SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
(Science Show)
1. ชื่อเรื่องมหัศจรรย์ไฟกับกลไกน้า
โดย 1. นางสาวบุปผา กองสุข
2. นายกอบกุล สิทธิสอน
3. นางสาวจริญญา วงค์เมือง
2. มูลเหตุจูงใจ (อธิบายถึงที่มาของเรื่องที่น้ามาเสนอ)
จากที่ได้เรียนในเรื่องคุณสมบัติของสารและความดันแรงดันในชั้นเรียน รวมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบันที่
พบเหตุได้ทั่วไป ทั้งในละครที่คนถูกไฟไหม้ ทาให้เราเกิดความสงสัยว่าทาไมไฟถึงไหม้ได้ โดยที่คนไม่เป็นอะไร
จึงทาให้เราคิดจัดกิจกรรมการทดลองที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ นั่นก็คือ “ผ้าผจญเพลิงนั่นเอง” จากที่
เราพบเห็นขยะต่างๆมากมาย จึงทาให้เราคิดวิธีลดขยะ โดยการนามาดัดแปลงใช้ประโยชน์ เราจึงคิดกิจกรรม
นาเสนอ “การตัดขวดด้วยเชือก” นอกจากนี้เราได้รับทราบข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติ นั่นก็คือ “น้าท่วม” จึงทาให้เราศึกษาว่าเกิดจากอะไรและคิดกิจกรรมที่สามารถอธิบายเหตุการณ์
ต่างๆในธรรมชาติที่เกี่ยวกับน้าได้ เราจึงคิดกิจกรรม “น้าเปลี่ยนสี” เพื่อแสดงให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้เรา
ขนาดไหน
3. เนือหาโดยย่อ
3.1 ผ้าผจญเพลิง
วัสดุอุปกรณ์
1. ผ้า
2. เมทานอล
3. น้าเปล่า
4. เกลือแกง
5. ไฟแช็ค
6. คีมโลหะ
7. ถาดรอง
วิธีทดลอง
นาผ้าชุบลงไปในสารละลายไม่มีสีที่เตรียมไว้จากนั้นใช้คีมโลหะคีบผ้าชิ้นนี้นาไปใกล้
เปลวไฟ ปล่อยให้ไฟลุกติดที่ผ้าแล้วนาไปวางที่แผ่นกันไฟหรือวางกระบะทราย แล้วสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้นกับ
ผ้า จะเห็นว่าตอนแรกไฟจะลุกท่วมผ้าผืนนั้น และเปลวไฟจะมีสีเหลือง-ส้ม สวยงาม หลังจากนั้นไฟจะดับ
แต่ผ้าจะเหมือนเดิมทุกประการ
2
หลักการ
ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วม
เมทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์ที่มีจุดเดือดต่ากว่าน้า ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าแอกอฮอล์
พอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปในสารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสง
โซเดียม
การน้าไปใช้ประโยชน์
ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้
จริงจะมีชุดป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย
3.2 เชือกตัดขวด
วัสดุ-อุปกรณ์
1. ขวดแก้ว
2. เชือกไหมพรม
3. น้ามันก๊าด
4. ไฟแช็ค
5. ถาดรอง
6. น้าเปล่า
7. ผ้า
8. สีผสมอาหาร
วิธีการทดลอง
ใส่น้าที่ผสมสีลงไปในขวดแก้วที่เตรียมไว้ประมาณเกือบครึ่งขวด นาไหมพรมที่แช่
น้ามันก๊าดมาพันให้อยู่เสมอกับระดับน้าในขวด จากนั้นจุดไฟเผาไหมพรม รอให้ไฟไหม้ไหมพรมจนหมด แล้ว
เทน้าราดลงไปบริเวณที่พันเชือกไหมพรมไว้โดยรอบขวด จากนั้นสามารถใช้ผ้าจับคอขวดยกออกได้อย่าง
ง่ายดาย
หลักการ
หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่ง
เป็นวัสดุที่เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความ
ร้อนอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับ
ด้านล่างของขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบใน
ระดับเดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
3
การน้าไปใช้ประโยชน์
สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น
แจกัน ฯลฯ
3.3 น้าเปลี่ยนสี
วัสดุ-อุปกรณ์
1. กระป๋องพลาสติก 3 ใบ
2. สายพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร จานวน
3 เส้น
3. ถ้วยแก้วพลาสติกขนาด 180 มิลลิลิตร 3 ใบ
4. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ใบ
5. สีผสมอาหาร 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีเขียว
6. น้าเปล่า
วิธีทดลอง
เทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 ให้น้าไหลออกจากสายพลาสติกสู่ภาชนะใบที่ 2, 3
และ 4 ตามลาดับ โดยสังเกตที่สายพลาสติกที่ต่อออกจากภาชนะแต่ละใบรวมทั้งภาชนะรองรับใบสุดท้ายว่า
น้าที่ไหนมีสีอะไร เมื่อเทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 จะมีน้าสีแดงไหลออกมาทางสายพลาสติก ลงไปใน
ภาชนะใบที่ 2 จากนั้นจะมีน้าสีเหลืองไหลลงสู่ภาชนะใบที่ 3 ท้ายที่สุดจะมีน้าสีเขียวไหลลงไปในภาชนะ
รองรับใบที่ 4
หลักการ
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี
ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่
เติมไว้ไหลออกมาแทน
การน้าไปใช้ประโยชน์
นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราต้องการรู้
4. การน้าหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้
3.1 ผ้าผจญเพลิง
ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วมเมทานอล ซึ่ง
เป็นแอลกอฮอล์ ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าพอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปใน
สารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสงโซเดียม
3.2 เชือกตัดขวด
หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่งเป็นวัสดุที่
เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความร้อนอย่าง
4
รวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับด้านล่างของ
ขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบในระดับ
เดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
3.3 น้าเปลี่ยนสี
ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี
ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่
เติมไว้ไหลออกมาแทน
5. การน้าไปใช้ประโยชน์
3.1 ผ้าผจญเพลิง
ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้จริงจะมีชุด
ป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย
3.2 เชือกตัดขวด
สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น
แจกัน
3.3 น้าเปลี่ยนสี
นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราอยากรู้
5
อ้างอิง
วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์. กลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2552.
สมิธ อลาสแตร์. สนุกสุดท้าทายกับการทดลอง. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2550.
คลิปวีดีโอ. ISCi : episode 38 – น้าเปลี่ยนสี [ออนไลน์]; เข้าถึงได้จาก
http://www.youtube.com/watch?v=vJqRiQsPFP8. สืบค้นวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554.

