SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 16
Descargar para leer sin conexión
จัดทำโดย
นำยจิรำยุส เจนใจ              ม.6/3   เลขที่ 3
นำยเจษฎำ นันไชยวงศ์           ม.6/3   เลขที่ 4
นำยถวิพัฒน์ สุภำษิต           ม.6/3   เลขที่ 5
นำยพัชรดนย์ มำกอยู่           ม.6/3   เลขที่ 7
นำยสุทธิสิทธิ์ บัณฑิตชูสกุล   ม.6/3   เลขที่ 12
สงครำมกัมพูชำ
        เกิดขึ้นหลังจากกัมพูชาได้เอกราชในปี 1975 และได้นาเอาการ
ปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาใช้ภายใต้การปกครองของกลุ่มบุคคลที่เรียกว่า
เขมรแดง ต่อมาเวียดนามได้ส่งทหารจานวนมากเข้ายึดครองกัมพูชาทาให้
เกิดสงคราม
สำเหตุของสงครำมกัมพูชำ
สำเหตุของสงครำมกัมพูชำยังมีหลำกหลำยสำเหตุที่ผสมผสำนกันเข้ำจน
ทำให้เกิดสงครำมกัมพูชำ
        1.ปัญหาความเกลียดชังระหว่างเชื้อชาติระหว่างกัมพูชาและ
เวียดนามซึ่งมีมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน
2.ความขัดแย้งในแนวชายแดนระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม ใน
บริเวณที่เรียกว่า ดินแดนจงอยปากนกแก้ว (Parrot‘s Beak) ซึ่งกัมพูชาอ้าง
เสมอว่าเวียดนามได้บุกรุกเข้ามาตลอดเวลา ความขัดแย้งนี้ทาให้เขมรแดงยิง
ปืนใหญ่เข้าไปในเขตเศรษฐกิจใหม่ของเวียดนาม จนกลายเป็นความขัดแย้ง
และตอบโต้กันด้วยความรุนแรง ทาให้เวียดนามต้องส่งทหารเข้ามาในกัมพูชา
3.นโยบายรัฐบาลเขมรแดงทีทารุนแรงกับคนกัมพูชา (จนเกิดกรณีทุ่ง
                                     ่
สังหาร) ในปี 1977 ทาให้ผู้นาที่อยู่ในเขมรแดงด้วยกันไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะ
เฮงสัมริน และฮุนเซน ทั้ง 2 คนจึงหนีออกนอกประเทศและไปเชิญให้
เวียดนามเข้ามาบุกยึดกัมพูชา และทั้ง 2 คนก็กลายเป็นรัฐบาลหุ่นของ
เวียดนามในกัมพูชา
         4.การสนับสนุนเวียดนามของสหภาพโซเวียต
สงครำมกัมพูชำเป็นควำมขัดแย้ง 3 ระดับ
        1.เป็นสงครามกลางเมืองที่คนในชาติเดียวกันจับอาวุธเข้าทาสงคราม
กัน แบ่งออกเป็น
        -ฝ่ายรัฐบาลฮุนเซนและเฮงสัมรินที่เวียดนามแต่งตั้งขึ้น
        -ฝ่ายต่อต้านฮุนเซ็น คือเขมร 3 ฝ่าย ที่ประกอบด้วยเขมรแดง ฝ่าย
เจ้านโรดมสีหนุ (ฟุนซินเปก) และฝ่ายซอนซาน
2.เป็นความขัดแย้งระหว่าง 2 กลุ่มรัฐที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน คือ
ระหว่างกลุ่มรัฐในอินโดจีนและกลุ่มรัฐในอาเซียนในอาเซียนนั้นมีไทยเป็นผู้
ประสานงานให้อาเซียนมีบทบาทในการแก้ปัญหากัมพูชา เนื่องจากไทยได้รับ
ผลกระทบจากสงครามครั้งนี้มากที่สุด และอาเซียนเป็นผู้สนับสนุนเขมร 3
ฝ่ายและต่อต้านเวียดนามและฝ่ายเฮงสัมรินและฮุนเซน
        3.ความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจของโลก 2 ประเทศคือจีนและ
สหภาพโซเวียต ทาให้สงครามกัมพูชาเป็นสงครามตัวแทนของจีนและโซเวียต
ด้วย โดยโซเวียตหนุนหลังเวียดนามและรัฐบาลฮุนเซน ส่วนจีนสนับสนุนเขมร
3 ฝ่าย
ลำดับเหตุกำรณ์
       นับจากปี ค.ศ. 1953 กัมพูชาเป็นประเทศเอกราช จัดรูปแบบการ
ปกครองแบบ กษัตริย์อยู่ใต้รฐธรรมนูญ โดยมี เจ้านโรดม สีหนุ เป็นผู้นาใน
                          ั
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อกษัตริยสิ้นพระชนม์ สีหนุ จึงดารงตาแหน่ง
                                ์
ประมุขแห่งรัฐในปี ค.ศ.1960 เป็นต้นไป
สีหนุดาเนินนโยบายต่างประเทศเป็นกลาง แต่ก็โน้มเข้าหาฝ่าย
คอมมิวนิสต์ เนื่องจากมีความสัมพันธ์อันดีกับประเทศจีนคอมมิวนิสต์ รัฐบาล
สีหนุมีความขัดแย้งกับฝ่ายโลกเสรีบ่อยครั้ง เช่นรัฐบาลไทยและอเมริกา
