SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 93
Descargar para leer sin conexión
1




                                       แบบเสนอผลงานทางวิชาการ
                โครงการ “Thailand Innovative Teachers Leadership Award 2013”
1. ชื่อผลงานทางวิชาการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
2. ผู้เสนอผลงานวิชาการ นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
     สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36
     โทรศัพท์มือถือ 08-9191-6321
     e-Mail saipinn@pil.in.th
              Wongsarat@yahoo.com
3. หลักการและเหตุผล
            พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช
2545 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม
และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาให้ยึดหลักการศึกษา
ตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 5 - 6) แนวการจัดการศึกษา ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ
เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน
สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และ
ความถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ
สถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เพื่อให้
ดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข (กรมวิชาการ. 2545 : 1) การจัดการเรียนรู้ที่
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทา
กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออก
อย่างชัดเจน และมีเหตุมีผล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ได้ฝึ กค้นคว้าแสวงหา
ความรู้ รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน
ปรับปรุงตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สาหรับครูผู้สอนต้องเรียนรู้การสอนทั้ง
เนื้อหาและเทคนิค วิธีการ จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ออกแบบการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก และคิดอย่างสร้างสรรค์ ใช้แหล่ง
เรียนรู้ที่หลากหลาย และเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง สังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่าง
ต่อเนื่อง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ .2543 : 29-31) เช่นเดียวกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้
ที่ว่า การจั ดการศึกษาต้องยึ ดหลั กว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒ นาตนเองได้ และถือว่าผู้ เรียน
แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
2

มีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และผู้จัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นา ผู้ถ่ายทอด
ความรู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่ งเสริม และสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
และให้ ข้อมูล ที่ถูกต้องแก่ผู้ เรี ย น เพื่อน าข้อมูล เหล่ านั้นไปใช้ส ร้างสรรค์ความรู้ของตน การจัดการเรียนรู้
ตามความต้องการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการผู้เรียนให้มี
ความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนา ความสามารถทางอารมณ์ โดยการ
ปลู ก ฝั ง ให้ ผู้ เ รี ย นเห็ น คุ ณ ค่ า ของตนเอง เข้ า ใจตนเอง เห็ น อกเห็ น ใจผู้ อื่ น สามารถแก้ ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง
ทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 21)
              ตามเจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปฏิรูปการเรียนการสอน” การเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติทาได้
คิดเป็น และทาเป็น การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนรู้ เช่นกระบวนการคิด
วิเคราะห์ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ศึกษา ทากิจกรรม ตามความถนัดและความต้องการ
ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้
              หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 มุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด สมรรถนะ
สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ ความสามารถในการแก้ปัญหา
และอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
              ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกคนสามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตได้ง่าย
ซึ่งมีผู้ใช้งานที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเข้าไปแบ่งปันความรู้และเลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด
เพื่อนาไปเผยแพร่ความรู้ที่ตัวเองต้องการสื่อสารและเสนอความคิดใหม่ๆได้โดยไม่ถูกปิดกั้น
              ผู้รายงานได้เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social
Media) สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี และบริบทของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงราย มีความ
พร้อมในการใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ จึงดาเนินการจัดการพัฒนาศักยภาพนักเรียน โดยส่งเสริม
การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้สามารถนาเครื่องมือออนไลน์มาประยุกต์ใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการ
เรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

4. แนวคิดหรือทฤษฎี(หลักการหรือแนวคิดที่สามารถอ้างอิงได้ที่นามาใช้ในการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
          พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียน
การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)และ
บริษัทแซส ซอฟท์แวร์(ไทยแลนด์)จากัดได้ดาเนิน“โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum
Pathways”
          การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 และการพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
3

หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
            มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
            มาตรา 23 การจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
การศึกษาในเรื่อง ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
            มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ดังนี้
            1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
            2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ
ป้องกันและแก้ไขปัญหา
            3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น และทาเป็น
รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง
            4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง
ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา
            5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย
ความสะดวกเพื่อ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ดการเรี ย นรู้ แ ละมี ความรอบรู้ รวมทั้ง สามารถใช้ ก ารวิจั ย เป็ น ส่ ว นหนึ่ งของ
กระบวนการเรียนรู้ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ
ประเภทต่าง ๆ
            6) จัดการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา
ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
            มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือ
ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ
ในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม
            มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้
ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ
            มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ในโอกาสแรกที่ทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้
ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต


แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
4

            มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและ
เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย
            มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและ
ประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
            วงจร PDCA วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart )เอด
วาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) “วงจรเด็มมิ่ง”
            สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย
Social Media″ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านนวัตกรรม
Social Media นามาเป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพนับเป็นกลยุทธ์
ที่สาคัญซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรทางการศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน เพราะปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง
กันในวงการศึกษาและโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย
ได้อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ดังนั้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เป็นการผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุค
ปัจจุบันและสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้
บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

5. วัตถุประสงค์
   5.1 เพื่อส่งเสริม พัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
YouTube, SlideShare, Scribd, Flickr, Twitter , Facebook และการใช้บทเรียน SAS Curriculum
Pathways
   5.2 เพื่อส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ของ นักเรียนได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ต
ด้านการเรียนรู้ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน
   5.3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้
   5.4 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
   5.5 เพื่อสามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
   5.6 เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
6. ระยะเวลา               การเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่และทุกโอกาส



แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
5

7. การจัดการเรียนรู้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
     7.1 มาตรฐานและตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
     7.2 เนื้อหาสาระตามหลักสูตร สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
     7.3 วิธีการจัดการเรียนรู้ กระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ (PDCA) ดังนี้
Plan (วางแผน)
         7.3.1 วิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน
         7.3.2 วิเคราะห์ วางแผน เขียน และนาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้และแผนการวัดประเมินผล
การเรียนรู้
                1) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในขอบข่ายโดยรวมของเนื้อหาวิชา
                2) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับหลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด
กิจกรรมการเรียนการสอน กฎเกณฑ์ในชั้นเรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผล
         7.3.3 วิเคราะห์วางแผนในการนาเสนอเนื้อหา และเครื่องมือการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ประกอบ
การจัดการเรียนรู้ ได้แก่ YouTube, SlideShare, Scribd, Flickr, Twitter , Facebook และ การใช้
บทเรียน SAS Curriculum Pathways
ด้านเนื้อหา เนื้อหา แยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดแนว
(ทั้งภาคเรียนและหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชา ระดับชั้น
ด้านการใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ความจาเป็นในการนาเครื่องมือ สื่อ นวัตกรรมมาใช้ประกอบการเรียนรู้
ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด

