SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
การเมืองการปกครองของไทย
                                                                               อ.อุษณีย ยุชยะทัต
                                                                          โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย

       การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย

         การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย แบงออกเปน 2 แบบ คือ
         - แบบปตาธิปไตย (พอปกครองลูก) ในสมัยสุโขทัยตอนตน
         - แบบธรรมราชา สุโขทัยตอนปลาย หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ฐานะของ
กษัตริยเปลี่ยนเปนธรรมราชา ซึ่งไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา
        โครงสรางการเมืองการปกครอง แบงได ดังนี้
        1. เมืองหลวง คือ สุโขทัย
        2. เมืองลูกหลวง หรือเมืองหนาดาน ตั้งอยูรอบๆ เมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีเชื้อพระวงศปก
ครอง
         3. เมืองพระยามหานคร (เมืองชันนอก) เมืองทีอยูหางไกลออกไป มีเจาเมืองเชือสายขุนนาง
                                     ้            ่                           ้
ทองถินปกครอง
      ่
         4. เมืองประเทศราช เมืองที่ยอมออนนอม มีกษัตริย หรือเจาเมืองเดิมปกครอง ไดแก แพร
นาน เวียงจันทน หงสาวดี
                                โครงสรางการปกครองในสมัยสุโขทัย




                                                ศรีสัชนาลัย

                                   นครชุม                          สองแคว
                               (กําแพงเพชร)
                                                 สุโขทัย          (พิษณุโลก)

                                                 สระหลวง
                                                  (พิจิตร)                     เมืองราชธานี
                                                                               เมืองลูกหลวง
                                                                               เมืองพระยามหานคร
                                                                               เมืองประเทศราช


                                                                                                  23
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา

       การเมืองการปกครองของอยุธยา แบงเปน 3 ระยะ คือ
       1. สมัยกอนการปฏิรูป ชวง 100 ปแรก
       2. สมัยปฏิรูปการปกครอง กษัตริยสําคัญคือ พระบรมไตรโลกนาถ
       3. สมัยหลังการปฏิรูป หลังเสียกรุงครั้งที่ 1 – เสียกรุงครั้งที่ 2
       การปกครองสมัยอยุธยา มีลักษณะเดน ดังนี้
       1. ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยทรงมีฐานะเปนเทวราชา หรือ
สมมติเทพ สาเหตุที่อยุธยาตองใชการปกครองแบบนี้ เพราะ
           1) อาณาจักรขยายใหญโตกวางขวางขึ้น
           2) ความตองการกําลังคนไวทําสงครามและผลิต
       2. เปนการปกครองแบบนายกับบาว เจากับขา
       3. ใชระบบศักดินา คือ การกําหนดสิทธิ หนาที่ของคนในแตละชนชั้นระบบไพร คือ
ระบบการควบคุมกําลังคน
       4. ฐานะของพระมหากษัตริยทรงเปนสมมติเทพและธรรมราชา
       สมัยอยุธยาตอนตน มีลักษณะ
       1. เปนระบอบราชาธิปไตยตามแบบเขมรและฮินดู
       2. พระมหากษัตริยเปนทั้งประมุขและผูปกครองที่มีอํานาจสูงสุด
       3. ลักษณะการปกครองราษฎรเปนแบบนายปกครองบาว
       4. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางเปนแบบจตุสดมภ
       5. การปกครองสวนภูมิภาค แบงเชนเดียวกับสุโขทัย
       สมัยอยุธยาตอนกลาง เริ่มสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีลักษณะ
       1. รวมอํานาจเขาสูสวนกลางมากขึ้น
       2. ใชระบบศักดินาเขมแข็ง
       3. แบงแยกทหารและพลเรือนออกจากกัน
       4. แตงตั้งอัครมหาเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม (ทหาร) สมุหนายก (พลเรือน)
       5. ยกเลิกเมืองลูกหลวง (ชั้นใน) ลดฐานะเปนเมืองจัตวา มีผูรั้ง ดูแล




                                                                                       24
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ

                                                    พระมหากษัตริย


                สวนกลาง                                         สวนภูมิภาค                          ประเทศราช

                ราชธานี
                                                                                                    เหมือนสมัยสุโขทัย
                                                เมืองจัตวา           หัวเมืองชั้นนอก
            อัครมหาเสนาบดี
                                                   ผูรั้ง           เอก       โท        ตรี
   สมุหกลาโหม               สมุหนายก
     (ทหาร)                 (พลเรือน)
                                                                           แขวง – หมื่นแขวง
                                                                           ตําบล - กํานัน
                               จตุสดมภ
                                                                           หมูบาน - ผูใหญบาน


   นครบาล           ธรรมาธิกรณ           โกษาธิบดี             เกษตราธิการ

       สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแตสมัยพระเพทราชา จนถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา การบริหารงาน
เหมือนสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีขอแตกตางคือ ไมแยกฝายทหารและพลเรือนออกจากกัน

                     โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระเพทราชา

                                                         พระมหากษัตริย


                       หัวเมืองฝายใต                                         หัวเมืองฝายเหนือ


                       สมุหกลาโหม                                                   สมุหนายก



         ฝายทหาร                   ฝายพลเรือน                       ฝายทหาร                      ฝายพลเรือน