ปี ค.ศ. 1960 ภาวะสงครามเย็นมีความรุนแรงในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเวียดนาม รัฐบาลกัมพูชาถูกร้องขอจากฝ่าย
เวียดนามเหนือขอให้กองทัพเวียดมินด์และเวียดกงใช้ดินแดนกัมพูชาเป็น
เส้นทางลาเลียงยุทธปัจจัย กัมพูชาจึงตกเป็นเป้าที่เวียดนามใต้เข้าโจมตี สีหนุ
จึงเจรจากับจีนคอมมิวนิตส์และสหประชาชาติให้มีการถอนทหารทั้งเวียดนาม
เหนือและเวียดนามใต้ออกจากกัมพูชา แต่การเจรจาไม่เป็นผล
ปี ค.ศ. 1970 นายพลลอนนอลอยู่กลุ่มฝ่ายขวาทารัฐประหารขับไล่สีหนุออก
จากตาแหน่ง รัฐบาลลอนนอลดาเนินนโยบายเป็นปฏิปักษ์กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ เรียกร้อง
ให้เวียดนามเหนือถอนกาลังออกไป เมื่อได้รับการปฏิเสธ สงครามจึงเกิดขึ้น อเมริกาหนุน
เวียดนามใต้ทั้งการเงินและการทหาร ส่งกาลังทาลายฐานที่มั่นของเวียดนามเหนือใน
กัมพูชาอย่างหนัก มีการกวดล้างพวกคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา กรุงพนมเปญเกิดความ
วุ่นวาย สีหนุหลบหนีจากกัมพูชาไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น โดยได้รับการสนับสนุนจากเขมร
แดง ประกาศจัดตั้งแนวร่วมแห่งชาติของกัมพูชาในเดือนตุลาคม ค.ศ.1960 ทาการ
ต่อต้านรัฐบาลของนายพลลอนนอล สร้างความไม่พอใจให้กับเวียดนาม
ปี ค.ศ.1979 เวียดนามเหนือเข้ายึดกรุงพนมเปญ ประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐ
แห่งประชาชนกัมพูชา โดยมีนายเฮง สัมริน ดารงตาแหน่งประธานสภาปฏิวัติ เวียดนาม
เหนือให้เหตุผลว่า เขมรแดงจะสังหารชาวกัมพูชามากกว่าที่เป็นอยู่ และเพื่อช่วยเหลือ
รัฐบาลเฮง สัมริน และเวียดนามจะถอนทหารจากกัมพูชาเมื่อภัยจากจีนสิ้นสุดลง การที่
เวียดนามมีอิทธิพลเหนือกัมพูชานี้เรียกว่า “ปัญหากัมพูชา” รัฐบาลเฮง สัมริน ถูก
ต่อต้านจากชาวกัมพูชาหลายกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกลุ่มเขมรแดง ซึ่งได้จัดตั้ง
รัฐบาลพลัดถิ่นขึ้น โดยสีหนุเป็นประธานาธิบดี เขียว สัมพัน เป็นรองประธานาธิบดี และ
ซอนซาน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีอเมริกาและประเทศฝ่ายโลกเสรีให้การสนับสนุน และ
ให้มีที่นั่งในองค์การสหประชาชาติอีกด้วย การสู้รบของรัฐบาลพลัดถิ่นกับรัฐบาลของเฮง
สัมริน มีมาตลอด เป็นปัญหากระทบกับหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศไทย มีการ
แก้ปัญหาในระดับนานาชาติ
กำรยุติของสงครำม
          ทั้งนีสหประชาชาติให้การยอมรับว่ารัฐบาลเขมรแดงและเขมร 3 ฝ่าย
                ้
เป็นรัฐบาลที่ถูกต้อง ส่วนรัฐบาลฮุนเซนที่ได้รับการสนับสนุนจากเวียดนามนั้น
ไม่ได้รับการยอมรับจากเวทีนานาชาติ ยกเว้นสหภาพโซเวียต ทาให้การเมือง
ระดับโลกเข้ามีส่วนในการแก้ไขปัญหากัมพูชา
ต่อมาเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างมหาอานาจดีขึ้นปี 1987 โซเวียตยุติ
การช่วยเหลือเวียดนาม ทาให้เวียดนามอยู่ในกัมพูชาต่อไปไม่ได้และต้องถอน
กาลังทหารออกมาในปี 1989 และในวันที่ 23 ตุลาคม 1991 มีการลงนาม
ในสัญญาสันติภาพปารีสยุติความขัดแย้งในกัมพูชาและกาหนดให้คนกัมพูชา
กาหนดชะตาวิถีชีวิตตนเองแบบประชาธิปไตย
ผลกระทบ
1.ทาให้เศรษฐกิจของกัมพูชาตกต่า เนื่องจากการตัดขาดจากต่างประเทศ
2.สูญเสียทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นกาลังสาคัญสาหรับการพัฒนาประเทศ
3.ระบบการดาเนินงานในประเทศไม่ต่อเนื่องทาให้ประเทศพัฒนาช้า
4.สูญเสียทรัพยากรในประเทศเป็นจานวนมาก
5.ประเทศขากการติดต่อจากโลกภายนอน และเกิดการจารจลภายในประเทศ

