SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 62
Descargar para leer sin conexión
เซลลของสิ่งมีชีวิต




                      1
ประวัติ
   ศตวรรษ 17 กาลิเลโอ ประดิษฐแวนกําลังขยาย 2-5 เทา สองดูสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ
   Janssen ประดิษฐกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสประกอบ ซึ่งประกอบดวย
    แวนขยาย 2 อัน แตยังไมสามารถสองดูอะไรได
    Robert Hooke ไดประดิษฐกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสประกอบ ที่มีลํา
    กลอง รูปรางสวยงาม ปองกันแสงภายนอกรบกวนได และไมตองถือเลนส
    ใหซอนกัน ไดตรวจดูไมคอรกที่ฝานบางๆ ดวยมีดโกน พบวา ไมคอรกประ
    กอบด ว ย ช องเล็ ก ๆ มากมาย เขาเรี ย กช อ งเล็ ก ๆ เหล า นั้ น ว า "cell" ซึ่ ง
    หมายความถึง หองวางๆ หรือหองขัง เซลลที่ฮุคเห็นเปนเซลลที่ตายแลว
    เหลือแตผนังเซลลของพืช ที่แข็งแรงกวาเยื่อหุมเซลลในสัตว จึงทําใหคง
    รูปรางอยูไดเพราะผนังเซลลมีสารประกอบ พวกเซลลูโลส และซูเบอริน
    ดังนั้น ฮุคจึงไดชื่อวา เปนผูตั้งชื่อเซลล
                                                                                     2
ประวัติ (ตอ)
   Leeuwenhoek ชาวฮอลันดา ไดสรางกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสเดี่ยว จาก
    แวนขยายที่เขาฝนเอง ซึ่งสามารถขยายไดถึง 270 เทา เขาใชกลองจุลทรรศน
    ตรวจดูหยดน้ํา จากบึง และแมน้ํา และจากน้ําฝน ที่รองเก็บไวในหมอ เห็น
    สิ่งมีชีวิต ชนิดเล็กๆ มากมาย คือ พบแบคทีเรีย สาหราย โพรโทซัว สัตวน้ํา
    ขนาดเล็ก แลวยังสองดูสิ่งตางๆ เชน เม็ดโลหิตแดง เซลลสืบพันธุ ของสัตว
    เพศผู กลามเนื้อ เปนตน จึงไดสงขอมูลเผยแพร ทําใหไดชื่อวาเปนคนพบ
    จุลินทรียเปนคนแรก
   Theodor Schwann นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ศึกษาเนื้อเยื่อ ของสัตว
    หลายๆ ชนิด แลวสรุปไดวา เนื้อเยื่อสัตวทุกชนิด ประกอบดวยเซลล ดังนั้น
    ชวันนและชไลเดน จึงรวมกันตั้ง ทฤษฎีเซลล (Cell theory) มีใจความ
    สําคัญคือ “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบดวยเซลล และเซลลคือหนวยพื้นฐาน
    ของสิ่งมีชีวิต" (All animals and plants are composed of cells and
    products)                                                             3
ทฤษฎีเซลล
   ทฤษฎีเซลล ตั้งโดย เทโอดอร ชวันน และ มัตทิอั ส ยาคอบชไลเดน มี ใ จความว า
    สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบขึ้นดวยเซลลและเซลลคือหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุก
    ชนิดและทฤษฎีเซลลในปจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญ 3 ประการคือ
            1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเซลเดียวหรือหลายเซลล และภายในเซลลมีสาร
    พันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําใหสิ่งมีชีวิตนั้นดํารงอยูได
            2. เซลลเปนหนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางาน
    ภายในเซลลและโครงสรางของเซลล
            3. เซลลตาง ๆ มีตนกําเนิดมาจากเซลลเริ่มแรกโดยการแบงเซลลของเซลลเดิม
    (ตามทฤษฎี วิ วั ฒ นาการของสารอิ น ทรี ย พบว า สิ่ ง มี ชี วิ ต แรกเริ่ ม เกิ ด มาจาก
    สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต ) แต นั ก ชี ว วิ ท ยายั ง คงถื อ ว า การเพิ่ ม ขึ้ น ของจํ า นวนเซลล เ ป น ผลสื บ
    เนื่องมาจากเซลลรุนกอน ๆ                                                                            4
ชนิดของเซลล
   Prokaryotic cells เซลลของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ํา พวกแบคทีเรีย สาหรายสี
    เขียวแกมน้ําเงิน และไมโครพลาสมา ลักษณะเดนคือ ไมมีเยื่อหุม
    นิวเคลียส และ เยื่อหุมออแกเนลล ลักษณะเซลลจะคอนขางเล็ก มีขนาด
    0.2-10 ไมโครเมตร
   Eukaryotic cells เซลลมีเยื่อหุมนิวเคลียส และมีออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม
    ไดแก เห็ด รา เซลลของพืช และสัตวทั่วๆไป มีขนาด 10-100ไมโครเมตร