Do (ปฏิบัติตามแผน)
        7.3.4 แนะนารายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วัด การวัดและประเมินผล อภิปรายข้อเสนอแนะและข้อตกลง
ในการจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
        7.3.5 จั ด การเรี ย นรู้ ต ามแผนการจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ เ ทคนิ ค วิ ธี ก ารสอนที่ ห ลากหลายและ
การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
        7.3 6 จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
        7.3 7 อบรมพัฒนาครู บุคลาการทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน โดยใช้
เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้
ประโยชน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways


แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
6

         การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ด้วยบล็อก Wordpress และ
เครื่องมือต่างๆ ดังนี้
               1) http://saipinn.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ครูสายพิน วงษารัตน์
คือ Blog การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ ศาสนา ติว O-net โลกร่วมสมัย สังคมศึกษาชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 3 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลกร่วมสมัย เครื่องมือ Social Media ผลงานวิชาการ การ
จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ผลงานนักเรียน และการใช้บทเรียน Sas Curriculum pathways




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
7




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
8




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
9




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
10

              2) http://smedukrusaipin.wordpress.com/ SMEDUKRUSAIPIN WONGSARAT
คือ Blog การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ ผลงานนักเรียน การบริหารงานพัสดุ , ชุมนุม Social Media
,ครูในโครงการ , การจัดการเรียนรู้ครูสายพิน Sas Curriculum Pathways , กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม , วิชาประวัติศาสตร์ชั้น ม.1 , วิชาสังคมศึกษาชั้น ม.1 วิชาประวัติศาสตร์ชั้น ม.2
,วิชาเศรษฐศาสตร์ชั้น ม.6 , วิชาประวัติศาสตร์ไทยชั้น ม.6 และวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ชั้น ม.6




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
11

                   3) http://saipin2011.wordpress.com/ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                        รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 2




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
12

                   4) http://saipimm.wordpress.com/ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
                                      รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
13

                5) http://socialmor1.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
                                               รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
14

                                                       รายวิชาสังคมศึกษา




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
15




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
16

6) http://socialmor2.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
                                   รายวิชาประวัติศาสตร์




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
17

                   7) http://sixsocial.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
                                            รายวิชาสังคมศึกษา




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
18

                   8) http://61.7.229.102/kru_saipinn/wordpress/?page_id=273
                                   การจัดการเรียนรู้ อาเซียน (ASEAN)




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
19




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
20




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
21




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
22




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
23




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
24

                   9) http://www.sascurriculumpathways.com/portal/
                       การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
25




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
26

            10) http://www.thaigoodview.com/node/28493 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
27




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
28




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
29

                   11) http://articlesaipin.wordpress.com/ งานพัสดุ ครุภัณฑ์




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
30

                   12) http://saipin17.wordpress.com/ ชุมนุม Social Media




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
31




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
32

         7.3.8 การถ่ายทอดความรู้การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการจัดอบรม
ครู บุคลากรทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน หลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี
สื่อสังคม (Social Media) และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways จนเป็นที่ยอมรับในวงการทาง
การศึกษาที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน)
           7.3 9 หลังจาก การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ตามแผนการจัดการเรียนรู้
และแผนการวัดประเมินผลการเรียนรู้ โดยการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และโดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม (Social Media) ผู้เรียนสามารถศึกษาและเรียนรู้ รวมถึงภาระงานเพิ่มเติมได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และ
ทุกโอกาส ในรายวิชาที่ผู้เรียนได้เรียนแล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษา ความรู้เพิ่มเติมได้ในเนื้อหา สาระการ
เรียนรู้ที่สนใจ และดาเนินการวิจัยในชั้นเรียน (แบบอย่างง่าย) เพื่อจะได้รู้ถึงปัญหา อุปสรรคในระหว่างเรียน
           7.3 10 การตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
                 1) ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม
(Social Media) โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
                 2) ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สาหรับนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม
                 3) ตรวจสอบผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่ สาหรับ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
                 4) ตรวจสอบผลงานนักเรียนสาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) และ
การใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways
                   5) ตรวจสอบผลงานของครู บุคลากรทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียนและนอกโรงเรียน

Act (ปรับปรุงแก้ไข)
       7.3 11 ดาเนินการวิจัยในชั้นเรียน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
       7.3 12 การรายงานผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) รายงานผลการใช้
บทเรียน SAS Curriculum Pathways และรายงานผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาเซียน (ACEAN)
       7.3 13 การเผยแพร่ผลงานและการสร้างเครือข่าย แล้วดูข้อมูล การแสดงความคิดเห็นของผู้เข้าใช้
             1) http://thaismedu.com/wsite/2012/05/sm3-4/ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ
สอน (สทร.)
             2) http://www.facebook.com/PageThaiSmedu/ www.facebook.com

แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
33

                3) http://202.143.157.36/kmcsec36/ เว็บไซต์เพื่อการจัดการความรู้สาหรับ สพม. เขต36
การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)
                4) http://www.pcccr.ac.th/pccteacher/index.php/en โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย
เชียงราย
                5) www.Google ชื่อครูสายพิน วงษารัตน์
8. ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)
    8.1 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน
         8.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
                1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่ผู้รายงานได้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรีย นจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย โดยใช้ เทคนิค วิธีการเรียนรู้
ที่หลากหลาย และโดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ดังนี้
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาสังคมศึกษา
         ปีการศึกษา 2554
   ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
       4.00             3.85
รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย
    ปีการศึกษา 2554 (ม. 1/1)       ปีการศึกษา 2555 (1/1-1/4
   ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2             ภาคเรียนที่ 1
       3.98             3.98                   3.19

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รายวิชาสังคมศึกษา
  ระดับชั้น        ปีการศึกษา 2553
              ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
 ชั้น ม. 2/1      3.34          3.84
 ชั้น ม. 2/2      3.06          3.32
 ชั้น ม. 2/3      2.79          3.22
 ชั้น ม. 2/4      2.70          3.14
 ชั้น ม. 2/5      2.44          3.21
     167          2.87          3.35




