SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 7
ความขัด แย้ง และการ
 ประสานประโยชน์
  ระหว่า งประเทศ
สงครามโลกครั้ง ที่ 1
 (World War I ค.ศ.
   1914 - 1918)
สงครามโลกครั้ง ที่ 1
   (World War I ค.ศ.
  เริ่มต้นขึ้นเมือเดือ1918) ค.ศ.
        1914 - นสิงหาคม
                 ่
 1914 และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน
  ค.ศ. 1918 เป็นเวลานานถึง 4 ปี 3
เดือน เกิดจากความขัดแย้งของประเทศ
 ในทวีปยุโรปและลุกลามไปยังประเทศ
   ต่างๆ ทัวโลกมากกว่า 30 ประเทศ
           ่
  สร้างความเสียหายให้แก่มนุษยชาติ
อย่างรุนแรง เรียกอีกอย่างหนึงว่า มหา
                            ่
        สงคราม (Great War)
สาเหตุข อง
 1. ลัท ธิช าติน ย ม สงคราม
                 ิ
 (Nationalism)่งเศส-ปรัสเซีย เกิดจากการแย่งชิงอำานาจ
     หลังสงครามฝรั
 ทางการเมืองระหว่างฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ปรัสเซียสามารถเอาชนะ
 ฝรั่งเศสได้ ฝรั่งเศสจึงต้องเสียแคว้นอัลซาซ-ลอเรนให้แก่เยอรมนี
   ทำาให้รัฐเยอรมนีสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิ
         ขณะเดียวกันก็ทำาให้การ
                  เยอรมัน เป็นมหาอำานาจในยุโรป
ปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศส
ต้องสิ้นสุดลงและเปลียนแปลงการ
                      ่
ปกครองเป็นสาธารณรัฐ รวมทั้งยัง
 ส่งผลให้อิตาลีรวมชาติได้สำาเร็จ
ทำาให้เกิดลัทธิชาตินิยมในฝรั่งเศส
 เยอรมัน และอิตาลี ในเวลาใกล้
  เคียงกันก็เกิดลัทธิชาตินิยมใน
  คาบสมุทรบอลข่านที่ประชากร
ส่วนใหญ่ที่เป็นชาวสลาฟต้องการ
สาเหตุข อง
                   สงคราม
   2. การแข่ง ขัน กัน
  แสวงหาอาณานิค ม
        มหาอำานาจตะวันตกแสวงหาอาณานิคมในแอฟริกา
และเอเชีย เพือเป็นแหล่งวัตถุดิบ โดยใช้กำาลังทหารเข้ายึด
              ่
 ครองดินแดนทีมแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นเหตุให้
                ่ ี
 เกิดสงครามหลายครั้งเพือแย่งชิงดินแดนใน 2 ทวีป การ
                         ่
      ขัดแย้งนำาไปสู่การสะสมกำาลังทหาร กำาลังอาวุธ
       ประเทศจักรวรรดินยมหรือมหาอำานาจตะวันตก
                           ิ
     ยุทโธปกรณ์และมีความหวาดระแวงต่อกันมากขึ้น
ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อิตาลี
เบลเยียม
แผนที่แ สดงเขต
                       อาณานิค ม




•ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรังเศส่
เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม โปรตุเกส
•ทวีปเอเชีย อังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย
และนิวซีแลนด์
•ทวีปเอเชีย ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีน
ฝรั่งเศส
สาเหตุข อง
                    สงคราม
 3. ความขัด แย้ง ระหว่า งชาติ
      มหาอำา นาจต่า งๆ
ในด้านผลประโยชน์ อำานาจทางการ เมืองและเศรษฐกิจ
รวมทังความมันคงของประเทศ
      ้         ่
   3.1 ความขัด แย้ง ระหว่า งฝรั่ง เศสกับ ปรัส เซีย
           ฝรั่งเศสมีความขัดแย้งกับปรัสเซีย(รัฐเอกของ
  เยอรมนี) ซึ่งเป็นผู้นำากองทัพเยอรมนีทพยายามจะรวม
                                        ี่
  ชาติให้สำาเร็จ ฝรั่งเศสพยายามกีดกันไม่ให้เยอรมนีรวม
    ชาติ เพราะเกรงว่าจะเป็นภัยต่อฝรั่งเศส จนต้องทำา
  สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ผลคือฝรั่งเศสพ่ายแพ้ต้องทำา
 สัญญาสงบศึก ต่อมารัฐบาลฝรั่งเศสได้ทำาสัญญาแฟรงค์
  เฟิร์ต (Treaty of Frankfurt) ต้องสูญเสียดินแดนอัล
สาเหตุข อง
                  สงคราม
   3.2 ความขัด แย้ง ระหว่า งออสเตรีย -ฮัง การีก บ
                                                ั
                  สหภาพโซเวีย ต
        ออสเตรีย-ฮังการีแข่งขันกันขยายอิทธิพลในดิน
  แดนยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน ในคริสต์
  ศตวรรษที่ 15 คาบสมุทรบอลข่านได้ตกอยูภายใต้การ
                                         ่
 ปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน แต่ต่อมาจักรวรรดิออต
โตมันอ่อนแอลง ทำาให้สูญเสียดินแดนในครอบครองให้กับ
                     ชาติอื่น เช่น
•ตามสนธิสาเหตุข อง (Treaty of
                 สัญญาคาร์โลวิทซ์
  Karlowitz : ค.ศ. 1699) ออสเตรียได้ครอบครอง
                   สงคราม ย และสลาโวเนีย
   ฮังการี ทรานซิลเวเนีย โครเอเชี
   •ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิออตโตมันทำาสนธิ
สัญญากูชก ไกนาร์จี (Treaty of Kuchuk Kainarji :
          ุ
 ค.ศ. 1774) ทำาให้สหภาพโซเวียตได้ดนแดนชายฝั่ง
                                      ิ
  ตอนเหนือของทะเลดำาและสิทธิในการคุ้มครองคริสต์
   ศาสนิกชนนิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ในดินแดนของ
   จักรวรรดิออตโตมัน นอกจากนีสหภาพโซเวียตยัง
                                 ้
ดำาเนินนโยบายต่างประเทศทีเรียกว่า อุด มการณ์ร วม
                              ่
 กลุ่ม สลาฟ และเข้าแทรกแซงทางการเมือง ทำาให้ชน
ชาติสลาฟในคาบสมุทรบอลข่านหวังให้สหภาพโซเวียต
     ช่วยให้ตนเองได้ตั้งรัฐอิสระและปกครองตนเอง
        •ภายหลังสนธิสญญาบูคาเรสต์ (Treaty of
                        ั
Bucharest : ค.ศ. 1812) สหภาพโซเวียตได้เป็นผู้คำ้า
สาเหตุข อง
                 สงคราม
ใน ค.ศ. 1875 พวกสลาฟในบอสเนียได้ก่อกบฏ เพือ       ่
   แยกตนเป็นอิสระและหวังผลประโยชน์ในการใช้
คาบสมุทรบอลข่านเป็นทางออกทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
      จึงประกาศสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน
ค.ศ. 1877 สงครามยุติลง สหภาพโซเวียตเป็นฝ่าย
ชนะจึงสนับสนุนเซอร์เบียในการรวมชาวสลาฟ เมือ     ่
  ออสเตรีย-ฮังการีใช้เหตุการณ์ทพวกเติร์กก่อการ
                               ี่
   ปฏิวัติ ผนวกดินแดนที่มชาวสลาฟ 2 แคว้นคือ
                          ี
บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาเป็นของตน เพื่อป้องกันมิ
 ให้ขบวนการรวมกลุ่มสลาฟซึ่งมีเซอร์เบียเป็นผู้นำา
 ดำาเนินการเคลื่อนไหวกับพวกสลาฟในบอสเนีย เซ
สาเหตุข อง
                   สงคราม
ค.ศ. 1908 เกิดวิกฤตการณ์บอสเนีย ภายหลังการเจรจา
วิกฤตการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แม้ปราศจากสงครามแต่ก็
ก่อความร้าวฉานระหว่างเซอร์เบียและสหภาพโซเวียตกับ
                 ออสเตรีย-ฮังการี
 ค.ศ. 1912 - 1913 เซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซ ทำา
  สงครามกับตุรกี และสามารถยึดครองดินแดนตุรกีใน
ยุโรปได้ แต่หลังจากสงครามเกิดปัญหาการแบ่งแยกดิน
  แดนจนขัดแย้งกันเอง ทำาให้เกิดสงครามระหว่างสาม
ประเทศ ผลของสงครามทำาให้บัลแกเรียเสียดินแดนบาง
ส่วนให้กรีซและเซอร์เบีย เซอร์เบียจึงกลายเป็นแคว้นที่มี
   อิทธิพลมากทีในกลุ่มสลาฟ จนเป็นทีเกรงกลัวของ
                ่                    ่
สาเหตุข อง
               สงคราม
3.3 ความขัด แย้ง ระหว่า งอัง กฤษกับ เยอรมนี
       อังกฤษไม่พอใจเยอรมนีที่เสริมสร้างความ
 เข้มแข็งทางทหารเพิ่มขึ้นตลอดเวลา รวมทังการ
                                        ้
แข่งขันด้านการค้า ทำาให้อังกฤษเห็นว่าความเข้ม
      แข็งของเยอรมนีเป็นภัยคุกคามอังกฤษ
สาเหตุข อง
                  สงคราม
4. มหาอำา นาจในยุโ รปแตกแยก
       ออกเป็น 2 ฝ่า ย
       เริ่มเมือเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี ลงนามในสนธิ
               ่
 สัญ ญาพัน ธไมตรีท วิภ าคี เพราะออสเตรีย-ฮังการีไม่
  ไว้ใจสหภาพโซเวียตจากการแข่งกันขยายอำานาจใน
คาบสมุทรบอลข่าน ส่วนเยอรมนีต้องการหาพันธมิตรหาก
  เกิดสงครามกับฝรั่งเศสหรือสหภาพโซเวียต โดยทังคู่้
 สัญญาว่าจะช่วยเหลือกันและกัน ถ้าถูกสหภาพโซเวียต
โจมตี ต่อมาสัญญาฉบับนีได้ขยายเป็นสนธิส ัญ ญาพัน ธ
                          ้
ไมตรีไ ตรภาคี (Triple Alliances : ค.ศ. 1882) โดย
 รวมอิตาลีเข้ามาด้วย เพราะอิตาลีเกรงว่าจะถูกฝรั่งเศส
                          โจมตี
สาเหตุข อง
                  สงคราม

