปใช้จริง และผลที่เกิดขึ้นจริง วิธีการพัฒนาโดยขั้นตอน ต่อเนื่องสัมพันธ์กัน และสอดคล้องกับจุดประสงค์และเป้าหมาย การนาไปใช้และการรายงาน ด้วย กระบวนการ PDCA ดังนี้ ๕.๑ สภาพปัญหาก่อนการพัฒนา ปัญหาที่พบปัญหาก่อนการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ๑) ความต้องการพัฒนานักเรียนและ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ และการประเมินคุณภาพการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน(LAS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒ ของนักเรียนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ให้สูงขึ้น ๒) นักเรียนมีทักษะและศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia)ไปในทิศทางที่ ไม่พึงประสงค์ไม่ใช้เพื่อประโยชน์ด้านการเรียนรู้ไม่ได้ส่งเสริมทักษะและศักยภาพการเรียนรู้เช่นติดเกมส์ แชท Facebook เป็นต้น .๓) การเรียนรู้ของนักเรียนไม่ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้และไม่มีทักษะการ ใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน ๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม่พัฒนาทักษะ และศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม(SocialMedia) เพื่อการจัดการเรียนรู้ พัฒนานักเรียน และเป็นประโยชน์ต่อวงการศึกษา ๕) นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ไม่สามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้ และไม่ใช้ประโยชน์ของ สื่อเทคโนโลยี Social Media เพื่อทางการศึกษาและระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ๖). .โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงรายอยู่ระหว่างการปรับปรุงระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตภายใน โรงเรียน เมื่อแล้วเสร็จทาให้มีระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ตที่รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ สามารถ บริหารงาน วิชาการCSHSCR Social Media Innovative ได้รวดเร็วมากยิ่งขึ้น ๕.๒ การศึกษา วิเคราะห์ และวางแผน (P) การออกแบบนวัตกรรม กรอบแนวคิดในการพัฒนา ที่แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงสัมพันธ์ระหว่างปัญหา แนวคิด หลักการและทฤษฎีที่ใช้ วิธีการพัฒนาผลสาเร็จที่พึง ประสงค์ และการศึกษา วิเคราะห์ ดังนี้ ๑) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช๒๕๕๑และหลักสูตรสถานศึกษา ๒) ความต้องการ ความจาเป็นของนักเรียน ครู บุคลากร โรงเรียนและชุมชน ๓) วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
  • 7. ๗ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๔) วิเคราะห์ วางแผน เขียน นาเสนอแผนงาน/โครงการ และ แผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ นักเรียนมีความเข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับหลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด กิจกรรมการเรียนการสอน การวัด ประเมินผลการเรียนรู้ เกณฑ์การวัดและประเมินผล กฎเกณฑ์ในชั้นเรียน และขอบข่ายโดยรวมของ เนื้อหาวิชา ๕) วิเคราะห์ วางแผนการนาเสนอเนื้อหาโดยแยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ตลอดแนว(ทั้งภาคเรียนและหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชา และ ระดับชั้น ๖) วิเคราะห์ วางแผนเครื่องมือSocial Media โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือ ออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ YouTube, SlideShare , Scribd,Flickr , Facebook และการใช้บทเรียนSASCurriculumPathways ๕.