Más contenido relacionado

Destacado

CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and BenefitsCVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and Benefitsperreirad
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาNobpakao Kantawong
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาBangon Suyana
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาChainarong Maharak
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์Yaowaluk Chaobanpho
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)oscargaliza
 
Plan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaPlan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaoscargaliza
 
Homophones L
Homophones LHomophones L
Homophones Ljgd7971
 
Sentencia champion
Sentencia championSentencia champion
Sentencia championoscargaliza
 
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South KoreaSo-young Son
 
Comision negociadora convenio champion
Comision negociadora convenio championComision negociadora convenio champion
Comision negociadora convenio championoscargaliza
 
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)oscargaliza
 

Destacado (20)

CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and BenefitsCVCHS Concerns, Questions, and Benefits
CVCHS Concerns, Questions, and Benefits
 
ประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชาประวัติประเทศกัมพูชา
ประวัติประเทศกัมพูชา
 
ประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชาประเทศกัมพูชา
ประเทศกัมพูชา
 
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชาอาเซียน ประเทศกัมพูชา
อาเซียน ประเทศกัมพูชา
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
 
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)Anexo ás normas, calendario previo  (aprobado)
Anexo ás normas, calendario previo (aprobado)
 
Plan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikeaPlan de igualdad_ikea
Plan de igualdad_ikea
 
แผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อแผนฉบับย่อ
แผนฉบับย่อ
 
Homophones L
Homophones LHomophones L
Homophones L
 
Pounamu
PounamuPounamu
Pounamu
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Sentencia champion
Sentencia championSentencia champion
Sentencia champion
 
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea
2014 Stop slavery! Pocheon African Art musuem in South Korea
 
Comision negociadora convenio champion
Comision negociadora convenio championComision negociadora convenio champion
Comision negociadora convenio champion
 
ParaEmpezarWhatTimeIsIt
ParaEmpezarWhatTimeIsItParaEmpezarWhatTimeIsIt
ParaEmpezarWhatTimeIsIt
 
editing
editingediting
editing
 
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
Anexo normas congresuais proceso fusión comfia fecoht (14-02-14)
 
Holiday Invitations
Holiday InvitationsHoliday Invitations
Holiday Invitations
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
Whitebox
WhiteboxWhitebox
Whitebox
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Más de Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