        อีกฝ่ายหนึ่งคือกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี
(Triple Entente) คือสหภาพโซเวียตกับฝรั่งเศสได้ลง
  นามในอนุส ัญ ญาว่า ด้ว ยความร่ว มมือ ทางทหาร
(Military Convention : ค.ศ. 1892) เพราะสหภาพ
 โซเวียตกำาลังแข่งอำานาจกับออสเตรีย-ฮังการี และหวั่น
เกรงว่าเยอรมนีจะเข้าข้างออสเตรีย-ฮังการี อนุสัญญานี้
  ต่อมาได้กลายเป็นสนธิส ัญ ญาพัน ธไมตรีฝ รั่ง เศส -
 รัส เซีย (Franco-Russian Alliance : ค.ศ. 1894)
  โดยตกลงที่จะให้ความช่วยเหลือทางทหารต่อกันใน
          กรณีทถูกเยอรมนีและพันธมิตรโจมตี
                ี่
สาเหตุข อง
                 สงคราม

       ทางด้านอังกฤษ ดำาเนินนโยบายต่างประเทศแบบอยู่
  อย่างโดดเดี่ยว แต่ภายหลังสงครามบัวร์ (Boer War :
   ค.ศ. 1899-1902) อังกฤษถูกประณามจากประเทศ
มหาอำานาจ รวมทังไม่พอใจการเสริมกำาลังกองทัพและการ
                 ้
ขยายแสนยานุภาพทางทะเลของเยอรมนี อังกฤษจึงดำาเนิน
นโยบายและแสวงหาพันธมิตร โดยทำาความตกลงฉันท์มตร    ิ
 กับฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1904 และลงนามใน ความตกลง
  อัง กฤษ-รัส เซีย (Anglo-Russian Entente : ค.ศ.
   1907) และต่อมากลายเป็น ความตกลงไตรภาคี
 (Triple Entente) ระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
ชนวนของสงครามโลก
                ครั้ง ที่ 1
          วิกฤตการณ์ซาราเยโวหรือ
            วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม
                                อาร์คดุ๊กฟรานซิส
                                  เฟอร์ดินานด์
                                และเจ้าหญิงโซฟี
    วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์
ดินานด์ รัชทายาทของออสเตรีย-ฮังการี พร้อมเจ้าหญิงโซฟี
พระชายา ขณะเสด็จประพาสเมืองซาราเยโว นครหลวงของ
  บอสเนีย ได้ถูกนายกัฟริโล ปรินซิป ชาวบอสเนียเชื้อสาย
  เซิร์บ ลอบปลงพระชนม์เพื่อแก้แค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย-
ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินาและขัดขวางการ
   รวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย ออสเตรีย-ฮังการีจึง
 ประกาศสงครามกับเซอร์เบียเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.
กัฟรีโล ปรินซีป ถูกจับกุมทันทีหลังลอบปลงพระ
          ชนม์อาร์คดุ๊กเฟอร์ดินานด์
ชนวนของสงครามโลก
               ครั้ง ที่ 1
        สหภาพโซเวียตในฐานะผู้พทกษ์ชาวสลาฟระดมพล
                                  ิ ั
 เพือช่วยเหลือเซอร์เบียทำาสงครามกับออสเตรีย-ฮังการี ซึ่ง
     ่
  เป็นพันธมิตรกับเยอรมนี ฝรั่งเศสปฏิเสธทีจะวางตนเป็นก
                                          ่
  ลาง เนืองจากโกรธแค้นจากการทีเยอรมนียดครองดินแด
         ่                         ่        ึ
  นอัลซาซ-ลอเรนในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เยอรมนีจึง
   ประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม
   ค.ศ. 1914 และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเมือวันที่ 3
                                                ่
สิงหาคม ค.ศ. 1914 และก็ได้ส่งกองทัพบุกเบลเยียมซึ่งเป็น
 ประเทศทีได้รับการประกันความเป็นกลาง เพือบุกฝรั่งเศส
           ่                                  ่
 ตามแผนชลีฟ เฟิน (Schlieffen Plan : แผนการรบของ
    เยอรมนีด้วยวิธีรบรุกอย่างรวดเร็ว เพือจะพิชิตฝรั่งเศส
                                        ่
สหภาพโซเวียต และอังกฤษ) อังกฤษจึงประกาศสงครามต่อ
สงครามขยายออกเป็น 2 ฝ่า ย คือ

        1. ฝ่า ยมหาอำา นาจพัน ธมิต ร (The Allied
                          Powers)
             ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต
      เซอร์เบีย เบลเยียม รวมทังอิตาลีทเปลี่ยนใจเข้ากับ
                                ้         ี่
     ฝ่ายมหาอำานาจพันธมิตรเพราะต้องการทีจะผนวกดิน
                                               ่
        แดนของออสเตรีย-ฮังการีทมชาวอิตาลีอาศัยอยู่
                                   ี่ ี
            จำานวนมากและชาติอื่นๆ รวมทั้งญีปุ่นและ
                                             ่
     สหรัฐอเมริกา ที่เมือเริ่มสงครามประกาศนโยบายต่าง
                        ่
     2. ฝ่า ยมหาอำา นาจกลาง (The Central
     ประเทศแบบเป็นกลาง จนกระทังเมือ ค.ศ. 1917 จึง
                                      ่ ่
     Powers)เข้าข้างฝ่ายมหาอำานาจพันธมิตร
            ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี
     ตุรกี และ บัลแกเรีย
Leaders of the
    Major Allied
   Powersofas of
George V, King the United
Kingdom 1917
Raymond Poincaré,
President of France
Woodrow Wilson, President
of the United States
Vittorio Emanuele III, King of
Italy
Albert I, King of the Belgium
All the Allied
   Powers'
 Flags as of
     1917
Leaders of the Major
  Central Powers




  Kaiser Wilhelm II: German
          Emperor
  Franz Joseph: Emperor of
       Austria-Hungary
At this point there were two major alliances,
 the Allied powers, the Central powers, and
   their supporters. The rest were neutral.
แผนที่แ สดงประเทศผูเ ข้า ร่ว ม
                   ้
   สงครามโลกครั้ง ที่ 1




    สีเขียว คือ ฝ่ายมหาอำานาจ
            สัมพันธมิตร
     สีส้ม คือ ฝ่ายมหาอำานาจ
การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการรบทังทาง
                                                   ้
        อากาศ ทางบก และทางเรือ ประเทศคู่สงครามต่าง
     ประดิษฐ์อาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ๆ ทีมอำานาจการทำาลาย
                                         ่ ี
     สูงมาใช้ เช่น อังกฤษเป็นชาติแรกทีประดิษฐ์เรือดำานำ้าที่
                                           ่
                     เรียกว่า เรือยู (U-Boat)