๓ ดาเนินงานพัฒนา (D) ดังนี้ ๑) ประชาสัมพันธ์ให้ครู นักเรียน และผู้ปกครอง ถึงการจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดนผ่านจุลสารวิทย์ของโรงเรียน ๒) ดาเนินการอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) พัฒนาครู บุคลาการทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) การสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ประกอบการจัดการ เรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways ๓) ดาเนินการ สร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ประกอบการจัดการเรียนรู้ และพิจารณานา QL# ในบทเรียน SAS Curriculum Pathways มาใช้ที่ สอดคล้องกับรายวิชาที่สอน ๔) ครูแนะนารายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วัด การวัดและประเมินผล อภิปรายข้อเสนอแนะและข้อตกลงในการ จัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้และการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ๕) ครูผู้สอนนาบทเรียนที่มีเนื้อหาสอดคล้องกับมาตรฐาน และตัวชี้วัด ไปใ ช้ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องในระดับต่างๆ โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ๖) ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเป็นลักษณะกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ กับ การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และหลักสูตรสถานศึกษา โดยครูผู้สอนได้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ใช้ควบคู่กับการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ ตรงตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และ จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยออกแบบการจัดการเรียนรู้ได้ใน๒ ลักษณะ ได้แก่ การประยุกต์ใช้กิจกรรมการเรียนรู้และ เนื้อหาสาระ มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคู่กับเนื้อหา และสื่อการเรียนรู้ ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ที่ครูได้วางแผนไว้ และจัดกิจกรรมการเรียนรู้มาใช้ในกิจกรรมการเรียนการสอน แล้วให้นักเรียนปฏิบัติภาระ
  • 8. ๘ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” งานหรือชิ้นงานตามที่นักเรียนสนใจ/ต้องการและจากกรอบการเรียนรู้ตามสาระการเรียนรู้ ๗) ครูจัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค วิธีการสอนที่หลากหลาย และการ บริหารงานCSHSCR Social Media Innovative ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘) กลุ่มเป้าหมายในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนคือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย นักเรียนจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) ดังนี้ (๑) ศึกษา วิธีการจัดการเรียนรู้ จากกิจกรรมการเรียนการสอนของครูผู้สอน (๒) เข้าใช้/จัดการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเสริมทักษะนอกเวลาเรียน ในรายวิชาที่นักเรียนสนใจ เพื่อเพิ่มเติมความรู้ และพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ (๓) ศึกษา สืบเสาะแสวงหาความรู้ /จัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อเทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ด้วยตนเอง