เมียนม่าร์X

  • 1.
  • 2. จัดทำโดย นำยจิรำยุส เจนใจ ม.6/3 เลขที่ 3 นำยเจษฎำ นันไชยวงศ์ ม.6/3 เลขที่ 4 นำยถวิพัฒน์ สุภำษิต ม.6/3 เลขที่ 5 นำยพัชรดนย์ มำกอยู่ ม.6/3 เลขที่ 7 นำยสุทธิสิทธิ์ บัณฑิตชูสกุล ม.6/3 เลขที่ 12
  • 3. สงครำมกัมพูชำ เกิดขึ้นหลังจากกัมพูชาได้เอกราชในปี 1975 และได้นาเอาการ ปกครองแบบคอมมิวนิสต์มาใช้ภายใต้การปกครองของกลุ่มบุคคลที่เรียกว่า เขมรแดง ต่อมาเวียดนามได้ส่งทหารจานวนมากเข้ายึดครองกัมพูชาทาให้ เกิดสงคราม
  • 4. สำเหตุของสงครำมกัมพูชำ สำเหตุของสงครำมกัมพูชำยังมีหลำกหลำยสำเหตุที่ผสมผสำนกันเข้ำจน ทำให้เกิดสงครำมกัมพูชำ 1.ปัญหาความเกลียดชังระหว่างเชื้อชาติระหว่างกัมพูชาและ เวียดนามซึ่งมีมาอย่างต่อเนื่องยาวนาน
  • 5. 2.ความขัดแย้งในแนวชายแดนระหว่างกัมพูชาและเวียดนาม ใน บริเวณที่เรียกว่า ดินแดนจงอยปากนกแก้ว (Parrot‘s Beak) ซึ่งกัมพูชาอ้าง เสมอว่าเวียดนามได้บุกรุกเข้ามาตลอดเวลา ความขัดแย้งนี้ทาให้เขมรแดงยิง ปืนใหญ่เข้าไปในเขตเศรษฐกิจใหม่ของเวียดนาม จนกลายเป็นความขัดแย้ง และตอบโต้กันด้วยความรุนแรง ทาให้เวียดนามต้องส่งทหารเข้ามาในกัมพูชา
  • 6. 3.นโยบายรัฐบาลเขมรแดงทีทารุนแรงกับคนกัมพูชา (จนเกิดกรณีทุ่ง ่ สังหาร) ในปี 1977 ทาให้ผู้นาที่อยู่ในเขมรแดงด้วยกันไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะ เฮงสัมริน และฮุนเซน ทั้ง 2 คนจึงหนีออกนอกประเทศและไปเชิญให้ เวียดนามเข้ามาบุกยึดกัมพูชา และทั้ง 2 คนก็กลายเป็นรัฐบาลหุ่นของ เวียดนามในกัมพูชา 4.การสนับสนุนเวียดนามของสหภาพโซเวียต
  • 7. สงครำมกัมพูชำเป็นควำมขัดแย้ง 3 ระดับ 1.เป็นสงครามกลางเมืองที่คนในชาติเดียวกันจับอาวุธเข้าทาสงคราม กัน แบ่งออกเป็น -ฝ่ายรัฐบาลฮุนเซนและเฮงสัมรินที่เวียดนามแต่งตั้งขึ้น -ฝ่ายต่อต้านฮุนเซ็น คือเขมร 3 ฝ่าย ที่ประกอบด้วยเขมรแดง ฝ่าย เจ้านโรดมสีหนุ (ฟุนซินเปก) และฝ่ายซอนซาน