                                                                                5
ตารางเปรียบเทียบ
                   ลักษณะ                         เซลลโปรคาริโอต                                 เซลลยูคาริโอต

กลุมสิ่งมีชีวิต                    แบคทีเรีย, สาหรายสีเขียว แกมน้ําเงิน (ไซยา   สาหราย, รา, โปรโตซัว, พืช, สัตว
                                    โนแบคทีเรีย)
ขนาด                                เสนผานศูนยกลาง นอยกวา 5 ไมโครเมตร        เสนผานศูนยกลาง มากกวา 5 ไมโครเมตร

การไหลเวียนของไซโตพลาสซึม           ไมมี                                         มี

ไมโทคอนเดรีย, คลอโรพลาสต,          ไมมี                                         มี
กอลจิบอดี, ER, แวคิวโอลที่มีเยื่อ                                                 (คลอโรพลาสตมีในเซลลบางชนิด)
หุม

ไรโบโซม                             70 S กระจายในไซโตพลาสซึม                      80 S เกาะตามเยื่อหุม เชน ER
                                                                                  70 S ในไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต

โครงสรางนิวเคลียส                  ไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส, มีโครโมโซม เปน   มีเยื่อหุมนิวเคลียส, มีโครโมโซมมากกวา 1 เสน
                                    วงกลมเสนเดียว, โครโมโซม ไมมีฮีสโตน ไมมี , มีฮีสโตน , มีการแบงนิวเคลียสแบบไมโตซิส
                                    การแบงเซลลแบบไมโตซิส                                                           6
สวนประกอบของเซลล

  เซลลแบงออกเปน 3 สวน คือ
         1. นิวเคลียส
         2. ไซโทพลาสซึม
         3. สวนที่หอหุมเซลล


                                  7
8
9
Animal Cell Structure
นิวเคลียส (Nucleus)




                      10
นิวเคลียส(Nucleus)
   ศูนยกลางควบคุมกระบวนการตาง ๆ ภายในเซลล
   แบงเปน 2 สวน คือ
          1. เยื่อหุมนิวเคลียส (Nuclear membrane) พบในสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริ
    โอต เปนเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น แตละชั้นประกอบดวยลิพิด 2 ชั้น เรียงซอนกัน
    (lipid bilayer) และมีโปรตีนแทรกอยูเปนระยะ ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกวา
    นิวเคลียรพอร (Nuclear pore) ทําหนาที่เปนทางผานของสารตาง ๆ ระหวาง
    ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส
          มีลักษณะเปนเยื่อเลือกผาน เชนเดียวกับเยื่อหุมเซลล เยื่อหุมนิวเคลียส
    ชั้นนอกจะติดตอกับเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และมีไรโบโซมมาเกาะ เพื่อทํา
    หนาที่ลําเลียงสารตาง ๆ ระหวางนิวเคลียสและไซโทพลาซึมดวย
                                                                               11
นิวเคลียส(Nucleus) (ตอ)
       นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm) คือ สวนตาง ๆ ที่อยูในเยื่อหุม
 นิวเคลียส ประกอบดวย
       นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ลักษณะทึบแสง เปนโครงสรางที่ไมมีเยื่อ
 หุม ประกอบดวยโปรตีนDNA และ RNA เปนสวนสําคัญในการสราง
 โปรตีน
       โครมาทิน (Chromatin) เปนสาย DNA ที่มีโปรตีนหุม ขดอยูใน
 นิวเคลียส เมื่อแบงตัวโครมาทินจะขดตัวแนนเปนแทง เรียก
 Chromosome
                                                                         12
13
ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm)
แบงออกเปน 2 สวน คือ ออรแกเนลล(Organelle) กับ ไซโทซอล(Cytosol)