และจากคาแนะนาของครูผู้สอนในรายวิชา (๔) ฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และทักษะในการสืบค้นข้อมูลที่จาเป็นต่อการเรียนรู้ ของนักเรียน เช่น จากเวปไซต์ เอกสาร ตารา ต่างๆ และทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ (๕) นาเสนอภาระงานหรือชิ้นงาน จากการเรียนรู้ด้วยองค์ความรู้ของตนเอง หรือผลงานจาก กระบวนการกลุ่มในโรงเรียน (๖) เผยแพร่ผลงานจากการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้จากคาแนะนาของครูผู้สอน นักเรียนนาเสนอผลงานบนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต (Social Media) เป็นการส่งเสริม ให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้ ๕.๔ การนิเทศติดตาม(C) ครู และผู้บริหารโรงเรียน นิเทศติดตามผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม Social Media ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดย การประชุมฝ่ายบริหาร ฝ่ายงานวิชาการ ประชุมสามัญ ประชุมวิสามัญ ของโรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ , จากเว็ปไซต์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย คือ http://๖๑.๗.๒๒๙.๑๐๑/web_pcccr/index.html , เว็ปไซต์ครูโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย โดยการ จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม Social Media คือ http://๖๑.๗.๒๒๙.๑๐๒/T_pcccr/ , Blog Wordpress Social Media การนิเทศติดตามผลดังนี้ ๑) ศักยภาพการเรียนรู้ของนักเรียนได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้ และ มีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ๒) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนโรงเรียน จุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย พัฒนาและสูงขึ้น
  • 9. ๙ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๓) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้ ๔) ครูและบุคลากรทางการศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) และ พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ๕) พัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ได้แก่ YouTube, SlideShare, Flickr , Facebook และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways ๖.) การขยายผลงาน เผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน สร้างเครือข่าย ที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิด ระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตเช่น การได้รับเชิญเป็นวิทยากรให้ความรู้ ๗) ครูได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ และรางวัลดีเด่นในระดับต่างๆ ๕.๕ รายงานผล/ขยายผลและเผยแพร่ผลงาน (A) จากการพัฒนานวัตกรรม บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้ การมีปฏิสัมพันธ์ ระหว่างฝ่าย บริหาร ครู นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ นักเรียนและครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด (Knowledge Management : KM) ๑) การเผยแพร่ผลงาน ดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ในเว็ปไซต์ โรงเรียน และบนเครือข่าย Internet เพื่อเชื่อมโยงองค์ความรู้ในการจัดการเรียนรู้ และเพื่อเป็นประโยชน์ทาง การศึกษาและเกิดระบบCommunity แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ๒) การประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองรับทราบ ในการดาเนินการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (SocialMedia) ผ่านจุลสาร “ข่าวจุฬาวิทย์”