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
34

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 2 รหัสวิชา ส 30109 (6/1) ส 33103 (6/2 - 6/4)
         ระดับชั้น           ปีการศึกษา 2554          ปีการศึกษา 2555
                                ภาคเรียนที่ 1           ภาคเรียนที่ 1
       ชั้น ม. 6/1                 4.00                     4.00
       ชั้น ม. 6/2                 4.00                     4.00
       ชั้น ม. 6/3                 4.00                     3.86
       ชั้น ม. 6/4                 4.00                     3.71
           รวม                     4.00                     3.88
รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส30106
        ระดับชั้น            ปีการศึกษา 2553          ปีการศึกษา 2554
                                ภาคเรียนที่ 2            ภาคเรียนที่ 2
      ชั้น ม. 6/1                  4.00                     4.00
      ชั้น ม. 6/2                  4.00                     4.00
      ชั้น ม. 6/3                  3.82                     4.00
      ชั้น ม. 6/4                  3.74                     4.00
                                   3.87                     4.00
สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553
                                                                                  จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                           เกรดเฉลี่ย
    รหัส        รายวิชาพื้นฐาน       น.ก.        ห้อง       4       3.5      3    2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
   ส22101      สังคมศึกษาฯ            0.5        2/1        9       10       10   5        -                         34      3.34
                                                 2/2        5        7       11   9       2                          34      3.06
                                                 2/3        3        2       13   10      6                          34      2.79
                                                 2/4        2        4       8    10      9                          33      2.70
                                                 2/5        -        1       8    9       14                         32      2.44
                                                 รวม        19      24       50   43      31                         167     2.87
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
                                                                                  จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                           เกรดเฉลี่ย
    รหัส        รายวิชาพื้นฐาน       น.ก.        ห้อง       4       3.5      3    2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
 ส22102        สังคมศึกษาฯ            1.0        2/1        23      11                                               34      3.84
                                                 2/2        4       15       14   1                                  34      3.32
                                                 2/3        6        9       15   2       2                          34      3.22
                                                 2/4        3       10       13   7                                  33      3.14
                                                 2/5        1       16       9    5                                  31      3.21
                                                 รวม        37      61       51   15      2                          166     3.35


แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
35

สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
                                                                                 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                          เกรดเฉลี่ย
    รหัส           รายวิชาพื้นฐาน             น.ก.    ห้อง   4      3.5      3   2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
 ส40106         ประวัติศาสตร์สมัยใหม่          1       6/1   23                                                     23      4.00
 ส43102                                                6/2   22                                                     22      4.00
                                                       6/3   20      6       2                                      28      3.82
                                                       6/4   22      7       3           1                          33      3.74
                                                       รวม   87     13       5   0       1       0      0 0 0   0   106     3.87


สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
                                                                                 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                          เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน         น.ก.         ห้อง    4      3.5      3   2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
  ส22101      สังคมศึกษาฯ 1             0.5          1/1     24                                                     24      4.00


                                                                                 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                          เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน         น.ก.         ห้อง    4      3.5      3   2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
  ส22103      ประวัติศาสตร์ไทย 1        0.5          1/1     23     1                                               24      3.98
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
                                                                                 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                          เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน         น.ก.         ห้อง    4      3.5      3   2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
  ส22102      สังคมศึกษาฯ 2             0.5          1/1     19      3       2                                      24      3.85


                                                                                 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                          เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน         น.ก.         ห้อง    4      3.5      3   2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส   รวม
  ส22106      ประวัติศาสตร์ไทย 2        0.5          1/1     23     1                                               24      3.98




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
36

สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
                                                                                     จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                                       เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน        น.ก.      ห้อง       4       3.5      3       2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส           รวม
  ส30109      ประวัติศาสตร์ไทย 2       0.5       6/1                                                                            23       4.00
  ส33103                                         6/2                                                                            35       4.00
                                                 6/3                                                                            34       4.00
                                                 6/4                                                                            35       4.00
                                                 รวม                                                                            127      4.00
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
                                                                                     จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                                       เกรดเฉลี่ย
    รหัส          รายวิชาพื้นฐาน        น.ก.      ห้อง      4       3.5      3       2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส           รวม
 ส40106       ประวัติศาสตร์สมัยใหม่       1       6/1                                                                                    4.00
 ส43102        ประวัติศาสตร์สมัยใหม่         1    6/2                                                                                    4.00
                                                  6/3                                                                                    4.00
                                                  6/4                                                                                    4.00
                                                  รวม                0       0       0       0       0      0 0 0         0              4.00


สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
                                                                                      จานวนนักเรียน/ผลการเรียน
                                                                                                                                        เกรดเฉลี่ย
   รหัส         รายวิชาพื้นฐาน         น.ก.      ห้อง       4       3.5      3       2.5     2      1.5     1     0   ร   ม.ส    รวม
  ส22103      ประวัติศาสตร์ไทย 1       0.5       1/1        17       2       1       1       3                                    24       3.60
                                                 1/2        6       2        5       4       6       1                           24        2.90
                                                 1/3        10       3       6               5                                   24        3.27
                                                 1/4        10      2            2   1       8                    1              24        2.98
                                                 รวม       43       9        14       6     22       1            1              96        3.19
สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555
                                                                                     จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน
                                                                                                                                       เกรดเฉลี่ย
    รหัส         รายวิชาพื้นฐาน        น.ก.      ห้อง       4       3.5      3       2.5     2       1.5    1 0 ร ม.ส           รวม
  ส30109      ประวัติศาสตร์ไทย 2       0.5       6/1        23                                                                  23       4.00
  ส33103      ประวัติศาสตร์ไทย 2       0.5       6/2        33                                                                  33       4.00
                                                 6/3        28       3       1               1                                  33       3.86
                                                 6/4        22      6            5           1                                  34       3.71
                                                 รวม       106       9       6               2                                  123      3.88
        ที่มา. งานวัด ประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย และ แบบบันทึก
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจารายวิชาที่ผู้รายงานได้รับผิดชอบสอน

แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
37

                 2) ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
         นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554
ตารางแสดง การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET)
สรุปค่าเฉลี่ย ดังนี้
ปีการศึกษา 2553
         ระดับโรงเรียน                ระดับเขตจังหวัด          ระดับเขตพื้นที่       ระดับประเทศ
              56.14                         40.98                  40.85                 40.85
 ปีการศึกษา 2554
         ระดับโรงเรียน                ระดับเขตจังหวัด          ระดับเขตพื้นที่       ระดับประเทศ
              52.30                         42.24                  42.88                 42.73

ระดับโรงเรียน
              ระดับชั้น                        ปีการศึกษา 2553                     ปีการศึกษา 2554
     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3                      56.14                              52.30
            สรุ ปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ
ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ
ตารางแสดง การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สรุปค่าเฉลี่ย
ดังนี้ ปีการศึกษา 2553
            ระดับโรงเรียน                  ระดับเขตจังหวัด         ระดับเขตพื้นที่       ระดับประเทศ
                 54.99                          46.81                   46.70               46.51
 ปีการศึกษา 2554
            ระดับโรงเรียน                  ระดับเขตจังหวัด         ระดับเขตพื้นที่       ระดับประเทศ
                41/19                           32.86                   33.40               33.39

ระดับโรงเรียน
              ระดับชั้น                       ปีการศึกษา 2553                     ปีการศึกษา 2554
     ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6                     54.99                              41.19
            สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ
ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ
        ที่มา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สทศ. และ สาเนาเกียรติบัตรผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET) สพม. เขต 36

แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
38

                  3) ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่ ของนักเรียน
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สังกัด สพม. เขต 36 ปีการศึกษา 2554
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สูงกว่า
ค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ
           สรุปค่าเฉลี่ย ดังนี้
           ระดับโรงเรียน                      ระดับเขตพื้นที่                 ระดับประเทศ
               18.63                              14.89                          14.67

          ที่มา ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่สังกัด สพม. เขต 36
ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

        8.1.2 นักเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้อง
กับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด
การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จาก
ประสบการณ์จริง
        8.1.3 นักเรียนสนใจในการเรียน ตั้งใจเรียนเพราะเป็นสื่อ นวัตกรรมที่ก้าวทันโลกในยุคปัจจุบัน
        8.1.4 นักเรียนได้พัฒนาทักษะศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน และใช้เครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้
ประโยชน์เพื่อการศึกษา
        8.1.5 นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้
        8.1.6 นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด ทา และการแก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตทางด้านการเรียนรู้
สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมก้าวเข้าสู่ อาเซียน
และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง
        8.1.7 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเองได้จากสื่อออนไลน์ และเครื่องมือ Social media
ต่างๆมากมาย
        8.1.8 นักเรียนสามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ได้หลากหลายวิธี การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ
สังคม
(Social Media) เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ผู้เรียน เรียนรู้ให้เกิดคุณภาพได้
         8.1.9 นักเรียนงมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทากิจกรรม
แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออกอย่าง
ชัดเจน และมีเหตุมีผ ล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้ว ยตนเอง ได้ฝึ กค้นคว้าแสวงหา
ความรู้ รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน
ปรับปรุงตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง


แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
39

         8.1.10 นักเรียนมีวิจารณญาณในการเลือกรับ และใช้ Social Media ในทางที่เป็นประโยชน์ในโลก
ยุคปัจจุบัน และแก้ปัญหาการใช้สื่อต่างๆ ในทางที่ไม่ถูกต้อง
         8.1.11 นักเรียนสามารถศึกษา เรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่และโอกาส
         8.1.12 ผลงานนักเรียนที่เกิดจาการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย การใช้บทเรียน SAS
Curriculum Pathways และ โดยใช้เทคโนโลยีสื่ อสังคม (Social Media) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชา เช่น CAI คลิป VDO Power Point
แผ่นพับ รูปภาพ และได้บันทึกผลงานนักเรียน ในแผ่น DVD โดยแยกตามระดับชั้น และรายวิชา
         ผลงานนักเรียนได้นาเสนอ เผยแพร่โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยผ่านเครื่องมือ
Social Media เช่น Blog wordpress.com , Facebook , slideshare , youtube , Flickr


(เอกสาร/หลักฐาน อ้างอิง.....ภาคผนวก)




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
40

รูปภาพ ตัวอย่างผลงานนักเรียนได้นาเสนอ เผยแพร่โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ดังนี้




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
41




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
42




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
43




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
44




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
45




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
46




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
47




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
48




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
49




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
50




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
51




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
52




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
53




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
54




แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)”
นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
Zhao Er
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
chatruedi
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Wuth Chokcharoen
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
maymymay
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
Nat Thida
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
Pew Juthiporn
 

La actualidad más candente (15)

project
projectproject
project
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...ชื่อผลงานวิจัย 	พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
ชื่อผลงานวิจัย พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะค...
 
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
วิจัยพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ และจ...
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
วิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษาวิจัยทางการศึกษา
วิจัยทางการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2Technology for leanong by math ed kku sec2
Technology for leanong by math ed kku sec2
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
20150902095637
2015090209563720150902095637
20150902095637
 
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
จิตวิทยาการเรียนรู้(1)
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้จิตรวิทยาการเรียนรู้
จิตรวิทยาการเรียนรู้
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 

Destacado

הכשרת המפקד הנמוך
הכשרת המפקד הנמוךהכשרת המפקד הנמוך
הכשרת המפקד הנמוך
haimkarel
 
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפהחטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
haimkarel
 
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
ZFConf Conference
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Marko Suomi
 

Destacado (20)

FPGA SDK For Nanoscale Architectures
FPGA SDK For Nanoscale ArchitecturesFPGA SDK For Nanoscale Architectures
FPGA SDK For Nanoscale Architectures
 
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยการเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทย
 
Invisible Public Debt (Presentation)
Invisible Public Debt (Presentation)Invisible Public Debt (Presentation)
Invisible Public Debt (Presentation)
 
הכשרת המפקד הנמוך
הכשרת המפקד הנמוךהכשרת המפקד הנמוך
הכשרת המפקד הנמוך
 
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפהחטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
חטיבת חיר בהתקדמות ורדיפה
 
Asp Net Architecture
Asp Net ArchitectureAsp Net Architecture
Asp Net Architecture
 
Boonmak
BoonmakBoonmak
Boonmak
 
Log
LogLog
Log
 
Guía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentosGuía para la gestión del uso de medicamentos
Guía para la gestión del uso de medicamentos
 
TEMA 3A ME GUSTAN and ME ENCANTAN
TEMA 3A ME GUSTAN and ME ENCANTANTEMA 3A ME GUSTAN and ME ENCANTAN
TEMA 3A ME GUSTAN and ME ENCANTAN
 
Borrador texto
Borrador textoBorrador texto
Borrador texto
 
China
ChinaChina
China
 
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
ความแตกต่างทางสังคมและวัฒนธรรมต่อการพัฒนาประเทศ
 
TEMA 5B SER vs ESTAR
TEMA 5B SER vs ESTARTEMA 5B SER vs ESTAR
TEMA 5B SER vs ESTAR
 
สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003สงครามครูเสด 2003
สงครามครูเสด 2003
 
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
ZFConf 2011: Создание REST-API для сторонних разработчиков и мобильных устрой...
 