                                                                 14
ออรแกเนลล (Organelle)

   คือ สวนประกอบตาง ๆ ภายในเซลล ซึ่งแตละชนิดจะมีหนาที่จําเพาะ
    เปนของตัวเอง
   บางชนิดจะมีสารพันธุกรรมเปนของตัวเอง เชน ไมโทคอนเดรีย,
    คลอโรพลาสต




                                                                  15
เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม
(Endoplasmic Reticulum : ER)
   อยูลอมรอบนิวเคลียส และบางสวนเชื่อมตอกับ
    เยื่อหุมนิวเคลียส
   เปนที่ผลิตและลําเลียงสารในเซลล
   แบงไดเปน
    1. แบบผิวขรุขระ(Rough Endoplasmic
    Reticulum : RER)
    2. แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic
    Reticulum : SER)
            โดยทั้ง RER และ SER มีทอตอเชื่อมกัน
                                                    16
แบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic Reticulum : RER)
   มีไรโบโซมเกาะอยูที่ผิวของ
    เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม
   ทําหนาที่สังเคราะหโปรตีนแลว
    บรรจุลงในเวสิเคิล
   ลําเลียงสารสงออกนอกเซลล
    หรือสงตอไปยังกอลจิคอม
    เพล็กซ หรือไปเปน
    สวนประกอบของเยื่อหุมเซลล


                                                       17
แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum : SER)
   ไมมไรโบโซมเกาะอยูที่ผิวเอน
         ี
    โดพลาสมิค เรติคูลัม
   ทําหนาที่สังเคราะหสารสเตรอยด
    เชน ฮอรโมนเพศ ไตรกลีเซอไรด
    และสารประกอบของคอเลสเทอ
    รอล
   กําจัดสารพิษ
   ควบคุมการผานเขาออกของ
    Ca2+ ที่กลามเนื้อลายและ
    กลามเนื้อหัวใจ
   พบมากที่ เซลลสมอง, ตอมหมวก
    ไต, อัณฑะ, รังไข                                  18
ไรโบโซม (Ribosome)
   เปนออแกเนลลขนาดเล็ก ไมมีเยื่อหุม มี
    รูปรางเปนกอน
   ประกอบดวยโปรตีน และRNA
   ทําหนาที่สรางโปรตีน
   มีสองหนวยยอยอยูแยกกัน จะประกบติดกัน
    เมื่อมีการสังเคราะหโปรตีน




                                              19
กอลจิคอมเพล็กซ (Golgi Complex)
                          เปนแหลงรวบรวมการบรรจุและ
                           ขนสง
                          มักอยูใกลกับ ER
                          มีในเซลลพืชและสัตวชั้นสูงเกือบ
                           ทุกชนิด ยกเวน เซลลเม็ดเลือดแดง
                           ที่โตเต็มที่ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม
                          เติมกลุมคารโบไฮเดรตใหกับโปรตีน
                           หรือลิพิดไดเปน ไกลโคโปรตีนและ
                           ไกลโคลิพิด
                          สารเวสิเคิลเพื่อบรรจุสารเพื่อ
                           สงออกนอกเซลลหรือเก็บไวใช
                           ภายในเซลล                   20
ไลโซโซม (Lysosome)
   เปนถุงกลม มีเยื่อหุมชั้นเดียว เปน
    เวสิเคิลสรางมาจากกอลจิคอมเพล็กซ
   ไมพบในพืช พบในเซลลสัตวทุกชนิด
    ยกเวน เซลลเม็ดเลือดแดงของสัตว
    เลี้ยงลูกดวยนม
   ภายในบรรจุเอนไซมไวยอยอาหาร,
    กําจัดสิ่งแปลกปลอม, ยอยออแกเนลลที่
    เสื่อมสภาพ, ยอยสลายเซลลทั้งหมด
    เมื่อเซลลไดรับอันตรายหรือตาย
                                           21
แวคิวโอล (Vacuole)
   เปนถุงมีเยื่อหุม
   มีหลายชนิด เชน
           contractile vacuole ทําหนาที่รักษา
    สมดุลน้ํา พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน
    อะมีบา พารามีเซียม
           food vacuole ทําหนาที่บรรจุอาหาร
    ที่รับเขามาจากนอกเซลล พบในสัตว
           sap vacuole ทําหนาที่สะสมอาหาร
    และสารบางชนิด พบในพืช
                                                 22
ไมโทคอนเดรีย
    (Mitochondria)
   เปนแหลงพลังงานภายในเซลล
   เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง คือสราง ATP
   มีเยื่อหุมสองชั้น คือ ชั้นนอกจะมีลักษณะเรียบ สวนชั้นในจะพับทบแลวยื่นเขา
    ไปดานในเรียกวา คริสตี(Cristae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิว
   ภายในบรรจุของเหลว(matrix) มีเอนไซมที่เกี่ยวของกับกระบวนการหายใจ
    ระดับเซลล และการจําลองตัวของไมโทคอนเดรีย
   มีสารพันธุกรรมเปนของตัวเอง
                                                                                  23
พลาสติด (plastid)
โครโมพลาสต (Chromoplast)
   พลาสติดที่มีสารที่ใหสีตาง ๆ ยกเวน สีเขียว
   มีสาร เชน แคโรทีนอยด