                                                                                                             25
                สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ขอทดสอบ

1. การปกครองแบบพอปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ทําใหเกิดผลที่เดนชัดที่สุดในขอใด
     1. การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน
     2. ความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว
     3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย
     4. การเกิดระบบศักดินา
2. ถึงแมวาพระมหากษัตริยในสมัยอยุธยาทรงมีอํานาจลนพน แตอํานาจของพระองคถกจํากัดโดย
                                                                                ู
     ขอใด
     1. กฎมณเฑียรบาล                             2. ความเปนเทวราชา
     3. หลักธรรมทางศาสนา                         4. อํานาจของรัฐอื่น
3. การดําเนินการตามขอใดเปนปจจัยสําคัญในการเสริมสรางอํานาจและบารมีของพระมหากษัตริย
     ในสมัยอยุธยา
     1. การทําสงครามแผขยายราชอาณาจักร
     2. การควบคุมขุนนางและราษฎรไวไดอยางใกลชิด
     3. การสงเสริมพระราชประเพณีและพิธีการทางศาสนาตางๆ
     4. การสรางสัมพันธฉันทเครือญาติกับประเทศเพื่อนบาน
4. ขอใดเปนรูปแบบการปกครองสวนภูมิภาค
     1. หัวเมืองชั้นนอกในสมัยกรุงสุโขทัย         2. กรมเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา
     3. เมืองดุสิตธานีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองพัทยาในสมัยปจจุบัน
5. การปกครองในสมัยกรุงสุโขทัยกับสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด
     1. ลักษณะการปกครอง                          2. อํานาจของผูปกครอง
     3. ระบบการปกครอง                            4. ศูนยกลางของอํานาจปกครอง
6. ขอใดเปนการจัดระเบียบการปกครองของไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร
     1. เมืองพิษณุโลกอยูในบังคับบัญชาของสมุหกลาโหม
     2. เมืองนครศรีธรรมราชอยูในบังคับบัญชาของสมุหนายก
     3. เมืองโคราชอยูภายใตการบังคับบัญชาของสมุหเทศาภิบาล
     4. เมืองจันทบุรีอยูภายใตการบังคับบัญชาของกรมทา




                                                                                   26
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
7. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยตนรัตนโกสินทรแตกตางจากสมัยอยุธยาใน
   เรื่องใด
    1. ระบบศักดินา                             2. ฐานะของพระมหากษัตริย
    3. การจัดระเบียบการปกครองสวนกลาง          4. การจัดระเบียบการปกครองสวนภูมิภาค
8. ขอใดไมใชลักษณะของเมืองลูกหลวงในสมัยสุโขทัย
    1. เปนเมืองหนาดาน                       2. มีขุนนางเปนเจาเมือง
    3. อยูลอมรอบเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ          4. หางจากเมืองหลวงเดินดวยเทา 2 วัน
9. ขอใดไมใชสาระสําคัญของการปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
    1. การดึงอํานาจเขาสูศูนยกลาง
    2. การยกเลิกระบบเมืองลูกหลวง
    3. การขยายเขตการปกครองของราชธานี
    4. การแบงเขตการปกครองระหวางสมุหกลาโหมและสมุหนายก
10. พระมหากษัตริยไทยพระองคใดที่ทรงเริ่มนําหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาเปนหลักสําคัญ
       ในการปกครอง
       1. พอขุนรามคําแหงมหาราช                2. พระมหาธรรมราชาที่ 1
       3. สมเด็จพระเจาทรงธรรม                 4. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
11. การปกครองสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด จากขอ 1 - 5 ตอไปนี้
          1. ระบบการเมือง
          2. ฐานะของพระมหากษัตริย
          3. ความสัมพันธของพระมหากษัตริยกับประชาชน
          4. การปกครองเมืองประเทศราช
          5. ศูนยกลางของอํานาจ
       1. ขอ 1 และ 2                          2. ขอ 2 และ 3
       3. ขอ 3 และ 4                          4. ขอ 4 และ 5
12. การปกครองในสมัยสุโขทัยกับอยุธยามีลักษณะที่เหมือนกันในเรื่องใด
       1. สถานภาพของผูปกครอง                  2. กฎหมายและกระบวนการยุตธรรม  ิ
       3. ศูนยกลางการใชอํานาจการปกครอง       4. ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน




                                                                                    27
              สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร


การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5
       ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ (พ.ศ. 2435) ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิ
ภาคและสวนทองถิ่น
       1. การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง
           การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง ยกเลิกจตุสดมภ สมุหนายก สมุหกลาโหม แบง
ออกเปนกระทรวงตางๆ 12 กระทรวง แตละกระทรวงมีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ
       2. การปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาค
           จัดการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งประกอบดวย
           - มณฑลเทศาภิบาล แตละมณฑลมีขาหลวงเทศาภิบาลปกครอง
           - ในแตละมณฑลจะประกอบดวย เมือง อําเภอ ตําบล หมูบาน ตามลําดับ โดยกําหนด
              ใหราษฎรเลือกตั้งกํานัน และผูใหญบาน ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกที่ ตําบลบานเกาะ อําเภอ
              บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
       3. การปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่น
           มีการจัดสุขาภิบาล เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมในการบริหารทองถิ่นของตน ใน
ดานการรักษาความสะอาด
           สุขาภิบาลแหงแรก คือ สุขาภิบาลกรุงเทพฯ
           สุขาภิบาลหัวเมืองแหงแรก คือ ตําบลทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร

        แนวคิดแบบประชาธิปไตยของไทย
        - ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ
        - เหตุการณ ร.ศ. 103 (พ.ศ.2427) คือ การที่เจานายและขุนนางทําหนังสือกราบทูลถวาย ร.5

        พัฒนาการประชาธิปไตยของไทย
        - การปฏิรูปการปกครองของ ร.5
        - กบฎ ร.ศ. 130 ร.6
        - การจัดตั้งดุสิตธานี ร.