” เป็นเรือดำานำ้าที่ผลิตโดยประเทศอังกฤษในระหว่างสงครามโลกคร
ปลายสงคราม เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้ในการรบ ทหาร
และประชาชนชาวเยอรมันได้ก่อการปฏิวัติ คณะรัฐบาล
  ถูกยุบ กษัตริยเยอรมันทรงสละราชสมบัติแล้วเสด็จไป
                ์
ประทับทีเนเธอร์แลนด์ จักรวรรดิเยอรมนีล่มสลายลงและ
         ่
เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่
11 พฤศจิกายน ค.ศ 1918 ผู้นำาคณะรัฐบาลชุดใหม่ขอ
 สงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและลงนามในสัญญาสงบศึก
   สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติลง (เมือใน ค.ศ. 1918)
                                     ่




            พระเจ้าไกเซอร์วิลเลียมที่ 2
สถานการณ์ข องสงคราม
  - แนวรบด้า นตะวัน ตก
      กองทัพเยอรมันบุกประเทศเบลเยียมตามแผนชลี
ฟเฟินเพือโจมตีฝรั่งเศส โดยยึดเบลเยียมได้เกือบทัง
        ่                                      ้
ประเทศรวมถึงภาคเหนือของฝรั่งเศส แต่ได้รับการต่อ
ต้านจากฝ่ายมหาอำานาจสัมพันธมิตรจนไม่สามารถรุก
ต่อไปยังกรุงปารีสได้11




  ทหารเยอรมันในตู้รถไฟขนสินค้าขณะไปยังแนวหน้าใน ค.ศ.
   1914 ข้อความบนตู้เขียนว่า "ทริปไปปารีส" ในช่วงต้นของ
- แนวรบด้า นตะวัน ออก
        สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าโจมตีเยอรมนี
และออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรกสหภาพโซเวียตเป็น
   ฝ่ายได้ชัยชนะ แต่หลังจาก ค.ศ. 1915 กองทัพ
 สหภาพโซเวียตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ กองทัพเยอรมันยึด
เมืองวอร์ซอและเมืองวิลนาในโปแลนด์ ทำาให้สหภาพ
        โซเวียตสูญเสียทหารกว่า 1 ล้านคน




           เชลยศึกรัสเซียที่เทนเนนแบร์ก
- แนวรบด้า นบอลข่า น
           กองทัพออสเตรีย-ฮังการีไม่สามารถเอาชนะเซ
       อร์เบียได้ แต่เมือตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยฝ่าย
                        ่
      มหาอำานาจกลาง กองทัพฝ่ายมหาอำานาจกลางก็
    สามารถยึดครองประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอน
                          เตเนโกรได้




ทหารออสเตรียประหารชีวิตชาวเซอร์เบียที่    ทหารบัลแกเรียในสนามเพลาะ
ถูกจับเป็นเชลยใน ค.ศ. 1917 เซอร์เบียสูญ   เตรียมยิงอากาศยานที่กำาลังมา
 เสียประชากรราว 850,000 คน หนึ่งในสี่
ของประชากรก่อนสงคราม และทรัพยากร
- แนวรบทางทะเล
       กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะกองทัพเรือ
  เยอรมัน และตัดขาดเส้นทางคมนาคมในมหาสมุทร
 แอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้สำาเร็จ
 ต่อมาเยอรมนีใช้เรือดำานำ้าทำาลายเรือรบและเรือสินค้า
 รอบๆ เกาะอังกฤษ ส่งผลให้เรือกลไฟของฝรั่งเศสชื่อ
  ซัสเซก ทีมชาวอเมริกันโดยสารมาด้วยเสียชีวิต แม้
           ่ ี
รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาจะประท้วง แต่เยอรมนีก็ยงคง  ั
ทำาสงครามด้วยเรือดำานำ้าต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงตัดสิน
 ใจเข้าช่วยฝ่ายมหาอำานาจสัมพันธมิตร และประกาศ
 สงครามกับเยอรมนีเมือวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917
                      ่
กองเรือรบ
 ประจัญบานแห่ง
กองเรือทะเลหลวง
  ในมหาสมุทร
  แอตแลนติก


   HMS Lion
ระหว่างยุทธนาวีจัต
      แลนด์
  หลังถูกระดมยิง
    อย่างหนัก
จากเรือรบเยอรมัน
- การเข้า ร่ว มสงครามของสหรัฐ อเมริก า
         สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทางบก
ทางเรือ และทางอากาศเข้าร่วมรบและปราบปรามเรือ
  ดำานำ้าของเยอรมนี และได้เพิ่มกำาลังทหารเข้าไปใน
   ยุโรปจำานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนั้นกองทัพ
เยอรมันก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ส่วนประเทศพันธมิตร
               ของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้
         ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ออสเตรีย-
  ฮังการีแยกเป็น 2 ประเทศและขอทำาสัญญาสงบศึก
 ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เยอรมนี
 ลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติ
                          ลง
วิลสันประกาศตัดความสัมพันธ์กับเยอรมนีอย่างเป็น
 ทางการต่อหน้ารัฐสภา 3 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917
ผลของ
          สงครามโลกครั้ง
               ที่ 1
   1. เกิด ความเสีย หายด้า นชีว ต และ
                                ิ
       ทรัพ ย์ส น จำา นวนมหาศาล
                ิ
       มีทหารเสียชีวิตประมาณ 13 ล้านคน บาดเจ็บ
 มากกว่า 20 ล้านคน ภายหลังสงครามประชาชนใน
    ยุโรปต้องเผชิญกับโรคระบาด ความอดอยาก
เศรษฐกิจตกตำ่าลง อุตสาหกรรมและการค้าถูกทำาลาย
แผนภูม ิแ สดงจำา นวนทหาร
ที่เ สีย ชีว ิต ในสงครามโลก
              ครั้ง ที่ 1
ผลของ
          สงครามโลกครั้ง
               ที่ 1
 2. เกิด ความเปลี่ย นแปลงทางด้า น
           มหาอำา นาจในยุโ รป
            ดุลอำานาจในยุโรปเปลี่ยนไป จักรวรรดิ
 ออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมันสลายตัว
ดินแดนส่วนใหญ่ถูกแบ่งให้ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
 แต่แม้จะชนะสงครามก็อ่อนแอลงและเสียหายอย่าง
หนัก ทำาให้เกิดมหาอำานาจใหม่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา
 ทีมบทบาทเพิ่มขึ้นในการเมืองโลก และญี่ปุ่นกลาย
   ่ ี
       เป็นมหาอำานาจในเอเชียและได้ครอบครอง
         อาณานิคมต่างๆ ของเยอรมนีในเอเชีย
ผลของ
           สงครามโลกครั้ง
 3. เกิด        ที่ 1
 ประเทศใหม่
       จัก รวรรดิอ อสเตรีย -ฮัง การี แตกออก
เป็นประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี
เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวียน ล่มสลาย แผ่นดินเดิม
        จัก รวรรดิอ อตโตมั
 ของจักรวรรดินอกจากที่ราบสูงอนาโตเลียได้ถูก
 แบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงคราม
        สหภาพโซเวีย ต ซึ่งได้ถอนตัวจาก
สงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของตนเป็น
 จำานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็น
ประเทศใหม่ บ เดิม เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิ
      อาหรั ได้แก่ กลายเป็น
             ทัรกี ย และ โปแลนด์
      ประเทศตุ วเนี
Map Europe 1923
ผลของ
          สงครามโลกครั้ง
                  ที่ ่อ งมื
 4. เกิด การพัฒ นาเครื1 อ เครื่อ ง
        ใช้ อาวุธ ยุท โธปกรณ์
       เช่น ปืนใหญ่ ปืนกล แก๊สพิษ รถถัง เรือดำา
นำ้า โดยเฉพาะเครื่องบินประเภทต่างๆ ซึ่งนำาไปสู่
การประดิษฐ์เครื่องบินโดยสารในเวลาต่อมา




   รถถัง Mark I พัฒนาขึ้นโดยกองทัพบกอังกฤษ ใน
            ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
ซากเรือดำานำ้า HMS E-18 ของ
            อังกฤษ
 ทีหายสาบสูญไประหว่างลาดใน
   ่
      บริเวณทะเลบอลติก