μικρασιατική εκστρατεία
μικρασιατική εκστρατείαμικρασιατική εκστρατεία
μικρασιατική εκστρατεία
 
Cere tom neurologica
Cere tom neurologicaCere tom neurologica
Cere tom neurologica
 
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
Kahvakuulaurheilu goexpo2013-compressed2
 
Skovsgaard Small Target Selection With Gaze Alone
Skovsgaard Small Target Selection With Gaze AloneSkovsgaard Small Target Selection With Gaze Alone
Skovsgaard Small Target Selection With Gaze Alone
 

Similar a แบบนำเสนอผลงานวิชาการ

แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54
Oil Patamawadee
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
Natmol Thedsanabun
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
paewwaew
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
pompompam
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
Naparat Sriton
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Pari Za
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
Sawittri Phaisal
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Aa-bb Sangwut
 

Similar a แบบนำเสนอผลงานวิชาการ (20)

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แนวตอบ E 734 4 1 54
แนวตอบ  E 734 4 1 54แนวตอบ  E 734 4 1 54
แนวตอบ E 734 4 1 54
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
005
005005
005
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 

แบบนำเสนอผลงานวิชาการ

  • 1. 1 แบบเสนอผลงานทางวิชาการ โครงการ “Thailand Innovative Teachers Leadership Award 2013” 1. ชื่อผลงานทางวิชาการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 2. ผู้เสนอผลงานวิชาการ นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 โทรศัพท์มือถือ 08-9191-6321 e-Mail saipinn@pil.in.th Wongsarat@yahoo.com 3. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดการศึกษาให้ยึดหลักการศึกษา ตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2546 : 5 - 6) แนวการจัดการศึกษา ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถ เรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษา ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้องกับความสนใจ และ ความถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญ สถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง เพื่อให้ ดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า มีศักดิ์ศรี และมีความสุข (กรมวิชาการ. 2545 : 1) การจัดการเรียนรู้ที่ เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนต้องมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทา กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออก อย่างชัดเจน และมีเหตุมีผล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง ได้ฝึ กค้นคว้าแสวงหา ความรู้ รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง สาหรับครูผู้สอนต้องเรียนรู้การสอนทั้ง เนื้อหาและเทคนิค วิธีการ จัดสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ เสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสดงออก และคิดอย่างสร้างสรรค์ ใช้แหล่ง เรียนรู้ที่หลากหลาย และเชื่อมโยงประสบการณ์กับชีวิตจริง สังเกตและประเมินพัฒนาการของผู้เรียนอย่าง ต่อเนื่อง (สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ .2543 : 29-31) เช่นเดียวกับแนวคิดการจัดการเรียนรู้ ที่ว่า การจั ดการศึกษาต้องยึ ดหลั กว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒ นาตนเองได้ และถือว่าผู้ เรียน แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 2. 2 มีความสาคัญที่สุด ฉะนั้นครูผู้สอน และผู้จัดการศึกษาต้องเปลี่ยนแปลงบทบาทจากการเป็นผู้ชี้นา ผู้ถ่ายทอด ความรู้ไปเป็นผู้ช่วยเหลือส่ งเสริม และสนับสนุนผู้เรียนในการแสวงหาความรู้จากสื่อ และแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และให้ ข้อมูล ที่ถูกต้องแก่ผู้ เรี ย น เพื่อน าข้อมูล เหล่ านั้นไปใช้ส ร้างสรรค์ความรู้ของตน การจัดการเรียนรู้ ตามความต้องการของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะมุ่งปลูกฝังด้านปัญญา พัฒนาการผู้เรียนให้มี ความสามารถ ในการคิดสร้างสรรค์คิดอย่างมีวิจารณญาณแล้ว ยังมุ่งพัฒนา ความสามารถทางอารมณ์ โดยการ ปลู ก ฝั ง ให้ ผู้ เ รี ย นเห็ น คุ ณ ค่ า ของตนเอง เข้ า ใจตนเอง เห็ น อกเห็ น ใจผู้ อื่ น สามารถแก้ ปั ญ หาข้ อ ขั ด แย้ ง ทางอารมณ์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม(กระทรวงศึกษาธิการ.2545 : 21) ตามเจตนารมณ์กระทรวงศึกษาธิการ ได้มีการปฏิรูปการเรียนการสอน” การเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติทาได้ คิดเป็น และทาเป็น การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ ผู้เรียนฝึกทักษะการเรียนรู้ เช่นกระบวนการคิด วิเคราะห์ ทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เรียนได้ศึกษา ทากิจกรรม ตามความถนัดและความต้องการ ผู้เรียนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้ หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 มุ่ ง ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด สมรรถนะ สาคัญ 5 ประการ ได้แก่ความสามารถในการสื่อสาร ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ ความสามารถในการแก้ปัญหา และอุปสรรคต่าง ๆ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต และความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วทุกคนสามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตได้ง่าย ซึ่งมีผู้ใช้งานที่มีจานวนเพิ่มมากขึ้นทุกวัน ทุกคนมีอิสระที่จะเข้าไปแบ่งปันความรู้และเลือกเครื่องมือที่ดีที่สุด เพื่อนาไปเผยแพร่ความรู้ที่ตัวเองต้องการสื่อสารและเสนอความคิดใหม่ๆได้โดยไม่ถูกปิดกั้น ผู้รายงานได้เล็งเห็นความสาคัญในการพัฒนา การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สามารถเข้าถึงเทคโนโลยี และบริบทของโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงราย มีความ พร้อมในการใช้เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ จึงดาเนินการจัดการพัฒนาศักยภาพนักเรียน โดยส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ส่งเสริมสนับสนุนให้สามารถนาเครื่องมือออนไลน์มาประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนรู้ได้อย่างเป็นรูปธรรม ก่อให้เกิดประโยชน์แก่การศึกษา และเกิดระบบ Community แห่งการ เรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 4. แนวคิดหรือทฤษฎี(หลักการหรือแนวคิดที่สามารถอ้างอิงได้ที่นามาใช้ในการ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) พระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ร่วมกับ สถาบันส่งเสริมการเรียน การสอนวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)และ บริษัทแซส ซอฟท์แวร์(ไทยแลนด์)จากัดได้ดาเนิน“โครงการส่งเสริมการใช้บทเรียนออนไลน์ SAS Curriculum Pathways” การพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545 และการพัฒนาตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 3. 3 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ มาตรา 23 การจัดการศึกษาทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ การศึกษาในเรื่อง ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ดังนี้ 1) จัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียนโดยคานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล 2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อ ป้องกันและแก้ไขปัญหา 3) จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทาได้ คิดเป็น และทาเป็น รักการอ่านและเกิดการใฝ่รู้อย่างต่อเนื่อง 4) จัดการเรียนการสอนโดยผสมผสานสาระความรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนสมดุลกัน รวมทั้ง ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา 5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอานวย ความสะดวกเพื่อ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ดการเรี ย นรู้ แ ละมี ความรอบรู้ รวมทั้ง สามารถใช้ ก ารวิจั ย เป็ น ส่ ว นหนึ่ งของ กระบวนการเรียนรู้ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการ ประเภทต่าง ๆ 6) จัดการเรียนรู้ ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่ มีการประสานความร่วมมือกับบิดามารดา ผู้ปกครอง และบุคคลในชุมชนทุกฝ่าย เพื่อร่วมกันพัฒนาผู้เรียนตามศักยภาพ หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตารา หนังสือ ทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัดพัฒนาขีดความสามารถ ในการผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการแข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการผลิต รวมทั้งการใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 66 ผู้เรียนมีสิทธิได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในโอกาสแรกที่ทาได้ เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 4. 