                                                                                            28
                สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
โครงสรางการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5
                                                    พระมหากษัตริย


                 สวนกลาง                                            สวนภูมิภาค              สวนทองถิ่น



    เสนาบดี                   สภาที่                                 มณฑลเทศาภิบาล              สุขาภิบาล
    กระทรวง                   ปรึกษา

                                                                          มีขาหลวง       เกิดขึ้นครั้งแรกที่
                                                                          มณฑลหรือ        ทาฉลอม จังหวัด
   12 กระทรวง              รัฐมนตรีสภา            องคมนตรีสภา             สมุหเทศาภิบาล   สมุทรสาคร ถือวา
   หนาที่ชวย            (สภาที่ปรึกษา           (สภาที่ปรึกษา           เปนผูปกครอง   เปนการปกครอง
   บริหาร                ราชการแผนดิน)           สวนพระองค)            ขึ้นตรงตอพระ   ทองถิ่นครั้งแรก
   ราชการ                                                                 มหากษัตริย
   แผนดิน                                                                เจาเมืองเดิม
                        ประกอบดวย               ประกอบดวย               ไมมีอํานาจ
                        ขุนนางผูใหญ            พระบรมวงศานุ
                        10 – 20 คน               วงศช้นสูงหนาที่
                                                       ั                  ลักษณะรวม
                        หนาที่ถวายคํา           ถวายคําปรึกษา            เมือง 4 – 5
                        ปรึกษาราชการ             ราชการสวนพระ            เมืองขึ้นเปน
                        สวนพระองค              องค                     1 มณฑล

การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการในสมัยรัชกาลที่ 6
       1. รวมมณฑลเปนภาค มีอปราชปกครอง
                                  ุ
       2. เปลี่ยนการเรียกชื่อ เมือง เปน จังหวัด
       3. ทรงวางพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยตั้งดุสิตธานี

การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเหตุการณภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
         ในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเกิดเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผล
กระทบตอเศรษฐกิจและการเมืองของไทย จากการที่รัฐบาลแกไขปญหาเศรษฐกิจไมไดผล เปน
สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการปฏิวติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งประกอบ
                               ั
ดวยทหารและพลเรือน มีพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาฝายทหาร และหลวง
ประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค) เปนหัวหนาฝายพลเรือน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปก
ครองการบริหารราชการแผนดินภายใตรัฐสภา ประชาชนมีสิทธิ และเสรีภาพ ตามกฎหมาย

                                                                                                   29
                 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
ขอทดสอบ

1. ขอใดไมเกี่ยวของกับการปฏิรูปการปกครองประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5
      1. การจัดตั้งภาค                           2. การจัดตั้งมณฑล
      3. การจัดตั้งสุขาภิบาล                     4. การจัดการเลือกตั้งกํานัน ผูใหญบาน
2. การปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5 เกิดจากสาเหตุใดนอยที่สุด
      1. ความเสื่อมของระบบมูลนายไพร             2. เหตุการณวุนวายภายในประเทศ
      3. โครงสรางการปกครองเดิมลาสมัย           4. การคุกคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก
3. ระบบเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะสอดคลองกับการปกครองในขอใด
      1. การปกครองทองที่                        2. การปกครองทองถิ่น
      3. การปกครองสวนกลาง                       4. การปกครองสวนภูมิภาค
4. กิจกรรมใดเปนการเริ่มวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย
      1. การจัดตั้งรัฐมนตรีสภา                   2. การจัดตั้งสุขาภิบาล
      3. การเลิกทาส                              4. การจัดตั้งดุสิตธานี
5. ขอใดไมใชสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
      1. การตื่นตัวทางการเมืองของชนชั้นกลาง
      2. พระบรมวงศานุวงศทรงไดรับการศึกษาสมัยใหมของประเทศในยุโรปมากขึ้น
      3. วิธีการของรัฐบาลในการลดรายจายที่ไมจําเปนของประเทศเพื่อแกปญหาเศรษฐกิจ
      4. เกิดการขัดแยงแตกแยกกันในดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกองทัพระหวางกลุมผู
         มีอํานาจ
6. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย พ.ศ. 2475 โดยไมนองเลือดเปนเพราะเหตุใด
      1. คณะราษฎรสามารถควบคุมกําลังอํานาจของกองทัพไดทั้งหมด
      2. ประชาชนชาวไทยใหการสนับสนุนคณะราษฎร
      3. รัชกาลที่ 7 มีพระราชดําริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับประชาชน
      4. ผูนําเห็นความเจริญจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของญี่ปุนในระบอบรัฐธรรมนูญ
7. การเมืองการปกครองของไทยในชวงระหวาง พ.ศ. 2480 - 2514 มีลักษณะเชนไร
      1. ฝายการเมืองบริหารตามระบอบประชาธิปไตย
      2. ฝายทหารมีบทบาทในระบบอํานาจนิยม
      3. ขาราชการพลเรือนควบคุมการบริหารราชการ
      4. กลุมนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบริหารประเทศ


                                                                                       30
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
8. วิกฤตการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กอใหเกิดผลดานการเมืองที่สําคัญหลายประการยกเวนขอใด
      1. กลุมอาชีพตางๆ เคลื่อนไหวเรียกรองสิทธิประโยชนและเสรีภาพ
              