   เรือรบ QUEEN ELIZABETH
               CLASS
  เรือรบที่ฝ่ายอังกฤษสร้างขึนเมื่อ
                            ้
        สงครามโลกครั้งที่ 1
และปรับปรุงใช้ในสงครามโลกครั้งที่
               2 ด้วย
ผลของ
     5. เกิด การเปลีย นแปลงการปกครองในประเทศ
                           ่
ต่า งๆ เช่น ออสเตรีย เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ เรียก
                      สงครามโลกครั้ง
ว่า สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1 ส่วนเยอรมนีเปลี่ยนการปกครอง
เป็นสาธารณรัฐ ซึ่งต่อมาเรียที่ า1 กว่ สาธารณรัฐไวมาร์
     สำาหรับสหภาพโซเวียตเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ
สังคมนิยม โดยเปลียนชื่อ ประเทศเป็นสหภาพสาธารณรัฐ
                         ่
สังคมนิยมโซเวียตหรือสหภาพโซเวียต (The Union of
Soviet Socialist Republics : U.S.S.R) เมื่อ ค.ศ. 1918
เนื่องจากการทำาสงครามยาวนานทำาให้เกิดภาวะขาดแคลน
ต่างๆ และรัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ประกอบกับการพ่ายแพ้
ในการรบอยูเนืองๆ ชาวรัสเซียจึงก่อการปฏิวัติขึ้นก่อน
                ่
สงครามโลกยุติลง กล่าวได้ว่าสงครามโลกครั้ง ที่ 1 เป็น ตัว
เร่ง ที่ท ำา ให้เ กิด รัฐ สัง คมนิย มคอมมิว นิส ต์แ ห่ง แรกของ
โลก
     อียปต์ ปาเลสไตน์ จอร์แดน และอิรัก เปลี่ยนเป็นรัฐใน
        ิ
ผลของ
              สงครามโลกครั้ง
  6. ประเทศผู้แ พ้ส งครามเมือ ถูก ลงโทษด้ว ย
                             ่
                       ที่ งทรั
การเสีย ดิน แดน สูญเสียแหล่1 พยากร และต้อง
จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามอย่างหนัก สร้างความไม่
พอใจเป็นอย่างยิงว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม เป็น
                 ่
สาเหตุหนึงทีทำาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นอีก
           ่ ่
7. ประเทศทัง หลายตระหนัก ถึง ความหายนะของ
               ้
สงคราม และพยายามที่จะหาทางไม่ให้เกิดสงครามอีก
ผู้นำาแต่ละประเทศต่างต้องการเจรจาทำาสัญญาสันติภาพ
โดยจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศสันนิบาตชาติขึ้น
สนธิส ัญ ญาแวร์ซ าย (Treaty of
            Versailles)
        เป็นสนธิสัญญาสันติภาพทีจัดทำาขึ้นเมือวันที่ 28
                                 ่          ่
 มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศ
   ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่าย
สัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ใน
 สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำานาจ
กลางอื่น ๆ ได้มการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย
                  ี
 สนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มการลงนามสงบศึกตั้งแต่
                               ี
   วันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 แล้วก็ตาม การ
ประชุมสันติภาพทีกรุงปารีสกินเวลานานกว่า 6 เดือน จึง
                    ่
                 ได้มการสรุปสนธิสัญญา
                      ี
หน้าต้นของสนธิสัญญาแวร์ซาย
สนธิส ัญ ญาแวร์ซ าย (Treaty of
             Versailles)
ผลจากสนธิส ญ ญา
           ั
         สนธิสญญาได้กำาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้อง
               ั
  ยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว ภาย
     ใต้ข้อตกลงทีเรียกว่า อนุประโยคความรับผิดใน
                   ่
   อาชญากรรมสงคราม เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจำากัด
  อาณาเขตดินแดน และต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้
     แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจำานวนมหาศาล
          เมือปี ค.ศ. 1921 ได้ประเมินว่ามูลค่าของค่า
             ่
      ปฏิกรรมสงครามทีเยอรมนีจะต้องจ่ายนันสูงถึง
                        ่                  ้
  132,000 ล้านมาร์ก (ราว 31,400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ
   หรือ 6,600 ล้านปอนด์) เป็นจำานวนทีมากเกินกว่าจะ
                                       ่
ไทยกับ การเข้า ร่ว มสงครามโลก
             ครั้ง ที่ 1
       พ.ศ. 2457งเกิดขึ้นในรัชสมัยของ
    สงครามโลกครั้งที่หนึ่
                          - 2461
  รัชกาลที่ 6 เมือ พ.ศ. 2457 ไทยตั้งตัวเป็นกลาง จน
                 ่
    กระทังวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ไทยจึงได้
          ่
ประกาศสงครามกับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี และ
ส่งทหารอาสาสมัครไปช่วยรบ 1,233 นาย ในจำานวนนี้
                    เสียชีวิต 19 นาย
            ทหารอาสาออกเดินทางเมือ พ.ศ. 2461 ถึง
                                     ่
 ประเทศฝรั่งเศสอยู่ใต้บัญชาการของนายพล เปแตง
ซึ่งขณะนั้นดำารงตำาแหน่งแม่ทพใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร
                                   ั
     ได้ไปปฏิบัติการในสมรภูมประเทศฝรั่งเศสและ
                                 ิ
                        เบลเยียม
                               ่
กองทหารไทยในดิน   ทหารไทยสวนสนาม
   แดนเยอรมนี         ที่องกฤษ
                          ั
ไทยกับ การเข้า ร่ว มสงครามโลก
                  ครั้ง ที่ 1
    เมือเสร็พ.ศ. 2457 นาจพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ
       ่    จสงคราม มหาอำา - 2461
ประเทศไทยได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ พระราชวังแวร์ซาย
ด้วย ผลพลอยได้จากการเข้าสงครามนีคือ สัญญาต่าง ๆ ที่
                                    ้
   ไทยทำากับเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลง
  ตั้งแต่ไทยประกาศสงคราม และไทยขอเจรจาข้อแก้ไข
สนธิสัญญาฉบับเก่า ซึ่งทำาไว้กบอังกฤษ ฝรั่งเศส และชาติ
                              ั
   อื่น ๆ โดยได้ความช่วยเหลือจาก ดร. ฟรานซิส บีแซร์
    (Dr. Francis B. Sayre) ชาวอเมริกา ซึงเคยเป็นที่
                                          ่
ปรึกษาต่างประเทศ จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น
พระยากัลยา ณ ไมตรี ในที่สดประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ
                            ุ
 รวมทังอังกฤษตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2468 และฝรั่งเศส
         ้
ผลที่ไ ทยได้ร ับ จากการเข้า ร่ว ม
1. เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติค้ง ที่ 1
             สงครามโลกครั ุณของประเทศ
2. ได้รับเกียรติเข้าร่วมทำาสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์
3. เมือสงครามสงบได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกประเภทริเริ่ม
      ่
ขององค์การสันนิบาตชาติ เป็นหลักประกันเอกราชและ
ความปลอดภัยของประเทศ
4. แก้ไขสัญญาทีทำาไว้แต่รัชกาลที่ 4 เป็นผลสำาเร็จ ยกเลิก
                     ่
สัญญาต่าง ๆ ทีไทยทำากับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี
                 ่
และทำาสัญญากับประเทศต่าง ๆ ใหม่
5. ได้ยดทรัพย์จากเชลย
        ึ
6. เปลี่ยนธงชาติจากธงช้างมาเป็นธงไตรรงค์ เพื่อนำาไปใช้
ในกองทัพไทยทีเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1
                   ่
7. สร้างอนุสาวรียเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึงคือ
                       ์                      ่
อนุสาวรีย์ทหารอาสา วงเวียน 22 กรกฎา สมาคมสหาย

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
supasit2702
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
Szo'k JaJar
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
Phonlawat Wichaya
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
supasit2702
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
280125399
 

What's hot (20)

สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1สงครามโลกครั้งที่1
สงครามโลกครั้งที่1
 
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 1 และ ครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-สงครามโลกครั้งที่ 1-
สงครามโลกครั้งที่ 1-
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]สงครามโลก..[2]
สงครามโลก..[2]
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdfสงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
สงครามโลกครั้งที่ 2 pdf
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง (World war i)
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 268141 สงครามโลกครั้งที่ 2
68141 สงครามโลกครั้งที่ 2
 
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจกสงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
สงครามโลก เปรียบเทียบ แจก
 
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
เฉลยแบบฝ กห ดสงครามโลกคร__งท__ 2
 
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
สื่อสงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2สงครามโลก ครั้งที่ 2
สงครามโลก ครั้งที่ 2
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
World War I
World War IWorld War I
World War I
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1.2

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
New Nan
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

Similar to สงครามโลกครั้งที่1.2 (20)

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-iสงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
สงครามโลกครั้งที่หนึ่ง World-war-i
 
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็นความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
ความขัดแย้งหลังสงครามเย็น
 
อ31101
อ31101อ31101
อ31101
 
Ww2 Work
Ww2 WorkWw2 Work
Ww2 Work
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือความขัดแย้งและความร่วมมือ
ความขัดแย้งและความร่วมมือ
 
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
ความขัดแย้งระหว่างอิสราเอลกับปาเลสไตน์
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ประวัติศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)สงครามโลก (อ.จำนงค์)
สงครามโลก (อ.จำนงค์)
 