  • 8. 2.เป็นความขัดแย้งระหว่าง 2 กลุ่มรัฐที่อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน คือ ระหว่างกลุ่มรัฐในอินโดจีนและกลุ่มรัฐในอาเซียนในอาเซียนนั้นมีไทยเป็นผู้ ประสานงานให้อาเซียนมีบทบาทในการแก้ปัญหากัมพูชา เนื่องจากไทยได้รับ ผลกระทบจากสงครามครั้งนี้มากที่สุด และอาเซียนเป็นผู้สนับสนุนเขมร 3 ฝ่ายและต่อต้านเวียดนามและฝ่ายเฮงสัมรินและฮุนเซน 3.ความขัดแย้งระหว่างมหาอานาจของโลก 2 ประเทศคือจีนและ สหภาพโซเวียต ทาให้สงครามกัมพูชาเป็นสงครามตัวแทนของจีนและโซเวียต ด้วย โดยโซเวียตหนุนหลังเวียดนามและรัฐบาลฮุนเซน ส่วนจีนสนับสนุนเขมร 3 ฝ่าย
  • 9. ลำดับเหตุกำรณ์ นับจากปี ค.ศ. 1953 กัมพูชาเป็นประเทศเอกราช จัดรูปแบบการ ปกครองแบบ กษัตริย์อยู่ใต้รฐธรรมนูญ โดยมี เจ้านโรดม สีหนุ เป็นผู้นาใน ั ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี เมื่อกษัตริยสิ้นพระชนม์ สีหนุ จึงดารงตาแหน่ง ์ ประมุขแห่งรัฐในปี ค.ศ.1960 เป็นต้นไป
  • 11. ปี ค.ศ. 1960 ภาวะสงครามเย็นมีความรุนแรงในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ โดยเฉพาะในเวียดนาม รัฐบาลกัมพูชาถูกร้องขอจากฝ่าย เวียดนามเหนือขอให้กองทัพเวียดมินด์และเวียดกงใช้ดินแดนกัมพูชาเป็น เส้นทางลาเลียงยุทธปัจจัย กัมพูชาจึงตกเป็นเป้าที่เวียดนามใต้เข้าโจมตี สีหนุ จึงเจรจากับจีนคอมมิวนิตส์และสหประชาชาติให้มีการถอนทหารทั้งเวียดนาม เหนือและเวียดนามใต้ออกจากกัมพูชา แต่การเจรจาไม่เป็นผล
  • 12. ปี ค.ศ. 1970 นายพลลอนนอลอยู่กลุ่มฝ่ายขวาทารัฐประหารขับไล่สีหนุออก จากตาแหน่ง รัฐบาลลอนนอลดาเนินนโยบายเป็นปฏิปักษ์กับฝ่ายคอมมิวนิสต์ เรียกร้อง ให้เวียดนามเหนือถอนกาลังออกไป เมื่อได้รับการปฏิเสธ สงครามจึงเกิดขึ้น อเมริกาหนุน เวียดนามใต้ทั้งการเงินและการทหาร ส่งกาลังทาลายฐานที่มั่นของเวียดนามเหนือใน กัมพูชาอย่างหนัก มีการกวดล้างพวกคอมมิวนิสต์ในกัมพูชา กรุงพนมเปญเกิดความ วุ่นวาย สีหนุหลบหนีจากกัมพูชาไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่น โดยได้รับการสนับสนุนจากเขมร แดง ประกาศจัดตั้งแนวร่วมแห่งชาติของกัมพูชาในเดือนตุลาคม ค.ศ.1960 ทาการ ต่อต้านรัฐบาลของนายพลลอนนอล สร้างความไม่พอใจให้กับเวียดนาม