  • 11. ๑๑ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ขั้นตอนการดาเนินการพัฒนา การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) เข้ารับการอบรม จาก สทร. ครูและบุคลากรทางการศึกษาเข้ารับอบรมเชิงปฏิบัติการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ครูแกนนา การจัดการเรียนรู้ เครื่องมือ Social media วิทยาศาสตร์ s Wordpress YouTube SlideShare Facebook Flickr Twitter SAS Curriculum Pathways คณิตศาสตร์ สังคมศึกษา ภาษาไทย ประเทศ สุขศึกษาฯ ดนตรี ภาษาต่างประเทศ การงานอาชีพฯ ฯ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ สร้าง Blog Wordpress นาเสนอเนื้อหานาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ กระบวนการนาเสนอเนื้อหา ศึกษา/วิเคราะห์ นื้อหา แผนการจัดการเรียนรู้ ดำเนินกำรตำมแผน ฯ นิเทศติดตาม วัด และประเมินผล วิจัยในชั้นเรียน ประเมินการจัดการเรียนรู้
  • 12. ๑๒ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” แผนภูมิแสดงขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(Social Media) หลักสูตร พ.ศ ๒๕๕๑ ความต้องการ และความจาเป็น วิธัการเรียนรู้ ของนักเรียน แผนาน/โครงการ แผนการจัด การเรียนรู้ แผนการ วัดประเมินผล การเรียนรู้ วิธีการนาเสนอ เนื้อหา เครื่องมือ Social Media โรงเรียน ประชาสัมพันธ์ อบรม เชิงปฏิบัติการ สร้าง นาเสนอ เนื้อหา โดยใช้ Social Media ครูแนะนา รายวิชา การจัดการเรียนรู้ จัดกิจกรรม บูรณาการกับ Social Media จัดการเรียนรู้ ตามแผน การจัดการเรียนรู้ นิเทศ ติดตามผล (C) ขยาย/เผยแพร่ (A) ศึกษา/วิเคราะห์ วิธีการเรียนรู้ การสืบเสาะ แสวงหาความรู้ ทักษะการใช้ ภาษาอังกฤษ ทักษะการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ ทักษะการใช้ เครื่องมือ Social Media ทักษะในการ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ เครื่องมือ Social Media นาเสนอภาระงาน หรือชิ้นงาน ผลสัมฤทธิ์ ทางกรเรียน เผยแพร่ผลงาน ในชั้นเรียน เผยแพร่ผลงาน บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต รับ ปรับใช้ข้อมูล บนเครือข่าย อินเทอร์เน็ต ขั้นตอนการดาเนินการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) Innovative ศึกษา/วิเคราะห์ และวางแผน (P) การดาเนินงานพัฒนา (ครู) (D) การดาเนินงานพัฒนา (นักเรียน)
  • 13. ๑๓ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” แผนภูมิแสดงขั้นตอนการดาเนินงานพัฒนา การใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways
  • 14. ๑๔ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” แผนภูมิ แนวทางการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways ในการจัดการเรียนการสอน ๖. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ ส่งผลต่อการพัฒนา คุณภาพนักเรียน ด้านครูและ บุคลากรทางการศึกษา และโรงเรียน โดยส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติงานจนเป็นที่ประจักษ์ โดยมี องค์ประกอบ ผลงานที่เป็นชิ้นงานนวัตกรรม และผลการใช้นวัตกรรมที่เกิดขึ้นกับ นักเรียน ครู ผู้บริหาร สถานศึกษา ชุมชน หรือผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในด้านพฤติกรรม พัฒนาการหรือการเรียนรู้ ครูในโรงเรียนมีผลงาน เชิงประจักษ์ที่นาความรู้และประสบการณ์ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ไปพัฒนาการเรียนการสอนหรืองานอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง ดังนี้