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์weerawato
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 

La actualidad más candente (20)

ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์ข้อสอบวิทย์
ข้อสอบวิทย์
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
เฉลยชีววิทยาหน้า52- 59
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
2ชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 

Destacado

ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)Tanja Likso
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pageใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3ทศพล พรหมภักดี
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 

Destacado (10)

ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
ใบความรู้+อากาศอยู่ที่ไหน+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f10-1page
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
236936.Tanja_magisterij_cijeli1_bib._jed_236936 (1)
 
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
ใบความรู้+หูกับการได้ยิน+ป.5+276+dltvscip5+54sc p05 f31-1page
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1pageใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
ใบความรู้+อากาศมีคุณสมบัติอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f13-1page
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์

  • 1. แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์ (Science Show) 1. ชื่อเรื่องมหัศจรรย์ไฟกับกลไกน้า โดย 1. นางสาวบุปผา กองสุข 2. นายกอบกุล สิทธิสอน 3. นางสาวจริญญา วงค์เมือง 2. มูลเหตุจูงใจ (อธิบายถึงที่มาของเรื่องที่น้ามาเสนอ) จากที่ได้เรียนในเรื่องคุณสมบัติของสารและความดันแรงดันในชั้นเรียน รวมทั้งเหตุการณ์ในปัจจุบันที่ พบเหตุได้ทั่วไป ทั้งในละครที่คนถูกไฟไหม้ ทาให้เราเกิดความสงสัยว่าทาไมไฟถึงไหม้ได้ โดยที่คนไม่เป็นอะไร จึงทาให้เราคิดจัดกิจกรรมการทดลองที่น่าสนใจและเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ นั่นก็คือ “ผ้าผจญเพลิงนั่นเอง” จากที่ เราพบเห็นขยะต่างๆมากมาย จึงทาให้เราคิดวิธีลดขยะ โดยการนามาดัดแปลงใช้ประโยชน์ เราจึงคิดกิจกรรม นาเสนอ “การตัดขวดด้วยเชือก” นอกจากนี้เราได้รับทราบข่าวสารจากสื่อโทรทัศน์ ที่เป็นภัยพิบัติทาง ธรรมชาติ นั่นก็คือ “น้าท่วม” จึงทาให้เราศึกษาว่าเกิดจากอะไรและคิดกิจกรรมที่สามารถอธิบายเหตุการณ์ ต่างๆในธรรมชาติที่เกี่ยวกับน้าได้ เราจึงคิดกิจกรรม “น้าเปลี่ยนสี” เพื่อแสดงให้เห็นว่าวิทยาศาสตร์อยู่ใกล้เรา ขนาดไหน 3. เนือหาโดยย่อ 3.1 ผ้าผจญเพลิง วัสดุอุปกรณ์ 1. ผ้า 2. เมทานอล 3. น้าเปล่า 4. เกลือแกง 5. ไฟแช็ค 6. คีมโลหะ 7. ถาดรอง วิธีทดลอง นาผ้าชุบลงไปในสารละลายไม่มีสีที่เตรียมไว้จากนั้นใช้คีมโลหะคีบผ้าชิ้นนี้นาไปใกล้ เปลวไฟ ปล่อยให้ไฟลุกติดที่ผ้าแล้วนาไปวางที่แผ่นกันไฟหรือวางกระบะทราย แล้วสังเกตว่าเกิดอะไรขึ้นกับ ผ้า จะเห็นว่าตอนแรกไฟจะลุกท่วมผ้าผืนนั้น และเปลวไฟจะมีสีเหลือง-ส้ม สวยงาม หลังจากนั้นไฟจะดับ แต่ผ้าจะเหมือนเดิมทุกประการ
  • 2. 2 หลักการ ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วม เมทานอล ซึ่งเป็นแอลกอฮอล์ที่มีจุดเดือดต่ากว่าน้า ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าซึ่งมีจุดเดือดสูงกว่าแอกอฮอล์ พอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปในสารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสง โซเดียม การน้าไปใช้ประโยชน์ ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้ จริงจะมีชุดป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย 3.2 เชือกตัดขวด วัสดุ-อุปกรณ์ 1. ขวดแก้ว 2. เชือกไหมพรม 3. น้ามันก๊าด 