4 มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและ เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทาหน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริมและ ประสานการวิจัย การพัฒนาและการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิตและการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา วงจร PDCA วงจรที่พัฒนามาจากวงจรที่คิดค้นโดยวอล์ทเตอร์ ซิวฮาร์ท(Walter Shewhart )เอด วาร์ด เดมมิ่ง (W.Edwards Deming) “วงจรเด็มมิ่ง” สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการสอน (สทร.) ได้จัดทาโครงการ “ก้าวใหม่ของครูไทย ก้าวไกลด้วย Social Media″ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาบุคลากรครูให้มีความรู้ ความสามารถทางด้านนวัตกรรม Social Media นามาเป็นช่องทางในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพนับเป็นกลยุทธ์ ที่สาคัญซึ่งจาเป็นอย่างยิ่งที่องค์กรทางการศึกษาควรส่งเสริม สนับสนุน เพราะปัจจุบัน การจัดการเรียนรู้โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ได้กลายเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการสร้างสื่อให้เกิดเป็นเครือข่ายเชื่อมโยง กันในวงการศึกษาและโลกออนไลน์ ที่เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถใช้เป็นช่องทางในการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย ได้อย่างง่ายและสะดวกรวดเร็ว ซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์อย่างมาก ดังนั้น การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) มาใช้เป็นเครื่องมือในการจัดการเรียนรู้เป็นการผลักดันนักเรียนให้ก้าวทันโลกยุค ปัจจุบันและสามารถเข้าถึงเยาวชนยุคใหม่อย่างทันท่วงที ซึ่งจะทาให้เกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 5. วัตถุประสงค์ 5.1 เพื่อส่งเสริม พัฒนาทักษะ ศักยภาพการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ YouTube, SlideShare, Scribd, Flickr, Twitter , Facebook และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways 5.2 เพื่อส่งเสริมศักยภาพการเรียนรู้ของ นักเรียนได้ฝึก คิด ทา แก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ต ด้านการเรียนรู้ และฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมการก้าวเข้าสู่ อาเซียน 5.3 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้ 5.4 เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนโรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 5.5 เพื่อสามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 5.6 เพื่อประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 6. ระยะเวลา การเรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่และทุกโอกาส แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 5. 5 7. การจัดการเรียนรู้ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 7.1 มาตรฐานและตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7.2 เนื้อหาสาระตามหลักสูตร สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 7.3 วิธีการจัดการเรียนรู้ กระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ (PDCA) ดังนี้ Plan (วางแผน) 7.3.1 วิเคราะห์วิธีการเรียนรู้ของนักเรียน 7.3.2 วิเคราะห์ วางแผน เขียน และนาเสนอแผนการจัดการเรียนรู้และแผนการวัดประเมินผล การเรียนรู้ 1) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจในขอบข่ายโดยรวมของเนื้อหาวิชา 2) เพื่อให้นักเรียนมีความเข้าใจตรงกัน เกี่ยวกับหลักสูตร มาตรฐาน ตัวชี้วัด กิจกรรมการเรียนการสอน กฎเกณฑ์ในชั้นเรียน เกณฑ์การวัดและประเมินผล 7.3.3 วิเคราะห์วางแผนในการนาเสนอเนื้อหา และเครื่องมือการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ประโยชน์ ประกอบ การจัดการเรียนรู้ ได้แก่ YouTube, SlideShare, Scribd, Flickr, Twitter , Facebook และ การใช้ บทเรียน SAS Curriculum Pathways ด้านเนื้อหา เนื้อหา แยกเป็นส่วนๆให้เห็นภาพการวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดแนว (ทั้งภาคเรียนและหน่วยการเรียนรู้) และเนื้อหาสาระที่เป็นปัจจุบัน ตามสภาพวิชา ระดับชั้น ด้านการใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ความจาเป็นในการนาเครื่องมือ สื่อ นวัตกรรมมาใช้ประกอบการเรียนรู้ ด้านการมีปฏิสัมพันธ์ นักเรียนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และครูผู้สอนสร้างเครือข่ายความคิด Do (ปฏิบัติตามแผน) 7.3.4 แนะนารายวิชา มาตรฐาน ตัวชี้วัด การวัดและประเมินผล อภิปรายข้อเสนอแนะและข้อตกลง ในการจัดการเรียนการสอน กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 7.3.5 จั ด การเรี ย นรู้ ต ามแผนการจั ด การเรี ย นรู้ โดยใช้ เ ทคนิ ค วิ ธี ก ารสอนที่ ห ลากหลายและ การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 7.3 6 จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม กลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 7.3 7 อบรมพัฒนาครู บุคลาการทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียน และภายนอกโรงเรียน โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการสร้าง Blog Wordpress การนาเครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ ประโยชน์ประกอบการจัดการเรียนรู้ และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 6. 6 การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ด้วยบล็อก Wordpress และ เครื่องมือต่างๆ ดังนี้ 1) http://saipinn.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ครูสายพิน วงษารัตน์ คือ Blog การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย ได้แก่ ศาสนา ติว O-net โลกร่วมสมัย สังคมศึกษาชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ โลกร่วมสมัย เครื่องมือ Social Media ผลงานวิชาการ การ จัดการเรียนรู้แบบโครงงาน ผลงานนักเรียน และการใช้บทเรียน Sas Curriculum pathways แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 7. 7 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 8. 8 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 9. 9 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 10. 10 2) http://smedukrusaipin.wordpress.com/ SMEDUKRUSAIPIN WONGSARAT คือ Blog การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้แก่ ผลงานนักเรียน การบริหารงานพัสดุ , ชุมนุม Social Media ,ครูในโครงการ , การจัดการเรียนรู้ครูสายพิน Sas Curriculum Pathways , กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม , วิชาประวัติศาสตร์ชั้น ม.1 , วิชาสังคมศึกษาชั้น ม.1 วิชาประวัติศาสตร์ชั้น ม.2 ,วิชาเศรษฐศาสตร์ชั้น ม.6 , วิชาประวัติศาสตร์ไทยชั้น ม.6 และวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ชั้น ม.6 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 11. 11 3) http://saipin2011.wordpress.com/ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 2 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 12. 12 4) http://saipimm.wordpress.com/ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 13. 13 5) http://socialmor1.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 14. 14 รายวิชาสังคมศึกษา แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 15. 