  • 15. ๑๕ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ๖.๑ การพัฒนาคุณภาพนักเรียน โดยประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม ได้แก่ การคิดวิเคราะห์ การสืบเสาะ หาความรู้ การพัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมก้าวสู่สังคมอาเซียน การระดมความคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ การจัดทารายงาน การนาเสนอผลงาน และนาแนวทางไปใช้กับการจัดการเรียนรู้ แบบปกติ ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรมผลสัมฤทธิ์ต่อการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ผลการทดสอบ ระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) และการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(LAS) โดยรวมสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ และระดับประเทศและได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยี ส่งผลให้เกิดประโยชน์แก่ การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รายละเอียด ดังนี้ ๑) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยรวมคะแนนเฉลี่ย ๓ ขึ้นทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของปีการศึกษา ที่ผ่านมา (ปีการศึกษา ๒๕๕๓ – ปีการศึกษา ๒๕๕๕) สรุปผล ดังนี้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๔๐ ๓.๔๘ ๓.๖๘ คณิตศาสตร์ ๓.๕๐ ๓.๓๐ ๓.๔๐ ภาษาต่างประเทศ ๓.๓๘ ๓.๓๒ ๓.๒๔ ภาษาไทย ๓.๔๔ ๓.๕๒ ๓.๕๖ สังคมศึกษาฯ ๓.๓๒ ๓.๕๘ ๓.๕๔ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๕๐ ๓.๗๕ ๓.๖๒ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๔๗ ๓.๐๐ ๓.๗๑ ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๓๓ ๓.๑๗ ๓.๔๐ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๒ ๓.๓๙ ๓.๕๒ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๔๘ ๓.๕๔ ๓.๖๐ คณิตศาสตร์ ๓.๔๒ ๓.๒๕ ๓.๑๒ ภาษาต่างประเทศ ๓.๕๕ ๓.๔๘ ๓.๑๙ ภาษาไทย ๓.๔๑ ๓.๒๗ ๓.๒๙ สังคมศึกษาฯ ๓.๑๐ ๓.๓๐ ๓.๔๘ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๖๘ ๓.๖๒ ๓.๘๑ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๔๕ ๓.๔๓ ๓.๗๒ ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๗๔ ๓.๓๘ ๓.๔๖ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๘ ๓.๔๑ ๓.๔๖
  • 16. ๑๖ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๕๔ ๓.๒๑ ๓.๑๑ คณิตศาสตร์ ๓.๓๖ ๓.๓๕ ๓.๓๕ ภาษาต่างประเทศ ๓.๗๐ ๓.๕๔ ๓.๓๔ ภาษาไทย ๓.๒๘ ๒.๙๔ ๒.๗๐ สังคมศึกษาฯ ๓.๘๐ ๓.๖๓ ๓.๔๘ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๖๖ ๓.๙๔ ๓.๘๓ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๕๓ ๓.๔๔ ๓.๒๐ ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๕๙ ๓.๔๕ ๓.๔๐ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๕๖ ๓.๔๔ ๓.๓๐ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๑๓ ๒.๙๒ ๓.๐๘ คณิตศาสตร์ ๒.๙๘ ๒.๘๘ ๒.๘๗ ภาษาต่างประเทศ ๓.๑๘ ๓.๓๑ ๓.๑๓ ภาษาไทย ๓.๖๘ ๓.๖๑ ๓.๖๓ สังคมศึกษาฯ ๓.๓๙ ๓.๓๔ ๓.๖๖ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๘๑ ๓.๙๘ ๓.