      2. มีการเลือกตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรรมนูญใหม
      3. ทําใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517
      4. ทหารและกองทัพลดบทบาทการเขามาเกี่ยวของกับการเมืองจนถึงปจจุบัน
9. รัฐบาลในขอใดมีลักษณะใกลเคียงกับรัฐบาลแบบอภิชนาธิปไตยมากที่สุด
      1. รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พ.ศ. 2518
      2. รัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ. 2531
      3. รัฐบาล นายอานันท ปนยารชุน พ.ศ. 2534
      4. รัฐบาล พลเอกสุจินดา คราประยูร พ.ศ. 2535
10. “บุญของแผนดินไทย พอหลวงบันดาลให                     ที่ในยุงฉางมีขาว
      นํ้ารินดินดีใดเลา       ทุกขใดเหินไปบรรเทา         ดวยพระบาท”
      ขอความนี้แสดงใหเห็นถึงฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยวาเปนอยางไร
      1. ธรรมราชา                                2. เทวราชา
      3. เจาชีวิต                               4. เจาแผนดิน
11. พระมหากษัตริยพระองคแรกที่ทรงดื่มนํ้าพิพัฒนสัตยา และสาบานตนวา จะซื่อสัตยตอพสก
     นิกร คือ พระองคใด
      1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช
      2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว
      3. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว
      4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
12. ขอใดไมใชสาเหตุสาคัญทีทาใหมการเปลียนแปลงการปกครองในประเทศไทยเปนระบอบ
                         ํ   ่ ํ ี         ่
     ประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2475
      1. ความเหลื่อมลํ้าในทางสังคมระหวางชนชั้นตางๆ
      2. ความตกตํ่าทางเศรษฐกิจซึ่งทําใหประชาชนเดือดรอน
      3. ความตองการใหประชาชนมีการศึกษาโดยเทาเทียมกัน
      4. ความตื่นตัวทางการเมืองที่อยากใหมีการเปลี่ยนแปลง
13. สมานขอใหสมรอธิบายเหตุการณสําคัญที่แสดงถึงความตื่นตัวของนิสิตนักศึกษาในการเรียก
     รองประชาธิปไตย สมรจะเลือกเหตุการณใดมาอธิบาย
     1 14 ตุลาคม 2516                            2. 6 ตุลาคม 2519
     3. 23 กุมภาพันธ 2534                       4. 17 พฤษภาคม 2536


                                                                                     31
               สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
14. การเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ในขอใด
    มีรูปแบบคลายคลึงกับความเคลื่อนไหวในหมูนักคิดชาวยุโรปสมัยคริสตศตวรรษที่ 17 - 18
     1. การรวมกลุมการเมืองภายใตชื่อ ยังเติรก
     2. เทียนวรรณออกหนังสือพิมพเพื่อเสนอความคิดเห็นวิพากษวิจารณสังคม
     3. การกอกบฎ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6
     4. คณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน ร.ศ. 130
15. หนาที่สําคัญขององคมนตรีสภาในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร
     1. เปนที่ปรึกษาราชการแผนดิน               2. เปนผูพิจารณารางกฎหมาย
     3. เปนที่ปรึกษาราชการสวนพระองค           4. เปนผูพิจารณาระเบียบราชการ
16. เหตุผลสําคัญในขอใดที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปฏิรูปการปกครองแผนดิน
     1. มีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น              2. ตองการเจริญเหมือนอารยธรรมตะวันตก
     3. ที่ปรึกษาสวนพระองคถวายคําแนะนํา 4. เกรงภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม
17. ขอใดถือวาเปนจุดเริ่มตนสําคัญของการพัฒนาการเมืองไทย
     1. การกราบบังคมทูลขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2427
     2. การปฏิรูปการปกครองแผนดินสมัยรัชกาลที่ 5
     3. ความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ. 130
     4. การสราง “ดุสิตธานี” เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย
18. แนวคิดเกี่ยวกับการมีรัฐธรรมนูญในสังคมไทย มีมาตั้งแตสมัยใด
     1. รัชกาลที่ 3                              2. รัชกาลที่ 4
     3. รัชกาลที่ 5                              4. รัชกาลที่ 6
19. การเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเพื่ออะไร
     1. ใหฝรั่งเศสคืนดินแดนที่ยึดไปจากไทยในเหตุการณ ร.ศ. 112
     2. ใหอังกฤษและฝรั่งเศสยอมแกไขสนธิสัญญาบาวริง
     3. ใหตางชาติยอมรับวาไทยมีเกียรติยศเสมอนานาอารยประเทศ
     4. ใหตางชาติยอมรับวาไทยตองการรักษาความเปนกลาง
20. ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยของคนไทยเริ่มปรากฏอยางชัดเจนในขอใด
     1. ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ
     2. ขอคิดเห็นของอัศวพาหุและรามจิตติ
     3. คํากราบบังคมทูลของเจานายและขาราชการ ร.ศ. 103
     4. ขอเสนอของที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศ ชื่อ นายเรมอนด บี. สตีเวนส



                                                                                           32
                สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์sw110
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 

La actualidad más candente (20)

แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Destacado

ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6Pukkawin Ngamdee
 
ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475democratia_up
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535somdet mahasamithi
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 

Destacado (6)

ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
ข้อสอบ O-NET วิชาสังคมศึกษา ชั้น ม.6
 
ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475ปฏิวัติสยาม 2475
ปฏิวัติสยาม 2475
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
ลำดับเหตุการณ์ทางการเมืองการปกครองไทย 2475 2535
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 

Similar a การเมืองการปกครองของไทย

Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยปาล์มมี่ ไม่เล่นเกมส์
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar a การเมืองการปกครองของไทย (20)

ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครอง 604
การปกครอง 604การปกครอง 604
การปกครอง 604
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
แผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อแผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อ
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
อยุธยา
อยุธยาอยุธยา
อยุธยา
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