สงครามโลกครั้งที่1.2

  • 1. หน่ว ยการเรีย นรู้ท ี่ 7 ความขัด แย้ง และการ ประสานประโยชน์ ระหว่า งประเทศ
  • 2. สงครามโลกครั้ง ที่ 1 (World War I ค.ศ. 1914 - 1918)
  • 3. สงครามโลกครั้ง ที่ 1 (World War I ค.ศ. เริ่มต้นขึ้นเมือเดือ1918) ค.ศ. 1914 - นสิงหาคม ่ 1914 และสิ้นสุดในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เป็นเวลานานถึง 4 ปี 3 เดือน เกิดจากความขัดแย้งของประเทศ ในทวีปยุโรปและลุกลามไปยังประเทศ ต่างๆ ทัวโลกมากกว่า 30 ประเทศ ่ สร้างความเสียหายให้แก่มนุษยชาติ อย่างรุนแรง เรียกอีกอย่างหนึงว่า มหา ่ สงคราม (Great War)
  • 4. สาเหตุข อง 1. ลัท ธิช าติน ย ม สงคราม ิ (Nationalism)่งเศส-ปรัสเซีย เกิดจากการแย่งชิงอำานาจ หลังสงครามฝรั ทางการเมืองระหว่างฝรั่งเศสกับปรัสเซีย ปรัสเซียสามารถเอาชนะ ฝรั่งเศสได้ ฝรั่งเศสจึงต้องเสียแคว้นอัลซาซ-ลอเรนให้แก่เยอรมนี ทำาให้รัฐเยอรมนีสามารถรวมตัวกันและสถาปนาเป็นจักรวรรดิ ขณะเดียวกันก็ทำาให้การ เยอรมัน เป็นมหาอำานาจในยุโรป ปกครองในระบบจักรวรรดิฝรั่งเศส ต้องสิ้นสุดลงและเปลียนแปลงการ ่ ปกครองเป็นสาธารณรัฐ รวมทั้งยัง ส่งผลให้อิตาลีรวมชาติได้สำาเร็จ ทำาให้เกิดลัทธิชาตินิยมในฝรั่งเศส เยอรมัน และอิตาลี ในเวลาใกล้ เคียงกันก็เกิดลัทธิชาตินิยมใน คาบสมุทรบอลข่านที่ประชากร ส่วนใหญ่ที่เป็นชาวสลาฟต้องการ
  • 5. สาเหตุข อง สงคราม 2. การแข่ง ขัน กัน แสวงหาอาณานิค ม มหาอำานาจตะวันตกแสวงหาอาณานิคมในแอฟริกา และเอเชีย เพือเป็นแหล่งวัตถุดิบ โดยใช้กำาลังทหารเข้ายึด ่ ครองดินแดนทีมแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ จึงเป็นเหตุให้ ่ ี เกิดสงครามหลายครั้งเพือแย่งชิงดินแดนใน 2 ทวีป การ ่ ขัดแย้งนำาไปสู่การสะสมกำาลังทหาร กำาลังอาวุธ ประเทศจักรวรรดินยมหรือมหาอำานาจตะวันตก ิ ยุทโธปกรณ์และมีความหวาดระแวงต่อกันมากขึ้น ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม
  • 6. แผนที่แ สดงเขต อาณานิค ม •ดินแดนในแอฟริกาตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ฝรังเศส่ เนเธอร์แลนด์ เยอรมนี อิตาลี เบลเยียม โปรตุเกส •ทวีปเอเชีย อังกฤษครอบครองอินเดีย พม่า มลายู บอร์เนียว ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ •ทวีปเอเชีย ฝรั่งเศสครอบครองลาว เขมร ญวน รวมเป็นอินโดจีน ฝรั่งเศส
  • 7. สาเหตุข อง สงคราม 3. ความขัด แย้ง ระหว่า งชาติ มหาอำา นาจต่า งๆ ในด้านผลประโยชน์ อำานาจทางการ เมืองและเศรษฐกิจ รวมทังความมันคงของประเทศ ้ ่ 3.1 ความขัด แย้ง ระหว่า งฝรั่ง เศสกับ ปรัส เซีย ฝรั่งเศสมีความขัดแย้งกับปรัสเซีย(รัฐเอกของ เยอรมนี) ซึ่งเป็นผู้นำากองทัพเยอรมนีทพยายามจะรวม ี่ ชาติให้สำาเร็จ ฝรั่งเศสพยายามกีดกันไม่ให้เยอรมนีรวม ชาติ เพราะเกรงว่าจะเป็นภัยต่อฝรั่งเศส จนต้องทำา สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ผลคือฝรั่งเศสพ่ายแพ้ต้องทำา สัญญาสงบศึก ต่อมารัฐบาลฝรั่งเศสได้ทำาสัญญาแฟรงค์ เฟิร์ต (Treaty of Frankfurt) ต้องสูญเสียดินแดนอัล
  • 8. สาเหตุข อง สงคราม 3.2 ความขัด แย้ง ระหว่า งออสเตรีย -ฮัง การีก บ ั สหภาพโซเวีย ต ออสเตรีย-ฮังการีแข่งขันกันขยายอิทธิพลในดิน แดนยุโรปตะวันออกและคาบสมุทรบอลข่าน ในคริสต์ ศตวรรษที่ 15 คาบสมุทรบอลข่านได้ตกอยูภายใต้การ ่ ปกครองของจักรวรรดิออตโตมัน แต่ต่อมาจักรวรรดิออต โตมันอ่อนแอลง ทำาให้สูญเสียดินแดนในครอบครองให้กับ ชาติอื่น เช่น
  • 9. •ตามสนธิสาเหตุข อง (Treaty of สัญญาคาร์โลวิทซ์ Karlowitz : ค.ศ. 1699) ออสเตรียได้ครอบครอง สงคราม ย และสลาโวเนีย ฮังการี ทรานซิลเวเนีย โครเอเชี •ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 จักรวรรดิออตโตมันทำาสนธิ สัญญากูชก ไกนาร์จี (Treaty of Kuchuk Kainarji : ุ ค.ศ. 1774) ทำาให้สหภาพโซเวียตได้ดนแดนชายฝั่ง ิ ตอนเหนือของทะเลดำาและสิทธิในการคุ้มครองคริสต์ ศาสนิกชนนิกายกรีกออร์ธอดอกซ์ในดินแดนของ จักรวรรดิออตโตมัน นอกจากนีสหภาพโซเวียตยัง ้ ดำาเนินนโยบายต่างประเทศทีเรียกว่า อุด มการณ์ร วม ่ กลุ่ม สลาฟ และเข้าแทรกแซงทางการเมือง ทำาให้ชน ชาติสลาฟในคาบสมุทรบอลข่านหวังให้สหภาพโซเวียต ช่วยให้ตนเองได้ตั้งรัฐอิสระและปกครองตนเอง •ภายหลังสนธิสญญาบูคาเรสต์ (Treaty of ั Bucharest : ค.ศ. 1812) สหภาพโซเวียตได้เป็นผู้คำ้า
  • 10. สาเหตุข อง สงคราม ใน ค.ศ. 1875 พวกสลาฟในบอสเนียได้ก่อกบฏ เพือ ่ แยกตนเป็นอิสระและหวังผลประโยชน์ในการใช้ คาบสมุทรบอลข่านเป็นทางออกทะเลเมดิเตอร์เรเนียน จึงประกาศสงครามกับจักรวรรดิออตโตมัน ค.ศ. 1877 สงครามยุติลง สหภาพโซเวียตเป็นฝ่าย ชนะจึงสนับสนุนเซอร์เบียในการรวมชาวสลาฟ เมือ ่ ออสเตรีย-ฮังการีใช้เหตุการณ์ทพวกเติร์กก่อการ ี่ ปฏิวัติ ผนวกดินแดนที่มชาวสลาฟ 2 แคว้นคือ ี บอสเนียและเฮอร์เซโกวีนาเป็นของตน เพื่อป้องกันมิ ให้ขบวนการรวมกลุ่มสลาฟซึ่งมีเซอร์เบียเป็นผู้นำา ดำาเนินการเคลื่อนไหวกับพวกสลาฟในบอสเนีย เซ
  • 11. สาเหตุข อง สงคราม ค.ศ. 1908 เกิดวิกฤตการณ์บอสเนีย ภายหลังการเจรจา วิกฤตการณ์ดังกล่าวสิ้นสุดลง แม้ปราศจากสงครามแต่ก็ ก่อความร้าวฉานระหว่างเซอร์เบียและสหภาพโซเวียตกับ ออสเตรีย-ฮังการี ค.ศ. 1912 - 1913 เซอร์เบีย บัลแกเรีย และกรีซ ทำา สงครามกับตุรกี และสามารถยึดครองดินแดนตุรกีใน ยุโรปได้ แต่หลังจากสงครามเกิดปัญหาการแบ่งแยกดิน แดนจนขัดแย้งกันเอง ทำาให้เกิดสงครามระหว่างสาม ประเทศ ผลของสงครามทำาให้บัลแกเรียเสียดินแดนบาง ส่วนให้กรีซและเซอร์เบีย เซอร์เบียจึงกลายเป็นแคว้นที่มี อิทธิพลมากทีในกลุ่มสลาฟ จนเป็นทีเกรงกลัวของ ่ ่