4. ไฟแช็ค 5. ถาดรอง 6. น้าเปล่า 7. ผ้า 8. สีผสมอาหาร วิธีการทดลอง ใส่น้าที่ผสมสีลงไปในขวดแก้วที่เตรียมไว้ประมาณเกือบครึ่งขวด นาไหมพรมที่แช่ น้ามันก๊าดมาพันให้อยู่เสมอกับระดับน้าในขวด จากนั้นจุดไฟเผาไหมพรม รอให้ไฟไหม้ไหมพรมจนหมด แล้ว เทน้าราดลงไปบริเวณที่พันเชือกไหมพรมไว้โดยรอบขวด จากนั้นสามารถใช้ผ้าจับคอขวดยกออกได้อย่าง ง่ายดาย หลักการ หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่ง เป็นวัสดุที่เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความ ร้อนอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับ ด้านล่างของขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบใน ระดับเดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง
  • 3. 3 การน้าไปใช้ประโยชน์ สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น แจกัน ฯลฯ 3.3 น้าเปลี่ยนสี วัสดุ-อุปกรณ์ 1. กระป๋องพลาสติก 3 ใบ 2. สายพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1 เซนติเมตร ยาว 12 เซนติเมตร จานวน 3 เส้น 3. ถ้วยแก้วพลาสติกขนาด 180 มิลลิลิตร 3 ใบ 4. บีกเกอร์ขนาด 250 มิลลิลิตร 2 ใบ 5. สีผสมอาหาร 3 สี ได้แก่ สีแดง สีเหลือง สีเขียว 6. น้าเปล่า วิธีทดลอง เทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 ให้น้าไหลออกจากสายพลาสติกสู่ภาชนะใบที่ 2, 3 และ 4 ตามลาดับ โดยสังเกตที่สายพลาสติกที่ต่อออกจากภาชนะแต่ละใบรวมทั้งภาชนะรองรับใบสุดท้ายว่า น้าที่ไหนมีสีอะไร เมื่อเทน้าเปล่าลงไปในภาชนะใบที่ 1 จะมีน้าสีแดงไหลออกมาทางสายพลาสติก ลงไปใน ภาชนะใบที่ 2 จากนั้นจะมีน้าสีเหลืองไหลลงสู่ภาชนะใบที่ 3 ท้ายที่สุดจะมีน้าสีเขียวไหลลงไปในภาชนะ รองรับใบที่ 4 หลักการ ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่ เติมไว้ไหลออกมาแทน การน้าไปใช้ประโยชน์ นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราต้องการรู้ 4. การน้าหลักการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ 3.1 ผ้าผจญเพลิง ผ้าผจญเพลิงที่ไฟไหม้แล้วดับไปโดยที่ไม่ไหม้ผ้าด้วย เป็นเพราะไฟนั้นจะลุกท่วมเมทานอล ซึ่ง เป็นแอลกอฮอล์ ขณะเดียวกันผ้านั้นมีน้าพอที่จะป้องกันไฟไหม้ได้ส่วนโซเดียมคลอไรด์ที่เติมลงไปใน สารละลายจะทาให้เปลวไฟสว่างสุกใสด้วยแสงโซเดียม 3.2 เชือกตัดขวด หลักการสาคัญ คือ การขยายตัวของความร้อน ขวดแก้วทั่วไปใช้แก้วธรรมดาซึ่งเป็นวัสดุที่ เปราะแตกง่ายและนาความร้อนได้ดี เมื่อเราจุดไฟเผาที่ผิวด้านนอกที่ใส่น้าไว้จึงเป็นการให้ความร้อนอย่าง
  • 4. 4 รวดเร็ว ทาให้เกิดความแตกต่างของการขยายตัวทั้งด้านนอกกับด้านในของขวด และด้านบนกับด้านล่างของ ขวดอย่างมาก เมื่อใส่ลงไปในถังก็คือการเปลี่ยนอุณหภูมิอย่างฉับพลัน จึงทาขวดแตกโดยรอบในระดับ เดียวกันกับน้าและเชือกที่ผูกไว้นั้นเอง 3.3 น้าเปลี่ยนสี ใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการแทนที่ของน้า ในภาชนะแต่ละใบจะมีน้าสี ต่างๆ อยู่ในภาชนะแล้ว และมีภาชนะรองรับน้าอีกชั้นหนึ่งภายในเมื่อน้าไหลลงในภาชนะภายในจะทาให้น้าที่ เติมไว้ไหลออกมาแทน 5. การน้าไปใช้ประโยชน์ 3.1 ผ้าผจญเพลิง ผ้าผจญเพลิง ที่นามาใช้นี้เป็นเช่นเดียวกับการแสดงละครหรือมายากลแต่เวลาใช้จริงจะมีชุด ป้องกันที่รัดกุมขึ้นด้วย 3.2 เชือกตัดขวด สามารถนาไปประดิษฐ์วัสดุเหลือใช้ให้เป็นประโยชน์ เช่น ตัดขวดแก้วเพื่อทาเป็น แจกัน 3.3 น้าเปลี่ยนสี นาไปใช้ในการหาปริมาตรของวัตถุรูปทรงต่างๆ ที่เราอยากรู้
  • 5. 5 อ้างอิง วีรวัฒน์ กนกนุเคราะห์. กลวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2552. สมิธ อลาสแตร์. สนุกสุดท้าทายกับการทดลอง. พิมพ์ครั้งที่ 14. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์, 2550. คลิปวีดีโอ. ISCi : episode 38 – น้าเปลี่ยนสี [ออนไลน์]; เข้าถึงได้จาก http://www.youtube.com/watch?v=vJqRiQsPFP8. สืบค้นวันที่ 14 พฤศจิกายน 2554.