การเมืองการปกครองของไทย

  • 1. การเมืองการปกครองของไทย อ.อุษณีย ยุชยะทัต โรงเรียนชิโนรสวิทยาลัย การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย การเมืองการปกครองสมัยสุโขทัย แบงออกเปน 2 แบบ คือ - แบบปตาธิปไตย (พอปกครองลูก) ในสมัยสุโขทัยตอนตน - แบบธรรมราชา สุโขทัยตอนปลาย หลังสมัยพอขุนรามคําแหงมหาราช ฐานะของ กษัตริยเปลี่ยนเปนธรรมราชา ซึ่งไดรับอิทธิพลทางพุทธศาสนา โครงสรางการเมืองการปกครอง แบงได ดังนี้ 1. เมืองหลวง คือ สุโขทัย 2. เมืองลูกหลวง หรือเมืองหนาดาน ตั้งอยูรอบๆ เมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ มีเชื้อพระวงศปก ครอง 3. เมืองพระยามหานคร (เมืองชันนอก) เมืองทีอยูหางไกลออกไป มีเจาเมืองเชือสายขุนนาง ้ ่   ้ ทองถินปกครอง ่ 4. เมืองประเทศราช เมืองที่ยอมออนนอม มีกษัตริย หรือเจาเมืองเดิมปกครอง ไดแก แพร นาน เวียงจันทน หงสาวดี โครงสรางการปกครองในสมัยสุโขทัย ศรีสัชนาลัย นครชุม สองแคว (กําแพงเพชร) สุโขทัย (พิษณุโลก) สระหลวง (พิจิตร) เมืองราชธานี เมืองลูกหลวง เมืองพระยามหานคร เมืองประเทศราช 23 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 2. การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา การเมืองการปกครองของอยุธยา แบงเปน 3 ระยะ คือ 1. สมัยกอนการปฏิรูป ชวง 100 ปแรก 2. สมัยปฏิรูปการปกครอง กษัตริยสําคัญคือ พระบรมไตรโลกนาถ 3. สมัยหลังการปฏิรูป หลังเสียกรุงครั้งที่ 1 – เสียกรุงครั้งที่ 2 การปกครองสมัยอยุธยา มีลักษณะเดน ดังนี้ 1. ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย พระมหากษัตริยทรงมีฐานะเปนเทวราชา หรือ สมมติเทพ สาเหตุที่อยุธยาตองใชการปกครองแบบนี้ เพราะ 1) อาณาจักรขยายใหญโตกวางขวางขึ้น 2) ความตองการกําลังคนไวทําสงครามและผลิต 2. เปนการปกครองแบบนายกับบาว เจากับขา 3. ใชระบบศักดินา คือ การกําหนดสิทธิ หนาที่ของคนในแตละชนชั้นระบบไพร คือ ระบบการควบคุมกําลังคน 4. ฐานะของพระมหากษัตริยทรงเปนสมมติเทพและธรรมราชา สมัยอยุธยาตอนตน มีลักษณะ 1. เปนระบอบราชาธิปไตยตามแบบเขมรและฮินดู 2. พระมหากษัตริยเปนทั้งประมุขและผูปกครองที่มีอํานาจสูงสุด 3. ลักษณะการปกครองราษฎรเปนแบบนายปกครองบาว 4. การจัดระเบียบบริหารราชการสวนกลางเปนแบบจตุสดมภ 5. การปกครองสวนภูมิภาค แบงเชนเดียวกับสุโขทัย สมัยอยุธยาตอนกลาง เริ่มสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีลักษณะ 1. รวมอํานาจเขาสูสวนกลางมากขึ้น 2. ใชระบบศักดินาเขมแข็ง 3. แบงแยกทหารและพลเรือนออกจากกัน 4. แตงตั้งอัครมหาเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม (ทหาร) สมุหนายก (พลเรือน) 5. ยกเลิกเมืองลูกหลวง (ชั้นใน) ลดฐานะเปนเมืองจัตวา มีผูรั้ง ดูแล 24 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 3. โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระมหากษัตริย สวนกลาง สวนภูมิภาค ประเทศราช ราชธานี เหมือนสมัยสุโขทัย เมืองจัตวา หัวเมืองชั้นนอก อัครมหาเสนาบดี ผูรั้ง เอก โท ตรี สมุหกลาโหม สมุหนายก (ทหาร) (พลเรือน) แขวง – หมื่นแขวง ตําบล - กํานัน จตุสดมภ หมูบาน - ผูใหญบาน นครบาล ธรรมาธิกรณ โกษาธิบดี เกษตราธิการ สมัยอยุธยาตอนปลาย ตั้งแตสมัยพระเพทราชา จนถึงสิ้นกรุงศรีอยุธยา การบริหารงาน เหมือนสมัยพระบรมไตรโลกนาถ มีขอแตกตางคือ ไมแยกฝายทหารและพลเรือนออกจากกัน โครงสรางการบริหารราชการแผนดินสมัยสมเด็จพระเพทราชา พระมหากษัตริย หัวเมืองฝายใต หัวเมืองฝายเหนือ สมุหกลาโหม สมุหนายก ฝายทหาร ฝายพลเรือน ฝายทหาร ฝายพลเรือน 25 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 4. ขอทดสอบ 1. การปกครองแบบพอปกครองลูกในสมัยสุโขทัย ทําใหเกิดผลที่เดนชัดที่สุดในขอใด 1. การคุมครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน 2. ความเปนปกแผนของสถาบันครอบครัว 3. ความจงรักภักดีตอพระมหากษัตริย 4. การเกิดระบบศักดินา 2. ถึงแมวาพระมหากษัตริยในสมัยอยุธยาทรงมีอํานาจลนพน แตอํานาจของพระองคถกจํากัดโดย ู ขอใด 1. กฎมณเฑียรบาล 2. ความเปนเทวราชา 3. หลักธรรมทางศาสนา 4. อํานาจของรัฐอื่น 3. การดําเนินการตามขอใดเปนปจจัยสําคัญในการเสริมสรางอํานาจและบารมีของพระมหากษัตริย