๙๗ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๑๖ ๓.๑๗ ๓.๕๗ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๔ ๓.๔๓ ๓.๔๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๐๙ ๓.๑๗ ๓.๐๑ คณิตศาสตร์ ๓.๒๘ ๓.๐๔ ๒.๙๖ ภาษาต่างประเทศ ๓.๔๒ ๓.๒๗ ๓.๔๒ ภาษาไทย ๓.๕๙ ๓.๖๖ ๓.๕๒ สังคมศึกษาฯ ๓.๓๗ ๓.๒๘ ๓.๓๔ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๘๘ ๓.๙๒ ๓.๖๒ การงานอาชีพ ๓.๗๐ ๓.๕๙ ๓.๔๒ ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๖๑ ๓.๗๖ ๓.๔๕
  • 17. ๑๗ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๔๙ ๓.๔๖ ๓.๓๔ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ค่าเฉลี่ย ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาศาสตร์ ๓.๔๗ ๓.๑๑ ๒.๘๗ คณิตศาสตร์ ๓.๖๘ ๓.๖๙ ๓.๕๖ ภาษาต่างประเทศ ๓.๓๘ ๓.๒๓ ๓.๑๔ ภาษาไทย ๓.๕๓ ๓.๖๗ ๓.๖๕ สังคมศึกษาฯ ๓.๖๙ ๓.๗๔ ๓.๖๙ สุขศึกษา พลศึกษา ๓.๙๕ ๓.๙๑ ๓.๙๓ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๓.๘๗ ๓.๙๑ ๓.๙๘ ศิลปและดนตรีศึกษา ๓.๔๑ ๓.๔๗ ๓.๓๒ คะแนนเฉลี่ยรวมทุกวิชา ๓.๖๒ ๓.๕๙ ๓.๕๒ ที่มา ;งานวัดและประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาที่ผู้ขอรับการประเมินปฏิบัติการสอน ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๐.๕ ๒/๑ ๙ ๑๐ ๑๐ ๕ - ๓๔ ๓.๓๔ ๒/๒ ๕ ๗ ๑๑ ๙ ๒ ๓๔ ๓.๐๖ ๒/๓ ๓ ๒ ๑๓ ๑๐ ๖ ๓๔ ๒.๗๙ ๒/๔ ๒ ๔ ๘ ๑๐ ๙ ๓๓ ๒.๗๐ ๒/๕ - ๑ ๘ ๙ ๑๔ ๓๒ ๒.๔๔ รวม ๑๙ ๒๔ ๕๐ ๔๓ ๓๑ ๑๖๗ ๒.๘๗
  • 18. ๑๘ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๑.๐ ๒/๑ ๒๓ ๑๑ ๓๔ ๓.๘๔ ๒/๒ ๔ ๑๕ ๑๔ ๑ ๓๔ ๓.๓๒ ๒/๓ ๖ ๙ ๑๕ ๒ ๒ ๓๔ ๓.๒๒ ๒/๔ ๓ ๑๐ ๑๓ ๗ ๓๓ ๓.๑๔ ๒/๕ ๑ ๑๖ ๙ ๕ ๓๑ ๓.๒๑ รวม ๓๗ ๖๑ ๕๑ ๑๕ ๒ ๑๖๖ ๓.๓๕ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๔๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐ ส๔๓๑๐๒ ๖/๒ ๒๒ ๒๒ ๔.๐๐ ๖/๓ ๒๐ ๖ ๒ ๒๘ ๓.๘๒ ๖/๔ ๒๒ ๗ ๓ ๑ ๓๓ ๓.๗๔ รวม ๘๗ ๑๓ ๕ ๐ ๑ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๐๖ ๓.๘๗
  • 19. ๑๙ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑/๑ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๑ สังคมศึกษาฯ ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๒๔ ๒๔ ๔.๐๐ ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๒๓ ๑ ๒๔ ๓.๙๘ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๓๐๑๐๙ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐ ส๓๓๑๐๓ ๖/๒ ๓๕ ๓๕ ๔.๐๐ ๖/๓ ๓๔ ๓๔ ๔.๐๐ ๖/๔ ๓๕ ๓๕ ๔.๐๐ รวม ๑๒๗ ๑๒๗ ๔.๐๐ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๒ สังคมศึกษาฯ ๒ ๐.๕ ๑/๑ ๑๙ ๓ ๒ ๒๔ ๓.๘๕ ส๒๒๑๐๖ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๑/๑ ๒๓ ๑ ๒๔ ๓.๙๘ ส๔๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๑ ๒๐ ๒ ๑ ๒๓ ส๔๓๑๐๒ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๑ ๖/๒ ๓๐ ๔ ๒ ๓๖ ๖/๓ ๑๙ ๑๔ ๑ ๓๔ ๖/๔ ๕ ๑๓ ๑๔ ๓ ๓๕ รวม ๗๔ ๓๓ ๑๘ ๐ ๓ ๐ ๐ ๐ ๐ ๐ ๑๒๘
  • 20. ๒๐ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๑ ๐.๕ ๑/๑ ๑๗ ๒ ๑ ๑ ๓ ๒๔ ๓.๖๐ ๑/๒ ๖ ๒ ๕ ๔ ๖ ๑ ๒๔ ๒.๙๐ ๑/๓ ๑๐ ๓ ๖ ๕ ๒๔ ๓.๒๗ ๑/๔ ๑๐ ๒ ๒ ๑ ๘ ๑ ๒๔ ๒.๙๘ รวม ๔๓ ๙ ๑๔ ๖ ๒๒ ๑ ๑ ๙๖ ๓.๑๙ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๓๐๑๐๙ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐ ส๓๓๑๐๓ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๖/๒ ๓๓ ๓๓ ๔.๐๐ ๖/๓ ๒๘ ๓ ๑ ๑ ๓๓ ๓.๘๖ ๖/๔ ๒๒ ๖ ๕ ๑ ๓๔ ๓.๗๑ รวม ๑๐๖ ๙ ๖ ๒ ๑๒๓ ๓.๘๘ ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๒๒๑๐๖ ประวัติศาสตร์ไทย ๒ ๐.๕ ๑ ๕๔ ๑๐ ๖ ๗ ๑๔ ๙๖ ๓.๔๘