  • 12. สาเหตุข อง สงคราม 3.3 ความขัด แย้ง ระหว่า งอัง กฤษกับ เยอรมนี อังกฤษไม่พอใจเยอรมนีที่เสริมสร้างความ เข้มแข็งทางทหารเพิ่มขึ้นตลอดเวลา รวมทังการ ้ แข่งขันด้านการค้า ทำาให้อังกฤษเห็นว่าความเข้ม แข็งของเยอรมนีเป็นภัยคุกคามอังกฤษ
  • 13. สาเหตุข อง สงคราม 4. มหาอำา นาจในยุโ รปแตกแยก ออกเป็น 2 ฝ่า ย เริ่มเมือเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี ลงนามในสนธิ ่ สัญ ญาพัน ธไมตรีท วิภ าคี เพราะออสเตรีย-ฮังการีไม่ ไว้ใจสหภาพโซเวียตจากการแข่งกันขยายอำานาจใน คาบสมุทรบอลข่าน ส่วนเยอรมนีต้องการหาพันธมิตรหาก เกิดสงครามกับฝรั่งเศสหรือสหภาพโซเวียต โดยทังคู่้ สัญญาว่าจะช่วยเหลือกันและกัน ถ้าถูกสหภาพโซเวียต โจมตี ต่อมาสัญญาฉบับนีได้ขยายเป็นสนธิส ัญ ญาพัน ธ ้ ไมตรีไ ตรภาคี (Triple Alliances : ค.ศ. 1882) โดย รวมอิตาลีเข้ามาด้วย เพราะอิตาลีเกรงว่าจะถูกฝรั่งเศส โจมตี
  • 14.
  • 15. สาเหตุข อง สงคราม อีกฝ่ายหนึ่งคือกลุ่มประเทศความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) คือสหภาพโซเวียตกับฝรั่งเศสได้ลง นามในอนุส ัญ ญาว่า ด้ว ยความร่ว มมือ ทางทหาร (Military Convention : ค.ศ. 1892) เพราะสหภาพ โซเวียตกำาลังแข่งอำานาจกับออสเตรีย-ฮังการี และหวั่น เกรงว่าเยอรมนีจะเข้าข้างออสเตรีย-ฮังการี อนุสัญญานี้ ต่อมาได้กลายเป็นสนธิส ัญ ญาพัน ธไมตรีฝ รั่ง เศส - รัส เซีย (Franco-Russian Alliance : ค.ศ. 1894) โดยตกลงที่จะให้ความช่วยเหลือทางทหารต่อกันใน กรณีทถูกเยอรมนีและพันธมิตรโจมตี ี่
  • 16. สาเหตุข อง สงคราม ทางด้านอังกฤษ ดำาเนินนโยบายต่างประเทศแบบอยู่ อย่างโดดเดี่ยว แต่ภายหลังสงครามบัวร์ (Boer War : ค.ศ. 1899-1902) อังกฤษถูกประณามจากประเทศ มหาอำานาจ รวมทังไม่พอใจการเสริมกำาลังกองทัพและการ ้ ขยายแสนยานุภาพทางทะเลของเยอรมนี อังกฤษจึงดำาเนิน นโยบายและแสวงหาพันธมิตร โดยทำาความตกลงฉันท์มตร ิ กับฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1904 และลงนามใน ความตกลง อัง กฤษ-รัส เซีย (Anglo-Russian Entente : ค.ศ. 1907) และต่อมากลายเป็น ความตกลงไตรภาคี (Triple Entente) ระหว่างอังกฤษ ฝรั่งเศส และรัสเซีย
  • 17.
  • 18. ชนวนของสงครามโลก ครั้ง ที่ 1 วิกฤตการณ์ซาราเยโวหรือ วิกฤตการณ์เดือนกรกฎาคม อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ดินานด์ และเจ้าหญิงโซฟี วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 อาร์คดุ๊กฟรานซิส เฟอร์ ดินานด์ รัชทายาทของออสเตรีย-ฮังการี พร้อมเจ้าหญิงโซฟี พระชายา ขณะเสด็จประพาสเมืองซาราเยโว นครหลวงของ บอสเนีย ได้ถูกนายกัฟริโล ปรินซิป ชาวบอสเนียเชื้อสาย เซิร์บ ลอบปลงพระชนม์เพื่อแก้แค้นที่จักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการีเข้ายึดครองบอสเนีย-เฮอร์เซโกวินาและขัดขวางการ รวมตัวของชาวสลาฟกับเซอร์เบีย ออสเตรีย-ฮังการีจึง ประกาศสงครามกับเซอร์เบียเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ.
  • 20. ชนวนของสงครามโลก ครั้ง ที่ 1 สหภาพโซเวียตในฐานะผู้พทกษ์ชาวสลาฟระดมพล ิ ั เพือช่วยเหลือเซอร์เบียทำาสงครามกับออสเตรีย-ฮังการี ซึ่ง ่ เป็นพันธมิตรกับเยอรมนี ฝรั่งเศสปฏิเสธทีจะวางตนเป็นก ่ ลาง เนืองจากโกรธแค้นจากการทีเยอรมนียดครองดินแด ่ ่ ึ นอัลซาซ-ลอเรนในสงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย เยอรมนีจึง ประกาศสงครามกับสหภาพโซเวียตเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม ค.ศ. 1914 และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสเมือวันที่ 3 ่ สิงหาคม ค.ศ. 1914 และก็ได้ส่งกองทัพบุกเบลเยียมซึ่งเป็น ประเทศทีได้รับการประกันความเป็นกลาง เพือบุกฝรั่งเศส ่ ่ ตามแผนชลีฟ เฟิน (Schlieffen Plan : แผนการรบของ เยอรมนีด้วยวิธีรบรุกอย่างรวดเร็ว เพือจะพิชิตฝรั่งเศส ่ สหภาพโซเวียต และอังกฤษ) อังกฤษจึงประกาศสงครามต่อ
  • 21. สงครามขยายออกเป็น 2 ฝ่า ย คือ 1. ฝ่า ยมหาอำา นาจพัน ธมิต ร (The Allied Powers) ประกอบด้วย อังกฤษ ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต เซอร์เบีย เบลเยียม รวมทังอิตาลีทเปลี่ยนใจเข้ากับ ้ ี่ ฝ่ายมหาอำานาจพันธมิตรเพราะต้องการทีจะผนวกดิน ่ แดนของออสเตรีย-ฮังการีทมชาวอิตาลีอาศัยอยู่ ี่ ี จำานวนมากและชาติอื่นๆ รวมทั้งญีปุ่นและ ่ สหรัฐอเมริกา ที่เมือเริ่มสงครามประกาศนโยบายต่าง ่ 2. ฝ่า ยมหาอำา นาจกลาง (The Central ประเทศแบบเป็นกลาง จนกระทังเมือ ค.ศ. 1917 จึง ่ ่ Powers)เข้าข้างฝ่ายมหาอำานาจพันธมิตร ประกอบด้วย เยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี ตุรกี และ บัลแกเรีย
  • 22. Leaders of the Major Allied Powersofas of George V, King the United Kingdom 1917 Raymond Poincaré, President of France Woodrow Wilson, President of the United States Vittorio Emanuele III, King of Italy Albert I, King of the Belgium
  • 23. All the Allied Powers' Flags as of 1917
  • 24. Leaders of the Major Central Powers Kaiser Wilhelm II: German Emperor Franz Joseph: Emperor of Austria-Hungary
  • 25. At this point there were two major alliances, the Allied powers, the Central powers, and their supporters. The rest were neutral.
  • 26. แผนที่แ สดงประเทศผูเ ข้า ร่ว ม ้ สงครามโลกครั้ง ที่ 1 สีเขียว คือ ฝ่ายมหาอำานาจ สัมพันธมิตร สีส้ม คือ ฝ่ายมหาอำานาจ