ในสมัยอยุธยา 1. การทําสงครามแผขยายราชอาณาจักร 2. การควบคุมขุนนางและราษฎรไวไดอยางใกลชิด 3. การสงเสริมพระราชประเพณีและพิธีการทางศาสนาตางๆ 4. การสรางสัมพันธฉันทเครือญาติกับประเทศเพื่อนบาน 4. ขอใดเปนรูปแบบการปกครองสวนภูมิภาค 1. หัวเมืองชั้นนอกในสมัยกรุงสุโขทัย 2. กรมเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยา 3. เมืองดุสิตธานีในสมัยกรุงรัตนโกสินทร 4. เมืองพัทยาในสมัยปจจุบัน 5. การปกครองในสมัยกรุงสุโขทัยกับสมัยกรุงศรีอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด 1. ลักษณะการปกครอง 2. อํานาจของผูปกครอง 3. ระบบการปกครอง 4. ศูนยกลางของอํานาจปกครอง 6. ขอใดเปนการจัดระเบียบการปกครองของไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร 1. เมืองพิษณุโลกอยูในบังคับบัญชาของสมุหกลาโหม 2. เมืองนครศรีธรรมราชอยูในบังคับบัญชาของสมุหนายก 3. เมืองโคราชอยูภายใตการบังคับบัญชาของสมุหเทศาภิบาล 4. เมืองจันทบุรีอยูภายใตการบังคับบัญชาของกรมทา 26 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 5. 7. แนวความคิดเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในสมัยตนรัตนโกสินทรแตกตางจากสมัยอยุธยาใน เรื่องใด 1. ระบบศักดินา 2. ฐานะของพระมหากษัตริย 3. การจัดระเบียบการปกครองสวนกลาง 4. การจัดระเบียบการปกครองสวนภูมิภาค 8. ขอใดไมใชลักษณะของเมืองลูกหลวงในสมัยสุโขทัย 1. เปนเมืองหนาดาน 2. มีขุนนางเปนเจาเมือง 3. อยูลอมรอบเมืองหลวงทั้ง 4 ทิศ 4. หางจากเมืองหลวงเดินดวยเทา 2 วัน 9. ขอใดไมใชสาระสําคัญของการปฏิรูปการปกครองสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 1. การดึงอํานาจเขาสูศูนยกลาง 2. การยกเลิกระบบเมืองลูกหลวง 3. การขยายเขตการปกครองของราชธานี 4. การแบงเขตการปกครองระหวางสมุหกลาโหมและสมุหนายก 10. พระมหากษัตริยไทยพระองคใดที่ทรงเริ่มนําหลักธรรมของพระพุทธศาสนามาเปนหลักสําคัญ ในการปกครอง 1. พอขุนรามคําแหงมหาราช 2. พระมหาธรรมราชาที่ 1 3. สมเด็จพระเจาทรงธรรม 4. สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ 11. การปกครองสมัยสุโขทัย และสมัยอยุธยา มีความแตกตางกันในเรื่องใด จากขอ 1 - 5 ตอไปนี้ 1. ระบบการเมือง 2. ฐานะของพระมหากษัตริย 3. ความสัมพันธของพระมหากษัตริยกับประชาชน 4. การปกครองเมืองประเทศราช 5. ศูนยกลางของอํานาจ 1. ขอ 1 และ 2 2. ขอ 2 และ 3 3. ขอ 3 และ 4 4. ขอ 4 และ 5 12. การปกครองในสมัยสุโขทัยกับอยุธยามีลักษณะที่เหมือนกันในเรื่องใด 1. สถานภาพของผูปกครอง 2. กฎหมายและกระบวนการยุตธรรม ิ 3. ศูนยกลางการใชอํานาจการปกครอง 4. ความสัมพันธระหวางผูปกครองกับประชาชน 27 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 6. การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครองสมัยรัตนโกสินทร การปฏิรูปการปกครองในสมัยรัชกาลที่ 5 ในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการปฏิรูปการปกครองครั้งใหญ (พ.ศ. 2435) ทั้งในสวนกลาง สวนภูมิ ภาคและสวนทองถิ่น 1. การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง การปฏิรูปการปกครองในสวนกลาง ยกเลิกจตุสดมภ สมุหนายก สมุหกลาโหม แบง ออกเปนกระทรวงตางๆ 12 กระทรวง แตละกระทรวงมีเสนาบดีเปนผูบังคับบัญชารับผิดชอบ 2. การปฏิรูปการปกครองสวนภูมิภาค จัดการปกครองแบบเทศาภิบาล ซึ่งประกอบดวย - มณฑลเทศาภิบาล แตละมณฑลมีขาหลวงเทศาภิบาลปกครอง - ในแตละมณฑลจะประกอบดวย เมือง อําเภอ ตําบล หมูบาน ตามลําดับ โดยกําหนด ใหราษฎรเลือกตั้งกํานัน และผูใหญบาน ซึ่งมีขึ้นครั้งแรกที่ ตําบลบานเกาะ อําเภอ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 3. การปฏิรูปการปกครองสวนทองถิ่น มีการจัดสุขาภิบาล เพื่อใหประชาชนไดมีสวนรวมในการบริหารทองถิ่นของตน ใน ดานการรักษาความสะอาด สุขาภิบาลแหงแรก คือ สุขาภิบาลกรุงเทพฯ สุขาภิบาลหัวเมืองแหงแรก คือ ตําบลทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร แนวคิดแบบประชาธิปไตยของไทย - ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ - เหตุการณ ร.ศ. 103 (พ.ศ.2427) คือ การที่เจานายและขุนนางทําหนังสือกราบทูลถวาย ร.5 พัฒนาการประชาธิปไตยของไทย - การปฏิรูปการปกครองของ ร.5 - กบฎ ร.