15 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 16. 16 6) http://socialmor2.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาประวัติศาสตร์ แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 17. 17 7) http://sixsocial.wordpress.com/ การจัดการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาสังคมศึกษา แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 18. 18 8) http://61.7.229.102/kru_saipinn/wordpress/?page_id=273 การจัดการเรียนรู้ อาเซียน (ASEAN) แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 19. 19 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 20. 20 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 21. 21 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 22. 22 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 23. 23 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 24. 24 9) http://www.sascurriculumpathways.com/portal/ การจัดการเรียนรู้โดยใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 25. 25 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 26. 26 10) http://www.thaigoodview.com/node/28493 การจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 27. 27 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 28. 28 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 29. 29 11) http://articlesaipin.wordpress.com/ งานพัสดุ ครุภัณฑ์ แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 30. 30 12) http://saipin17.wordpress.com/ ชุมนุม Social Media แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 31. 31 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 32. 32 7.3.8 การถ่ายทอดความรู้การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยการจัดอบรม ครู บุคลากรทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน หลักสูตรการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี สื่อสังคม (Social Media) และการใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways จนเป็นที่ยอมรับในวงการทาง การศึกษาที่เป็นประโยชน์ทางการศึกษาและเกิดระบบ Community แห่งการเรียนรู้บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต Check (ตรวจสอบการปฏิบัติตามแผน) 7.3 9 หลังจาก การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ตามแผนการจัดการเรียนรู้ และแผนการวัดประเมินผลการเรียนรู้ โดยการใช้วิธีการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และโดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) ผู้เรียนสามารถศึกษาและเรียนรู้ รวมถึงภาระงานเพิ่มเติมได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ และ ทุกโอกาส ในรายวิชาที่ผู้เรียนได้เรียนแล้ว ผู้เรียนยังสามารถศึกษา ความรู้เพิ่มเติมได้ในเนื้อหา สาระการ เรียนรู้ที่สนใจ และดาเนินการวิจัยในชั้นเรียน (แบบอย่างง่าย) เพื่อจะได้รู้ถึงปัญหา อุปสรรคในระหว่างเรียน 7.3 10 การตรวจสอบผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 1) ตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน สาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 2) ตรวจสอบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สาหรับนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 3) ตรวจสอบผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่ สาหรับ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 4) ตรวจสอบผลงานนักเรียนสาหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่จัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) และ การใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways 5) ตรวจสอบผลงานของครู บุคลากรทางการศึกษาทั้งภายในโรงเรียนและนอกโรงเรียน Act (ปรับปรุงแก้ไข) 7.3 11 ดาเนินการวิจัยในชั้นเรียน การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 7.3 12 การรายงานผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) รายงานผลการใช้ บทเรียน SAS Curriculum Pathways และรายงานผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาเซียน (ACEAN) 7.3 13 การเผยแพร่ผลงานและการสร้างเครือข่าย แล้วดูข้อมูล การแสดงความคิดเห็นของผู้เข้าใช้ 1) http://thaismedu.com/wsite/2012/05/sm3-4/ สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรียนการ สอน (สทร.) 2) http://www.facebook.com/PageThaiSmedu/ www.facebook.com แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 33. 33 3) http://202.143.157.36/kmcsec36/ เว็บไซต์เพื่อการจัดการความรู้สาหรับ สพม. เขต36 การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) 4) http://www.pcccr.ac.th/pccteacher/index.php/en โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย 5) www.Google ชื่อครูสายพิน วงษารัตน์ 8. ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) 8.1 ผลที่เกิดขึ้นกับนักเรียน 8.1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชาที่ผู้รายงานได้รับผิดชอบในการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรีย นจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย โดยใช้ เทคนิค วิธีการเรียนรู้ ที่หลากหลาย และโดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ดังนี้ การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพื่อการพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 รายวิชาสังคมศึกษา ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 4.00 3.85 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย ปีการศึกษา 2554 (ม. 1/1) ปีการศึกษา 2555 (1/1-1/4 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 3.98 3.98 3.19 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 รายวิชาสังคมศึกษา ระดับชั้น ปีการศึกษา 2553 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ชั้น ม. 2/1 3.34 3.84 ชั้น ม. 2/2 3.06 3.32 ชั้น ม. 2/3 2.79 3.22 ชั้น ม. 2/4 2.70 3.14 ชั้น ม. 2/5 2.44 3.21 167 2.87 3.35 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 34. 34 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 รายวิชาประวัติศาสตร์ไทย 2 รหัสวิชา ส 30109 (6/1) ส 33103 (6/2 - 6/4) ระดับชั้น ปีการศึกษา 2554 ปีการศึกษา 2555 ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ชั้น ม. 6/1 4.00 4.00 ชั้น ม. 6/2 4.00 4.00 ชั้น ม. 6/3 4.00 3.86 ชั้น ม. 6/4 4.00 3.71 รวม 4.00 3.88 รายวิชาประวัติศาสตร์สมัยใหม่ รหัสวิชา ส30106 ระดับชั้น ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 ภาคเรียนที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ชั้น ม. 6/1 4.00 4.00 ชั้น ม. 6/2 4.00 4.00 ชั้น ม. 6/3 3.82 4.00 ชั้น ม. 6/4 3.74 4.00 3.87 4.00 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22101 สังคมศึกษาฯ 0.5 2/1 9 10 10 5 - 34 3.34 2/2 5 7 11 9 2 34 3.06 2/3 3 2 13 10 6 34 2.79 2/4 2 4 8 10 9 33 2.70 2/5 - 1 8 9 14 32 2.44 รวม 19 24 50 43 31 167 2.87 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22102 สังคมศึกษาฯ 1.0 2/1 23 11 34 3.84 2/2 4 15 14 1 34 3.32 2/3 6 9 15 2 2 34 3.22 2/4 3 10 13 7 33 3.14 2/5 1 16 9 5 31 3.21 รวม 37 61 51 15 2 166 3.35 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 35. 35 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส40106 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 1 6/1 23 23 4.00 ส43102 6/2 22 22 4.00 6/3 20 6 2 28 3.82 6/4 22 7 3 1 33 3.74 รวม 87 13 5 0 1 0 0 0 0 0 106 3.87 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22101 สังคมศึกษาฯ 1 0.5 1/1 24 24 4.00 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22103 ประวัติศาสตร์ไทย 1 0.5 1/1 23 1 24 3.98 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22102 สังคมศึกษาฯ 2 0.5 1/1 19 3 2 24 3.85 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22106 ประวัติศาสตร์ไทย 2 0.5 1/1 23 1 24 3.98 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 36. 