  • 21. ๒๑ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย ๔ ๓.๕ ๓ ๒.๕ ๒ ๑.๕ ๑ ๐ ร ม.ส รวม ส๓๐๑๐๖ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๐.๕ ๖/๑ ๒๓ ๒๓ ๔.๐๐ ส๓๓๑๐๔ ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ ๐.๕ ๖/๒- ๖/๔ ๙๖ ๑ ๓ ๓๓ ๓.๙๗ ที่มา. งานวัด ประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ๒) ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ และ นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ โดยรวมทั้ง ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และ ระดับประเทศปีการศึกษา๒๕๕๓- ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ดังนี้ สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานO-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๕๐.๒๘ ๔๒.๐๘ ๓๔.๔๖ ๕๔.๖๗ ๕๖.๑๔ ๕๖.๘๔ ๘๔.๖๐ ๓๐.๙๖ จังหวัด ๒๙.๘๑ ๒๔.๓๕ ๑๕.๖๘ ๔๓.๗๐ ๔๐.๙๔ ๔๗.๐๗ ๗๓.๗๐ ๒๗.๘๓ สังกัด ๒๙.๒๙ ๒๔.๒๒ ๑๕.๘๐ ๔๒.๘๙ ๔๐.๘๕ ๔๗.๐๓ ๗๒.๒๖ ๒๘.๕๑ ประเทศ ๒๙.๑๗ ๒๔.๑๘ ๑๖.๑๙ ๔๒.๘๐ ๔๐.๘๕ ๔๗.๐๗ ๗๑.๙๗ ๒๘.๔๘ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๔๗.๗๖ ๔๒.๕๔ ๓๗.๘๔ ๕๙.๕๒ ๕๒.๓๐ ๕๗.๖๔ ๕๗.๓๕ ๕๑.๒๖ จังหวัด ๓๒.๐๖ ๓๑.๓๖ ๒๙.๗๕ ๔๘.๑๙ ๔๒.๒๔ ๔๕.๙๔ ๕๑.๘๓ ๔๒.๒๖ สังกัด ๓๒.๒๘ ๓๒.๑๙ ๓๐.๑๓ ๔๘.๓๕ ๔๒๘๘ ๔๗.๕๙ ๕๑.๑๖ ๔๓.๖๑ ประเทศ ๓๒.๑๙ ๒๑.๐๘ ๓๐.๔๙ ๔๘.๑๑ ๔๒.๗๓ ๔๗.๒๙ ๕๐.๘๗ ๔๓.๕๐ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๕๗.๖๐ ๔๐.๒๐ ๓๙.๗๘ ๖๕.๒๒ ๖๐.๓๘ ๖๑.๓๙ ๖๖.๘๓ ๕๔.๔๕ จังหวัด ๓๖.๖๔ ๒๗.๐๒ ๒๘.๕๑ ๕๕.๒๓ ๔๗.๕๗ ๔๘.๖๒ ๕๗.๓๔ ๔๓.๑๖ สังกัด ๓๕.๔๐ ๒๖.๙๔ ๒๘.๒๙ ๕๔.๕๗ ๔๗.๑๕ ๔๗.๖๙ ๕๖.๙๓ ๔๓.๔๑ ประเทศ ๓๕.๓๗ ๒๖.๙๕ ๒๘.๗๑ ๕๔.๔๘ ๔๗.๑๒ ๔๗.๓๙ ๕๖.๖๗ ๔๓.๓๑
  • 22. ๒๒ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๓ ปีการศึกษา๒๕๕๓- ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และระดับประเทศ สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐานO-NET ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๔๒.๙๒ ๓๑.๔๘ ๓๒.๕๖ ๕๖.๙๖ ๕๔.๙๙ ๕๓.๘๗ ๖๙.๔๓ ๔๐.๕๙ จังหวัด ๓๐.๖๓ ๑๔.๑๖ ๑๗๙๑ ๔๒.๒๘ ๔๖.๘๑ ๔๓.๙๕ ๖๓.๑๘ ๓๒.๖๑ สังกัด ๓๐.๙๐ ๑๔.๗๙ ๑๘.๗๕ ๔๒.๙๕ ๔๖.๗๐ ๔๔.๑๔ ๖๓.๑๐ ๓๒.๘๐ ประเทศ ๓๐.๙๐ ๑๔.๙๙ ๑๙.๒๒ ๔๒.๖๑ ๔๖.๕๑ ๔๓.๖๙ ๖๒.๘๖ ๓๒.๖๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๔๐.๓๒ ๔๒.๒๖ ๓๑.๐๖ ๕๒.๓๔ ๔๑.๑๙ ๕๗.๗๘ ๖๐.๗๖ ๓๕.๒๔ จังหวัด ๒๗.๘๒ ๒๑.๙๕ ๒๐.๕๒ ๔๑.๓๕ ๓๒.๘๖ ๔๘.๔๔ ๕๔.๖๐ ๒๘.๑๗ สังกัด ๒๗.๘๙ ๒๒.๕๓ ๒๑.๓๔ ๔๒.๑๒ ๓๓.๔๐ ๔๙.๒๑ ๕๔.๙๒ ๒๘.๖๕ ประเทศ ๒๗.๙๐ ๒๒.๗๓ ๒๑.๘๐ ๔๑.๘๘ ๓๓.๓๙ ๔๘.๗๒ ๕๔.๖๑ ๒๘.๕๔ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับ วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย การงานอาชีพฯ คะแนนเฉลี่ย สุขศึกษาฯ คะแนนเฉลี่ย ศิลปะ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๔๔.๘๒ ๓๗.๐๑ ๒๙.๗๔ ๖๒.๖๗ ๔๓.๔๑ ๕๖.๘๖ ๖๒.๑๘ ๔๑.๑๗ จังหวัด ๓๒.๕๔ ๒๒.๗๕ ๒๑.๔๗ ๔๗.๔๗ ๓๖.๓๒ ๔๖.๒๘ ๕๔.๓๘ ๓๓.๐๔ สังกัด ๓๒.๗๗ ๒๒.๔๗ ๒๑.๒๑ ๔๗.๑๘ ๓๖.๑๘ ๔๕.๙๓ ๕๔.๑๕ ๓๓.๐๘ ประเทศ ๓๓.๑๐ ๒๒.๗๓ ๒๒.๑๓ ๔๗.๑๙ ๓๖.๒๗ ๔๕.๙๖ ๕๓.๗๐ ๓๒.