ศ. 130 ร.6 - การจัดตั้งดุสิตธานี ร. 28 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 7. โครงสรางการปฏิรูปการปกครองสมัย ร.5 พระมหากษัตริย สวนกลาง สวนภูมิภาค สวนทองถิ่น เสนาบดี สภาที่ มณฑลเทศาภิบาล สุขาภิบาล กระทรวง ปรึกษา มีขาหลวง เกิดขึ้นครั้งแรกที่ มณฑลหรือ ทาฉลอม จังหวัด 12 กระทรวง รัฐมนตรีสภา องคมนตรีสภา สมุหเทศาภิบาล สมุทรสาคร ถือวา หนาที่ชวย (สภาที่ปรึกษา (สภาที่ปรึกษา เปนผูปกครอง เปนการปกครอง บริหาร ราชการแผนดิน) สวนพระองค) ขึ้นตรงตอพระ ทองถิ่นครั้งแรก ราชการ มหากษัตริย แผนดิน เจาเมืองเดิม ประกอบดวย ประกอบดวย ไมมีอํานาจ ขุนนางผูใหญ พระบรมวงศานุ 10 – 20 คน วงศช้นสูงหนาที่ ั ลักษณะรวม หนาที่ถวายคํา ถวายคําปรึกษา เมือง 4 – 5 ปรึกษาราชการ ราชการสวนพระ เมืองขึ้นเปน สวนพระองค องค 1 มณฑล การปรับปรุงระเบียบบริหารราชการในสมัยรัชกาลที่ 6 1. รวมมณฑลเปนภาค มีอปราชปกครอง ุ 2. เปลี่ยนการเรียกชื่อ เมือง เปน จังหวัด 3. ทรงวางพื้นฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย โดยตั้งดุสิตธานี การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และเหตุการณภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ในสมัยรัชกาลที่ 7 ไดเกิดเศรษฐกิจตกตํ่าทั่วโลก เนื่องมาจากสงครามโลกครั้งที่ 1 มีผล กระทบตอเศรษฐกิจและการเมืองของไทย จากการที่รัฐบาลแกไขปญหาเศรษฐกิจไมไดผล เปน สาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการปฏิวติเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยคณะราษฎร ซึ่งประกอบ ั ดวยทหารและพลเรือน มีพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาฝายทหาร และหลวง ประดิษฐมนูธรรม (นายปรีดี พนมยงค) เปนหัวหนาฝายพลเรือน ภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปก ครองการบริหารราชการแผนดินภายใตรัฐสภา ประชาชนมีสิทธิ และเสรีภาพ ตามกฎหมาย 29 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 8. ขอทดสอบ 1. ขอใดไมเกี่ยวของกับการปฏิรูปการปกครองประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 1. การจัดตั้งภาค 2. การจัดตั้งมณฑล 3. การจัดตั้งสุขาภิบาล 4. การจัดการเลือกตั้งกํานัน ผูใหญบาน 2. การปฏิรูปการปกครองในรัชกาลที่ 5 เกิดจากสาเหตุใดนอยที่สุด 1. ความเสื่อมของระบบมูลนายไพร 2. เหตุการณวุนวายภายในประเทศ 3. โครงสรางการปกครองเดิมลาสมัย 4. การคุกคามจากจักรวรรดินิยมตะวันตก 3. ระบบเทศาภิบาลในสมัยรัชกาลที่ 5 มีลักษณะสอดคลองกับการปกครองในขอใด 1. การปกครองทองที่ 2. การปกครองทองถิ่น 3. การปกครองสวนกลาง 4. การปกครองสวนภูมิภาค 4. กิจกรรมใดเปนการเริ่มวางรากฐานการปกครองแบบประชาธิปไตยในประเทศไทย 1. การจัดตั้งรัฐมนตรีสภา 2. การจัดตั้งสุขาภิบาล 3. การเลิกทาส 4. การจัดตั้งดุสิตธานี 5. ขอใดไมใชสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1. การตื่นตัวทางการเมืองของชนชั้นกลาง 2. พระบรมวงศานุวงศทรงไดรับการศึกษาสมัยใหมของประเทศในยุโรปมากขึ้น 3. วิธีการของรัฐบาลในการลดรายจายที่ไมจําเปนของประเทศเพื่อแกปญหาเศรษฐกิจ 4. เกิดการขัดแยงแตกแยกกันในดานความคิดเห็นเกี่ยวกับการปรับปรุงกองทัพระหวางกลุมผู มีอํานาจ 6. การเปลี่ยนแปลงการปกครองของไทย พ.ศ. 2475 โดยไมนองเลือดเปนเพราะเหตุใด 1. คณะราษฎรสามารถควบคุมกําลังอํานาจของกองทัพไดทั้งหมด 2. ประชาชนชาวไทยใหการสนับสนุนคณะราษฎร 3. รัชกาลที่ 7 มีพระราชดําริที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับประชาชน 4. ผูนําเห็นความเจริญจากการเปลี่ยนแปลงการปกครองของญี่ปุนในระบอบรัฐธรรมนูญ 7. การเมืองการปกครองของไทยในชวงระหวาง พ.ศ. 2480 - 2514 มีลักษณะเชนไร 1. ฝายการเมืองบริหารตามระบอบประชาธิปไตย 2. ฝายทหารมีบทบาทในระบบอํานาจนิยม 3. ขาราชการพลเรือนควบคุมการบริหารราชการ 4. กลุมนักธุรกิจการเมืองมีบทบาทบริหารประเทศ 30 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 9. 