  • 13. ปี ค.ศ.1979 เวียดนามเหนือเข้ายึดกรุงพนมเปญ ประกาศจัดตั้งสาธารณรัฐ แห่งประชาชนกัมพูชา โดยมีนายเฮง สัมริน ดารงตาแหน่งประธานสภาปฏิวัติ เวียดนาม เหนือให้เหตุผลว่า เขมรแดงจะสังหารชาวกัมพูชามากกว่าที่เป็นอยู่ และเพื่อช่วยเหลือ รัฐบาลเฮง สัมริน และเวียดนามจะถอนทหารจากกัมพูชาเมื่อภัยจากจีนสิ้นสุดลง การที่ เวียดนามมีอิทธิพลเหนือกัมพูชานี้เรียกว่า “ปัญหากัมพูชา” รัฐบาลเฮง สัมริน ถูก ต่อต้านจากชาวกัมพูชาหลายกลุ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากกลุ่มเขมรแดง ซึ่งได้จัดตั้ง รัฐบาลพลัดถิ่นขึ้น โดยสีหนุเป็นประธานาธิบดี เขียว สัมพัน เป็นรองประธานาธิบดี และ ซอนซาน เป็นนายกรัฐมนตรี โดยมีอเมริกาและประเทศฝ่ายโลกเสรีให้การสนับสนุน และ ให้มีที่นั่งในองค์การสหประชาชาติอีกด้วย การสู้รบของรัฐบาลพลัดถิ่นกับรัฐบาลของเฮง สัมริน มีมาตลอด เป็นปัญหากระทบกับหลายประเทศโดยเฉพาะประเทศไทย มีการ แก้ปัญหาในระดับนานาชาติ
  • 14. กำรยุติของสงครำม ทั้งนีสหประชาชาติให้การยอมรับว่ารัฐบาลเขมรแดงและเขมร 3 ฝ่าย ้ เป็นรัฐบาลที่ถูกต้อง ส่วนรัฐบาลฮุนเซนที่ได้รับการสนับสนุนจากเวียดนามนั้น ไม่ได้รับการยอมรับจากเวทีนานาชาติ ยกเว้นสหภาพโซเวียต ทาให้การเมือง ระดับโลกเข้ามีส่วนในการแก้ไขปัญหากัมพูชา
  • 15. ต่อมาเมื่อความสัมพันธ์ระหว่างมหาอานาจดีขึ้นปี 1987 โซเวียตยุติ การช่วยเหลือเวียดนาม ทาให้เวียดนามอยู่ในกัมพูชาต่อไปไม่ได้และต้องถอน กาลังทหารออกมาในปี 1989 และในวันที่ 23 ตุลาคม 1991 มีการลงนาม ในสัญญาสันติภาพปารีสยุติความขัดแย้งในกัมพูชาและกาหนดให้คนกัมพูชา กาหนดชะตาวิถีชีวิตตนเองแบบประชาธิปไตย
  • 16. ผลกระทบ 1.ทาให้เศรษฐกิจของกัมพูชาตกต่า เนื่องจากการตัดขาดจากต่างประเทศ 2.สูญเสียทรัพยากรบุคคลซึ่งเป็นกาลังสาคัญสาหรับการพัฒนาประเทศ 3.ระบบการดาเนินงานในประเทศไม่ต่อเนื่องทาให้ประเทศพัฒนาช้า 4.สูญเสียทรัพยากรในประเทศเป็นจานวนมาก 5.ประเทศขากการติดต่อจากโลกภายนอน และเกิดการจารจลภายในประเทศ