  • 27. การรบในสงครามโลกครั้งที่ 1 มีการรบทังทาง ้ อากาศ ทางบก และทางเรือ ประเทศคู่สงครามต่าง ประดิษฐ์อาวุธยุทโธปกรณ์ใหม่ๆ ทีมอำานาจการทำาลาย ่ ี สูงมาใช้ เช่น อังกฤษเป็นชาติแรกทีประดิษฐ์เรือดำานำ้าที่ ่ เรียกว่า เรือยู (U-Boat) ” เป็นเรือดำานำ้าที่ผลิตโดยประเทศอังกฤษในระหว่างสงครามโลกคร
  • 28. ปลายสงคราม เยอรมนีเริ่มพ่ายแพ้ในการรบ ทหาร และประชาชนชาวเยอรมันได้ก่อการปฏิวัติ คณะรัฐบาล ถูกยุบ กษัตริยเยอรมันทรงสละราชสมบัติแล้วเสด็จไป ์ ประทับทีเนเธอร์แลนด์ จักรวรรดิเยอรมนีล่มสลายลงและ ่ เปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบสาธารณรัฐเมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ 1918 ผู้นำาคณะรัฐบาลชุดใหม่ขอ สงบศึกกับฝ่ายสัมพันธมิตรและลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติลง (เมือใน ค.ศ. 1918) ่ พระเจ้าไกเซอร์วิลเลียมที่ 2
  • 29. สถานการณ์ข องสงคราม - แนวรบด้า นตะวัน ตก กองทัพเยอรมันบุกประเทศเบลเยียมตามแผนชลี ฟเฟินเพือโจมตีฝรั่งเศส โดยยึดเบลเยียมได้เกือบทัง ่ ้ ประเทศรวมถึงภาคเหนือของฝรั่งเศส แต่ได้รับการต่อ ต้านจากฝ่ายมหาอำานาจสัมพันธมิตรจนไม่สามารถรุก ต่อไปยังกรุงปารีสได้11 ทหารเยอรมันในตู้รถไฟขนสินค้าขณะไปยังแนวหน้าใน ค.ศ. 1914 ข้อความบนตู้เขียนว่า "ทริปไปปารีส" ในช่วงต้นของ
  • 30. - แนวรบด้า นตะวัน ออก สหภาพโซเวียตส่งกองทัพเข้าโจมตีเยอรมนี และออสเตรีย-ฮังการี ในระยะแรกสหภาพโซเวียตเป็น ฝ่ายได้ชัยชนะ แต่หลังจาก ค.ศ. 1915 กองทัพ สหภาพโซเวียตเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ กองทัพเยอรมันยึด เมืองวอร์ซอและเมืองวิลนาในโปแลนด์ ทำาให้สหภาพ โซเวียตสูญเสียทหารกว่า 1 ล้านคน เชลยศึกรัสเซียที่เทนเนนแบร์ก
  • 31. - แนวรบด้า นบอลข่า น กองทัพออสเตรีย-ฮังการีไม่สามารถเอาชนะเซ อร์เบียได้ แต่เมือตุรกีและบัลแกเรียเข้าช่วยฝ่าย ่ มหาอำานาจกลาง กองทัพฝ่ายมหาอำานาจกลางก็ สามารถยึดครองประเทศเซอร์เบีย แอลเบเนีย และมอน เตเนโกรได้ ทหารออสเตรียประหารชีวิตชาวเซอร์เบียที่ ทหารบัลแกเรียในสนามเพลาะ ถูกจับเป็นเชลยใน ค.ศ. 1917 เซอร์เบียสูญ เตรียมยิงอากาศยานที่กำาลังมา เสียประชากรราว 850,000 คน หนึ่งในสี่ ของประชากรก่อนสงคราม และทรัพยากร
  • 32. - แนวรบทางทะเล กองทัพเรืออังกฤษสามารถเอาชนะกองทัพเรือ เยอรมัน และตัดขาดเส้นทางคมนาคมในมหาสมุทร แอตแลนติกและทะเลเมดิเตอร์เรเนียนได้สำาเร็จ ต่อมาเยอรมนีใช้เรือดำานำ้าทำาลายเรือรบและเรือสินค้า รอบๆ เกาะอังกฤษ ส่งผลให้เรือกลไฟของฝรั่งเศสชื่อ ซัสเซก ทีมชาวอเมริกันโดยสารมาด้วยเสียชีวิต แม้ ่ ี รัฐบาลของสหรัฐอเมริกาจะประท้วง แต่เยอรมนีก็ยงคง ั ทำาสงครามด้วยเรือดำานำ้าต่อไป สหรัฐอเมริกาจึงตัดสิน ใจเข้าช่วยฝ่ายมหาอำานาจสัมพันธมิตร และประกาศ สงครามกับเยอรมนีเมือวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917 ่
  • 33. กองเรือรบ ประจัญบานแห่ง กองเรือทะเลหลวง ในมหาสมุทร แอตแลนติก HMS Lion ระหว่างยุทธนาวีจัต แลนด์ หลังถูกระดมยิง อย่างหนัก จากเรือรบเยอรมัน
  • 34. - การเข้า ร่ว มสงครามของสหรัฐ อเมริก า สหรัฐอเมริกาส่งทหารและยุทโธปกรณ์ทางบก ทางเรือ และทางอากาศเข้าร่วมรบและปราบปรามเรือ ดำานำ้าของเยอรมนี และได้เพิ่มกำาลังทหารเข้าไปใน ยุโรปจำานวนกว่า 1 ล้านคน หลังจากนั้นกองทัพ เยอรมันก็ตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ ส่วนประเทศพันธมิตร ของเยอรมันก็เริ่มพ่ายแพ้ ในวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 ออสเตรีย- ฮังการีแยกเป็น 2 ประเทศและขอทำาสัญญาสงบศึก ต่อมาในวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เยอรมนี ลงนามในสัญญาสงบศึก สงครามโลกครั้งที่ 1 จึงยุติ ลง
  • 36.
  • 37. ผลของ สงครามโลกครั้ง ที่ 1 1. เกิด ความเสีย หายด้า นชีว ต และ ิ ทรัพ ย์ส น จำา นวนมหาศาล ิ มีทหารเสียชีวิตประมาณ 13 ล้านคน บาดเจ็บ มากกว่า 20 ล้านคน ภายหลังสงครามประชาชนใน ยุโรปต้องเผชิญกับโรคระบาด ความอดอยาก เศรษฐกิจตกตำ่าลง อุตสาหกรรมและการค้าถูกทำาลาย
  • 38. แผนภูม ิแ สดงจำา นวนทหาร ที่เ สีย ชีว ิต ในสงครามโลก ครั้ง ที่ 1
  • 39. ผลของ สงครามโลกครั้ง ที่ 1 2. เกิด ความเปลี่ย นแปลงทางด้า น มหาอำา นาจในยุโ รป ดุลอำานาจในยุโรปเปลี่ยนไป จักรวรรดิ ออสเตรีย-ฮังการีและจักรวรรดิออตโตมันสลายตัว ดินแดนส่วนใหญ่ถูกแบ่งให้ประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร แต่แม้จะชนะสงครามก็อ่อนแอลงและเสียหายอย่าง หนัก ทำาให้เกิดมหาอำานาจใหม่ ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ทีมบทบาทเพิ่มขึ้นในการเมืองโลก และญี่ปุ่นกลาย ่ ี เป็นมหาอำานาจในเอเชียและได้ครอบครอง อาณานิคมต่างๆ ของเยอรมนีในเอเชีย
  • 40. ผลของ สงครามโลกครั้ง 3. เกิด ที่ 1 ประเทศใหม่ จัก รวรรดิอ อสเตรีย -ฮัง การี แตกออก เป็นประเทศเอกราชใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวียน ล่มสลาย แผ่นดินเดิม จัก รวรรดิอ อตโตมั ของจักรวรรดินอกจากที่ราบสูงอนาโตเลียได้ถูก แบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ชนะสงคราม สหภาพโซเวีย ต ซึ่งได้ถอนตัวจาก สงครามในปี 1917 ได้สูญเสียดินแดนของตนเป็น จำานวนมากทางชายแดนด้านตะวันตกกลายเป็น ประเทศใหม่ บ เดิม เอสโตเนีย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิ อาหรั ได้แก่ กลายเป็น ทัรกี ย และ โปแลนด์ ประเทศตุ วเนี
  • 42. ผลของ สงครามโลกครั้ง ที่ ่อ งมื 4. เกิด การพัฒ นาเครื1 อ เครื่อ ง ใช้ อาวุธ ยุท โธปกรณ์ เช่น ปืนใหญ่ ปืนกล แก๊สพิษ รถถัง เรือดำา นำ้า โดยเฉพาะเครื่องบินประเภทต่างๆ ซึ่งนำาไปสู่ การประดิษฐ์เครื่องบินโดยสารในเวลาต่อมา รถถัง Mark I พัฒนาขึ้นโดยกองทัพบกอังกฤษ ใน ระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 1