36 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส30109 ประวัติศาสตร์ไทย 2 0.5 6/1 23 4.00 ส33103 6/2 35 4.00 6/3 34 4.00 6/4 35 4.00 รวม 127 4.00 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส40106 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 1 6/1 4.00 ส43102 ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ 1 6/2 4.00 6/3 4.00 6/4 4.00 รวม 0 0 0 0 0 0 0 0 0 4.00 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวนนักเรียน/ผลการเรียน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส22103 ประวัติศาสตร์ไทย 1 0.5 1/1 17 2 1 1 3 24 3.60 1/2 6 2 5 4 6 1 24 2.90 1/3 10 3 6 5 24 3.27 1/4 10 2 2 1 8 1 24 2.98 รวม 43 9 14 6 22 1 1 96 3.19 สรุปผลกผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จานวนนักเรี ยน/ผลการเรี ยน เกรดเฉลี่ย รหัส รายวิชาพื้นฐาน น.ก. ห้อง 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 ร ม.ส รวม ส30109 ประวัติศาสตร์ไทย 2 0.5 6/1 23 23 4.00 ส33103 ประวัติศาสตร์ไทย 2 0.5 6/2 33 33 4.00 6/3 28 3 1 1 33 3.86 6/4 22 6 5 1 34 3.71 รวม 106 9 6 2 123 3.88 ที่มา. งานวัด ประเมินผลการเรียนรู้ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย และ แบบบันทึก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนประจารายวิชาที่ผู้รายงานได้รับผิดชอบสอน แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 37. 37 2) ผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 ตารางแสดง การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สรุปค่าเฉลี่ย ดังนี้ ปีการศึกษา 2553 ระดับโรงเรียน ระดับเขตจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ 56.14 40.98 40.85 40.85 ปีการศึกษา 2554 ระดับโรงเรียน ระดับเขตจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ 52.30 42.24 42.88 42.73 ระดับโรงเรียน ระดับชั้น ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 56.14 52.30 สรุ ปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย ระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ ตารางแสดง การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สรุปค่าเฉลี่ย ดังนี้ ปีการศึกษา 2553 ระดับโรงเรียน ระดับเขตจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ 54.99 46.81 46.70 46.51 ปีการศึกษา 2554 ระดับโรงเรียน ระดับเขตจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ 41/19 32.86 33.40 33.39 ระดับโรงเรียน ระดับชั้น ปีการศึกษา 2553 ปีการศึกษา 2554 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 54.99 41.19 สรุปผล การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2553 และปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม และ ทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ สูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ ที่มา ผลการทดสอบระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สทศ. และ สาเนาเกียรติบัตรผลการทดสอบทาง การศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน O-NET) สพม. เขต 36 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 38. 38 3) ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่ ของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สังกัด สพม. เขต 36 ปีการศึกษา 2554 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย สูงกว่า ค่าเฉลี่ยระดับจังหวัด สังกัดเขตพื้นที่ สพม.เขต 36 และระดับประเทศ สรุปค่าเฉลี่ย ดังนี้ ระดับโรงเรียน ระดับเขตพื้นที่ ระดับประเทศ 18.63 14.89 14.67 ที่มา ผลการประเมินคุณภาพทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน (LAS) ระดับเขตพื้นที่สังกัด สพม. เขต 36 ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 8.1.2 นักเรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและศักยภาพ โดยจัดเนื้อหาและกิจกรรม ให้สอดคล้อง กับความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ การประยุกต์ความรู้มาใช้ ในการป้องกัน แก้ปัญหา และเรียนรู้จาก ประสบการณ์จริง 8.1.3 นักเรียนสนใจในการเรียน ตั้งใจเรียนเพราะเป็นสื่อ นวัตกรรมที่ก้าวทันโลกในยุคปัจจุบัน 8.1.4 นักเรียนได้พัฒนาทักษะศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน และใช้เครื่องมือออนไลน์ต่างๆ มาใช้ ประโยชน์เพื่อการศึกษา 8.1.5 นักเรียนสามารถเชื่อมโยงองค์ความรู้บนอินเทอร์เน็ตในการจัดการเรียนรู้ 8.1.6 นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิด ทา และการแก้ปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตทางด้านการเรียนรู้ สามารถนาไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ ฝึกทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมก้าวเข้าสู่ อาเซียน และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง 8.1.7 นักเรียนสามารถค้นคว้าหาความรู้ด้วยตัวเองได้จากสื่อออนไลน์ และเครื่องมือ Social media ต่างๆมากมาย 8.1.8 นักเรียนสามารถเลือกวิธีการเรียนรู้ได้หลากหลายวิธี การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อ สังคม (Social Media) เป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่ผู้เรียน เรียนรู้ให้เกิดคุณภาพได้ 8.1.9 นักเรียนงมีประสบการณ์ตรง ฝึกปฏิบัติจนค้นพบความถนัด และวิธีการของตนเอง ทากิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการ ตลอดจนได้แสดงออกอย่าง ชัดเจน และมีเหตุมีผ ล ได้รับการเสริมแรงให้ค้นหาคาตอบ แก้ปัญหาได้ด้ว ยตนเอง ได้ฝึ กค้นคว้าแสวงหา ความรู้ รวบรวมข้อมูลและสร้างสรรค์ความรู้ ฝึกตนเองให้มีวินัย และรับผิดชอบในการทางาน ฝึกประเมิน ปรับปรุงตนเองยอมรับผู้อื่น ตลอดจนสนใจใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่อง แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 39. 39 8.1.10 นักเรียนมีวิจารณญาณในการเลือกรับ และใช้ Social Media ในทางที่เป็นประโยชน์ในโลก ยุคปัจจุบัน และแก้ปัญหาการใช้สื่อต่างๆ ในทางที่ไม่ถูกต้อง 8.1.11 นักเรียนสามารถศึกษา เรียนรู้ได้ทุกเวลา ทุกสถานที่และโอกาส 8.1.12 ผลงานนักเรียนที่เกิดจาการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ที่หลากหลาย การใช้บทเรียน SAS Curriculum Pathways และ โดยใช้เทคโนโลยีสื่ อสังคม (Social Media) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในรายวิชา เช่น CAI คลิป VDO Power Point แผ่นพับ รูปภาพ และได้บันทึกผลงานนักเรียน ในแผ่น DVD โดยแยกตามระดับชั้น และรายวิชา ผลงานนักเรียนได้นาเสนอ เผยแพร่โดยใช้ เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) โดยผ่านเครื่องมือ Social Media เช่น Blog wordpress.com , Facebook , slideshare , youtube , Flickr (เอกสาร/หลักฐาน อ้างอิง.....ภาคผนวก) แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 40. 40 รูปภาพ ตัวอย่างผลงานนักเรียนได้นาเสนอ เผยแพร่โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media) ดังนี้ แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 41. 41 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 42. 42 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 43. 43 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 44. 44 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 45. 45 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 46. 46 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 47. 47 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 48. 48 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 49. 49 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 50. 50 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 51. 51 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 52. 52 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 53. 53 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย
  • 54. 54 แบบเสนอผลงานวิชาการ “การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีสื่อสังคม (Social Media)” นางสายพิน วงษารัตน์ โรงเรียนจุฬาภรณราชวิทยาลัย เชียงราย