ลิวโคพลาสต (Leucoplast)
    พลาสติดที่ไมมีสี
    มีหนาที่สะสมเปดแปงที่ไดจากการสังเคราะหดวยแสง
    พบในเซลลที่ทําหนาที่สะสมอาหาร เชน เซลลของราก

                                                          24
คลอโรพลาสต(chloroplasts)
   เปนพลาสติดที่มีสีเขียว มีเยื่อหุมสองชั้น ภายในมีเม็ดสีคลอโรฟลล
    (chlorophyll) บรรจุอยู พบเฉพาะในเซลลพืช และสาหราย เกือบทุกชนิด
    ประกอบดวย
          1. สโตรมา (stroma) คือ สวนที่เปนของเหลว มีเอนไซมที่เกี่ยวของ กับ
    การสังเคราะหดวยแสง แบบที่ไมตองใชแสง (dark reaction) มี DNA RNA
    และไรโบโซม และเอนไซมอีกหลายชนิด ปะปนกันอยู
          2. ไทลาคอยด (thylakoid) หรือ กรานา (grana) เปนเยื่อลักษณะคลาย
    เหรียญ ที่เรียงซอนกันอยูภายในของเหลว ระหวางกรานา จะมีเยื่อเมมเบรน
    เชื่อมใหกรานาติดตอถึงกัน เรียกวา อินเตอรกรานา (intergrana) ไทลาคอยด
    เรียงซอนเปนตั้ง เรียก กรานุม(grsnum)
                                                                                 25
พลาสติด (plastid)




                    26
เซนทริโอล (Centriole)
   เปนออรแกเนลลไมมีเยื่อหุม
   พบในเซลลสัตวและสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว แต ไมพบในเซลลพืชและเห็ดรา
   พบเปนคูตั้งฉากกัน อยูบริเวณใกล ๆ กับเยื่อหุมนิวเคลียส
   ประกอบดวยไมโครทิวบูล(microtubule) เรียงตัวกันเปนกลุม 9 กลุม โดยแต
    ละกลุมมี 3 หลอด
   บริเวณไซโทพลาสซึมที่ลอมรอบเซนทริโอล เรียก เซนโทรโซม(Centrosome)
    เปนแหลงกําเนิดเสนใยสปนเดิล ซึ่งชวยในการแบงเซลล

                                                                         27
Cytoskeleton
   เปนโครงรางค้ําจุนเซลลและเปนที่ยึดเกาะของออรแกเนลล
   ทําหนาที่ลําเลียงออรแกเนลลใหเคลื่อนที่ภายในเซลล รวมทั้งการเคลื่อนที่ของ
    เซลลบางชนิด
   แบงไดเปน 3 ชนิด ตามองคประกอบ คือ
         1. microfilament
         2. microtubule
         3. intermediate filament

                                                                               28
Microfilament or Actin filament
   ประกอบดวยโปรตีนแอกทิน(actin) ตอกันเปนสองสายพันบิดกันเปนเกลียว
   เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของเซลล เชน อะมีบา, เซลลเม็ดเลือดขาว
   ทําหนาที่ค้ําจุน เชน ในไมโครวิลไล
   ชวยในการแบงไซโทพลาซึม(cytokinesis)