  • 43. ซากเรือดำานำ้า HMS E-18 ของ อังกฤษ ทีหายสาบสูญไประหว่างลาดใน ่ บริเวณทะเลบอลติก เรือรบ QUEEN ELIZABETH CLASS เรือรบที่ฝ่ายอังกฤษสร้างขึนเมื่อ ้ สงครามโลกครั้งที่ 1 และปรับปรุงใช้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วย
  • 44. ผลของ 5. เกิด การเปลีย นแปลงการปกครองในประเทศ ่ ต่า งๆ เช่น ออสเตรีย เปลี่ยนการปกครองเป็นสาธารณรัฐ เรียก สงครามโลกครั้ง ว่า สาธารณรัฐออสเตรียที่ 1 ส่วนเยอรมนีเปลี่ยนการปกครอง เป็นสาธารณรัฐ ซึ่งต่อมาเรียที่ า1 กว่ สาธารณรัฐไวมาร์ สำาหรับสหภาพโซเวียตเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นระบอบ สังคมนิยม โดยเปลียนชื่อ ประเทศเป็นสหภาพสาธารณรัฐ ่ สังคมนิยมโซเวียตหรือสหภาพโซเวียต (The Union of Soviet Socialist Republics : U.S.S.R) เมื่อ ค.ศ. 1918 เนื่องจากการทำาสงครามยาวนานทำาให้เกิดภาวะขาดแคลน ต่างๆ และรัฐบาลไม่สามารถแก้ไขได้ ประกอบกับการพ่ายแพ้ ในการรบอยูเนืองๆ ชาวรัสเซียจึงก่อการปฏิวัติขึ้นก่อน ่ สงครามโลกยุติลง กล่าวได้ว่าสงครามโลกครั้ง ที่ 1 เป็น ตัว เร่ง ที่ท ำา ให้เ กิด รัฐ สัง คมนิย มคอมมิว นิส ต์แ ห่ง แรกของ โลก อียปต์ ปาเลสไตน์ จอร์แดน และอิรัก เปลี่ยนเป็นรัฐใน ิ
  • 45. ผลของ สงครามโลกครั้ง 6. ประเทศผู้แ พ้ส งครามเมือ ถูก ลงโทษด้ว ย ่ ที่ งทรั การเสีย ดิน แดน สูญเสียแหล่1 พยากร และต้อง จ่ายค่าปฏิกรรมสงครามอย่างหนัก สร้างความไม่ พอใจเป็นอย่างยิงว่าไม่ได้รับความเป็นธรรม เป็น ่ สาเหตุหนึงทีทำาให้เกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ขึ้นอีก ่ ่ 7. ประเทศทัง หลายตระหนัก ถึง ความหายนะของ ้ สงคราม และพยายามที่จะหาทางไม่ให้เกิดสงครามอีก ผู้นำาแต่ละประเทศต่างต้องการเจรจาทำาสัญญาสันติภาพ โดยจัดตั้งองค์การระหว่างประเทศสันนิบาตชาติขึ้น
  • 46. สนธิส ัญ ญาแวร์ซ าย (Treaty of Versailles) เป็นสนธิสัญญาสันติภาพทีจัดทำาขึ้นเมือวันที่ 28 ่ ่ มิถุนายน ค.ศ. 1919 ณ พระราชวังแวร์ซาย ประเทศ ฝรั่งเศส ซึ่งเป็นการยุติสถานะสงครามระหว่างฝ่าย สัมพันธมิตรและจักรวรรดิเยอรมัน ซึ่งเป็นฝ่ายพ่ายแพ้ใน สงครามโลกครั้งที่ 1 ส่วนกลุ่มประเทศฝ่ายมหาอำานาจ กลางอื่น ๆ ได้มการตกลงยกเลิกสถานภาพสงครามด้วย ี สนธิสัญญาฉบับอื่น แม้จะได้มการลงนามสงบศึกตั้งแต่ ี วันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 แล้วก็ตาม การ ประชุมสันติภาพทีกรุงปารีสกินเวลานานกว่า 6 เดือน จึง ่ ได้มการสรุปสนธิสัญญา ี
  • 48. สนธิส ัญ ญาแวร์ซ าย (Treaty of Versailles) ผลจากสนธิส ญ ญา ั สนธิสญญาได้กำาหนดให้จักรวรรดิเยอรมันต้อง ั ยินยอมรับผิดในฐานะผู้ก่อสงครามแต่เพียงผู้เดียว ภาย ใต้ข้อตกลงทีเรียกว่า อนุประโยคความรับผิดใน ่ อาชญากรรมสงคราม เยอรมนีถูกปลดอาวุธ ถูกจำากัด อาณาเขตดินแดน และต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามให้ แก่กลุ่มประเทศฝ่ายไตรภาคีเป็นจำานวนมหาศาล เมือปี ค.ศ. 1921 ได้ประเมินว่ามูลค่าของค่า ่ ปฏิกรรมสงครามทีเยอรมนีจะต้องจ่ายนันสูงถึง ่ ้ 132,000 ล้านมาร์ก (ราว 31,400 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือ 6,600 ล้านปอนด์) เป็นจำานวนทีมากเกินกว่าจะ ่
  • 49. ไทยกับ การเข้า ร่ว มสงครามโลก ครั้ง ที่ 1 พ.ศ. 2457งเกิดขึ้นในรัชสมัยของ สงครามโลกครั้งที่หนึ่ - 2461 รัชกาลที่ 6 เมือ พ.ศ. 2457 ไทยตั้งตัวเป็นกลาง จน ่ กระทังวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 ไทยจึงได้ ่ ประกาศสงครามกับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี และ ส่งทหารอาสาสมัครไปช่วยรบ 1,233 นาย ในจำานวนนี้ เสียชีวิต 19 นาย ทหารอาสาออกเดินทางเมือ พ.ศ. 2461 ถึง ่ ประเทศฝรั่งเศสอยู่ใต้บัญชาการของนายพล เปแตง ซึ่งขณะนั้นดำารงตำาแหน่งแม่ทพใหญ่ฝ่ายสัมพันธมิตร ั ได้ไปปฏิบัติการในสมรภูมประเทศฝรั่งเศสและ ิ เบลเยียม ่
  • 50. กองทหารไทยในดิน ทหารไทยสวนสนาม แดนเยอรมนี ที่องกฤษ ั
  • 51. ไทยกับ การเข้า ร่ว มสงครามโลก ครั้ง ที่ 1 เมือเสร็พ.ศ. 2457 นาจพันธมิตรเป็นฝ่ายชนะ ่ จสงคราม มหาอำา - 2461 ประเทศไทยได้ส่งผู้แทนเข้าประชุม ณ พระราชวังแวร์ซาย ด้วย ผลพลอยได้จากการเข้าสงครามนีคือ สัญญาต่าง ๆ ที่ ้ ไทยทำากับเยอรมนีและออสเตรีย-ฮังการี ย่อมสิ้นสุดลง ตั้งแต่ไทยประกาศสงคราม และไทยขอเจรจาข้อแก้ไข สนธิสัญญาฉบับเก่า ซึ่งทำาไว้กบอังกฤษ ฝรั่งเศส และชาติ ั อื่น ๆ โดยได้ความช่วยเหลือจาก ดร. ฟรานซิส บีแซร์ (Dr. Francis B. Sayre) ชาวอเมริกา ซึงเคยเป็นที่ ่ ปรึกษาต่างประเทศ จนได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยากัลยา ณ ไมตรี ในที่สดประเทศต่าง ๆ 13 ประเทศ ุ รวมทังอังกฤษตามสนธิสัญญา พ.ศ. 2468 และฝรั่งเศส ้
  • 52. ผลที่ไ ทยได้ร ับ จากการเข้า ร่ว ม 1. เป็นการเผยแพร่ชื่อเสียงและเกียรติค้ง ที่ 1 สงครามโลกครั ุณของประเทศ 2. ได้รับเกียรติเข้าร่วมทำาสัญญาสันติภาพแวร์ซายส์ 3. เมือสงครามสงบได้รับเชิญเข้าเป็นสมาชิกประเภทริเริ่ม ่ ขององค์การสันนิบาตชาติ เป็นหลักประกันเอกราชและ ความปลอดภัยของประเทศ 4. แก้ไขสัญญาทีทำาไว้แต่รัชกาลที่ 4 เป็นผลสำาเร็จ ยกเลิก ่ สัญญาต่าง ๆ ทีไทยทำากับเยอรมันและออสเตรีย-ฮังการี ่ และทำาสัญญากับประเทศต่าง ๆ ใหม่ 5. ได้ยดทรัพย์จากเชลย ึ 6. เปลี่ยนธงชาติจากธงช้างมาเป็นธงไตรรงค์ เพื่อนำาไปใช้ ในกองทัพไทยทีเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 1 ่ 7. สร้างอนุสาวรียเกี่ยวกับสงครามโลกครั้งที่หนึงคือ ์ ่ อนุสาวรีย์ทหารอาสา วงเวียน 22 กรกฎา สมาคมสหาย