8. วิกฤตการณ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 กอใหเกิดผลดานการเมืองที่สําคัญหลายประการยกเวนขอใด 1. กลุมอาชีพตางๆ เคลื่อนไหวเรียกรองสิทธิประโยชนและเสรีภาพ  2. มีการเลือกตั้งรัฐบาลประชาธิปไตยตามที่ระบุในรัฐธรรมนูญใหม 3. ทําใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2517 4. ทหารและกองทัพลดบทบาทการเขามาเกี่ยวของกับการเมืองจนถึงปจจุบัน 9. รัฐบาลในขอใดมีลักษณะใกลเคียงกับรัฐบาลแบบอภิชนาธิปไตยมากที่สุด 1. รัฐบาล ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช พ.ศ. 2518 2. รัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ พ.ศ. 2531 3. รัฐบาล นายอานันท ปนยารชุน พ.ศ. 2534 4. รัฐบาล พลเอกสุจินดา คราประยูร พ.ศ. 2535 10. “บุญของแผนดินไทย พอหลวงบันดาลให ที่ในยุงฉางมีขาว นํ้ารินดินดีใดเลา ทุกขใดเหินไปบรรเทา ดวยพระบาท” ขอความนี้แสดงใหเห็นถึงฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริยวาเปนอยางไร 1. ธรรมราชา 2. เทวราชา 3. เจาชีวิต 4. เจาแผนดิน 11. พระมหากษัตริยพระองคแรกที่ทรงดื่มนํ้าพิพัฒนสัตยา และสาบานตนวา จะซื่อสัตยตอพสก นิกร คือ พระองคใด 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช 2. พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว 3. พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว 4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว 12. ขอใดไมใชสาเหตุสาคัญทีทาใหมการเปลียนแปลงการปกครองในประเทศไทยเปนระบอบ ํ ่ ํ ี ่ ประชาธิปไตยในป พ.ศ. 2475 1. ความเหลื่อมลํ้าในทางสังคมระหวางชนชั้นตางๆ 2. ความตกตํ่าทางเศรษฐกิจซึ่งทําใหประชาชนเดือดรอน 3. ความตองการใหประชาชนมีการศึกษาโดยเทาเทียมกัน 4. ความตื่นตัวทางการเมืองที่อยากใหมีการเปลี่ยนแปลง 13. สมานขอใหสมรอธิบายเหตุการณสําคัญที่แสดงถึงความตื่นตัวของนิสิตนักศึกษาในการเรียก รองประชาธิปไตย สมรจะเลือกเหตุการณใดมาอธิบาย 1 14 ตุลาคม 2516 2. 6 ตุลาคม 2519 3. 23 กุมภาพันธ 2534 4. 17 พฤษภาคม 2536 31 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต
  • 10. 14. การเคลื่อนไหวเพื่อเรียกรองประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 และรัชกาลที่ 6 ในขอใด มีรูปแบบคลายคลึงกับความเคลื่อนไหวในหมูนักคิดชาวยุโรปสมัยคริสตศตวรรษที่ 17 - 18 1. การรวมกลุมการเมืองภายใตชื่อ ยังเติรก 2. เทียนวรรณออกหนังสือพิมพเพื่อเสนอความคิดเห็นวิพากษวิจารณสังคม 3. การกอกบฎ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 4. คณะเจานายและขาราชการเสนอคํากราบทูลใหเปลี่ยนแปลงการปกครองใน ร.ศ. 130 15. หนาที่สําคัญขององคมนตรีสภาในสมัยรัชกาลที่ 5 คืออะไร 1. เปนที่ปรึกษาราชการแผนดิน 2. เปนผูพิจารณารางกฎหมาย 3. เปนที่ปรึกษาราชการสวนพระองค 4. เปนผูพิจารณาระเบียบราชการ 16. เหตุผลสําคัญในขอใดที่รัชกาลที่ 5 ทรงจัดการปฏิรูปการปกครองแผนดิน 1. มีจํานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น 2. ตองการเจริญเหมือนอารยธรรมตะวันตก 3. ที่ปรึกษาสวนพระองคถวายคําแนะนํา 4. เกรงภัยจากลัทธิจักรวรรดินิยม 17. ขอใดถือวาเปนจุดเริ่มตนสําคัญของการพัฒนาการเมืองไทย 1. การกราบบังคมทูลขอพระราชทานรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2427 2. การปฏิรูปการปกครองแผนดินสมัยรัชกาลที่ 5 3. ความพยายามเปลี่ยนแปลงการปกครอง ร.ศ. 130 4. การสราง “ดุสิตธานี” เพื่อทดลองการปกครองแบบประชาธิปไตย 18. แนวคิดเกี่ยวกับการมีรัฐธรรมนูญในสังคมไทย มีมาตั้งแตสมัยใด 1. รัชกาลที่ 3 2. รัชกาลที่ 4 3. รัชกาลที่ 5 4. รัชกาลที่ 6 19. การเสด็จประพาสยุโรปครั้งแรกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวเพื่ออะไร 1. ใหฝรั่งเศสคืนดินแดนที่ยึดไปจากไทยในเหตุการณ ร.ศ. 112 2. ใหอังกฤษและฝรั่งเศสยอมแกไขสนธิสัญญาบาวริง 3. ใหตางชาติยอมรับวาไทยมีเกียรติยศเสมอนานาอารยประเทศ 4. ใหตางชาติยอมรับวาไทยตองการรักษาความเปนกลาง 20. ความคิดเกี่ยวกับประชาธิปไตยของคนไทยเริ่มปรากฏอยางชัดเจนในขอใด 1. ขอเสนอในบทความของเทียนวรรณ 2. ขอคิดเห็นของอัศวพาหุและรามจิตติ 3. คํากราบบังคมทูลของเจานายและขาราชการ ร.ศ. 103 4. ขอเสนอของที่ปรึกษากระทรวงการตางประเทศ ชื่อ นายเรมอนด บี. สตีเวนส 32 สังคมศึกษา อ.อุษณีย ยุชยะทัต