๗๓ สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่๖ ปีการศึกษา๒๕๕๓- ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัด และระดับประเทศ ที่มา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สทศ. สาเนาเกียรติบัตรผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET) และ สพม. เขต ๓๖ ๓) ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) เพื่อการประกันคุณภาพนักเรียน ภาพรวม๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คือ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่๒โดยรวม ปีการศึกษา ๒๕๕๔–๒๕๕๕ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต๓๖และระดับประเทศ
  • 23. ๒๓ แบบรายงาน “นวัตกรรมการเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน และทักษะในศตวรรษที่ ๒๑” สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน(LAS) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๔ ระดับ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ๕ วิชา (๑๐๐ คะแนน)ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๖๑.๐๘ ๕๓.๙๙ ๔๗.๘๒ ๓๗.๒๗ ๕๙.๒๘ ๕๑.๘๗ สังกัด ๔๖.๒๗ ๓๗.๘๐ ๒๙.๘๒ ๒๙.๗๘ ๓๐.๖๐ ๓๔.๘๒ ประเทศ ๔๔.๖๓ ๓๕.๔๕ ๒๗.๘๘ ๒๙.๓๓ ๒๘.๐๕ ๓๓.๐๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ระดับ คะแนนเฉลี่ยร้อยละ (คะแนนเต็ม ๑๐๐ คะแนน) ๕ วิชา (๑๐๐ คะแนน)ภาษาไทย คะแนนเฉลี่ย วิทยาศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย คณิตศาสตร์ คะแนนเฉลี่ย สังคมศึกษา คะแนนเฉลี่ย ภาษาอังกฤษ คะแนนเฉลี่ย โรงเรียน ๔๘.๒๗ ๔๘.๕๘ ๔๔.๔๐ ๔๘.๘๖ ๕๘.๗๘ ๔๙.๗๘ จังหวัด ๓๕.๕๕ ๓๒.๒๐ ๒๖.๒๗ ๓๗.๙๐ ๓๔.๔๕ ๓๓.๒๘ สังกัด ๓๓.๕๖ ๓๒.๒๗ ๒๖.๒๖ ๓๗.๗๔ ๓๔.๒๖ ๓๓.๒๔ ที่มา ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพนักเรียนภาพรวม๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต ๓๖ ๔) นักเรียนมีศักยภาพการเรียนรู้โดยได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตด้านการเรียนรู้และฝึก ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่อาเซียน (หลักฐาน คือ DVD ประกอบการนาเสนอผลงาน ตัวอย่างผลงานนักเรียน ไฟล์.VDO โครงงาน ภาพกิจกรรม) ๕) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้ ๖) นักเรียนได้รับประโยชน์จากการจัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม(SocialMedia) ไปประยุกต์ใช้อย่างเป็นรูปธรรม ผลงานที่แสดงให้เห็นว่านักเรียนได้รับประโยชน์ ดังนี้ (๑) ผลงานกิจกรรมกระบวนการกลุ่ม การสืบเสาะหาความรู้ การคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยการระดมความคิดงานที่ได้รับมอบหมายและที่สนใจในกลุ่มสาระการเรียนรู้ วิชา สาระการเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดทารายงาน การนาเสนอผลงาน การทาแบบทดสอบ และวิเคราะห์ แนวทาง การเรียนไปใช้กับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ นาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม (๒) ผลงานกิจกรรมการศึกษา การสืบเสาะหาความรู้ ด้วยตนเอง (๓) ผลงานการใช้เทคโนโลยี คือนักเรียนได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้โดยใช้สื่อเทคโนโลยีและส่งผล ให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (๔) ผลงานการฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ของนักเรียน โดยใช้บทเรียน SAS (๕) นักเรียนที่มีผลงานได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติ และได้รับรางวัลดีเด่นในระดับต่างๆ