                                                                        29
Microtubule
   เปนทอกลวง ประกอบดวยโปรตีนทูบูลิน
    (tubulin) เรียงตอกันเปนสาย
   เปนโครงสรางของ เสนใยสปนเดิล, ซีเลีย
    , เซนทริโอล, แฟลกเจลลัม
   ยึดและลําเลียงออรแกเนลลภายในเซลล
                                         Intermediate Filament
                                             ประกอบดวยเสนใยโปรตีน เรียงตัว
                                              เปนสายยาว ๆ 4 สาย ทั้งหมด 8 ชุด
                                              พันบิดกันเปนเกลียว
                                             จัดเรียงตัวเปนรางแหตามลักษณะ
                                              รูปรางของเซลล                    30
มีเยื่อหุม
       ออรแกเนลล                                      ไมมีเยื่อหุม
                        1 ชั้น                 2 ชั้น
เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม    ×
ไรโบโซม                                                      ×
กอลจิคอมเพลกซ           ×
ไลโซโซม                  ×
แวคิวโอล                 ×
ไมโทคอนเดรีย                                    ×
คลอโรพลาสต                                     ×
เซนทริโอล                                                    ×
ไซโทสเกเลตอน                                                 ×
                                                                         31
ไซโทซอล (Cytosol)
         Cytosol)

   เปนสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว มีประมาณ 50-60% ของปริมาตรเซลลทั้งหมด หรือ
    ประมาณ 3 เทาของปริมาตรนิวเคลียส
   บางเซลลมีการไหลของไซโทพลาสซึมไปรอบ ๆ เซลล เรียก cyclosis




                                                                          32
สวนหอหุมเซลล



                   33
ผนังเซลล(cell wall)
   เปนเยื่อหนา หุมอยูชั้นนอก ของเยื่อหุมเซลล โปรโตปลาสซึมสรางขึ้นมา
    เพื่อเพิ่มความแข็งแรง พบในแบคทีเรีย เห็ดรา สาหราย พืชชนิดตางๆ
   ในแบคทีเรีย ผนังเซลลมีโพลีแซคคาไรดเปนแกน และมีโปรตีน กับไขมัน
    ยึดเกาะ ชั้นที่ใหความแข็งแรง และอยูชั้นในสุด เรียกวา ชั้นมิวรีน หรือเป
    ปติโดไกลแคน (murein หรือ peptidoglycan)




                                                                           34
ผนังเซลล(cell wall)
   เห็ดรา ผนังเซลลเปนพวกไคติน (chitin) ซึ่งเปนสารประกอบ ชนิด
    เดียวกันกับเปลือกกุง บางครั้งอาจพบวา มีเซลลูโลสปนอยูดวย สาหราย
    ผนังเซลลประกอบดวยเพคติน (pectin) เปนสวนใหญ และมีเซลลูโลส
    ประกอบอยูดวย
   ในพืช ผนังเซลล ประกอบดวย เซลลูโลส และสารประกอบเพคติก เชน
    แคลเซียมเพคเตด เปนตน ผนังเซลลพืชที่อยูติดๆ กัน ถึงแมจะหนา และ
    แข็งแรง แตก็มีชองทางติดตอกันได เปนทางติดตอของไซโตปลาสซึมทั้ง
    2 เซลล ที่เรียกวา พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata)


                                                                      35
เยื่อหุมเซลล (cell membrane
หรือ plasma membrane)
   พบในเซลลทุกชนิด
   ควบคุมการผานเขาออกของสารระหวางภายนอกและภายในเซลล มีคุณสมบัติ
    เปนเยื่อเลือกผาน(semipermeable membrane)
   ประกอบดวย phospholipid bilayer โดย หันปลายมีขั้ว(ชอบน้ํา)ไวดานนอก
    ปลายไมมีขั้ว(ไมชอบน้ํา) ไวดานในเซลล
   มี Cholesterol, Glycolipid, Glycoprotein, Protein แทรกอยู
   ลักษณะการจัดเรียงเปนแบบ Fluid mosaic model

                                                                       36
การลําเลียงสารเขาสูเซลล
มี 2 แบบ คือ
        แบบผานเยื่อหุมเซลล แบงเปนแบบไมใชพลังงานและใชพลังงาน
        แบบไมผานเยื่อหุมเซลล ไดแก เอกโซไซโทซิส และเอนโดไซโทซิส



                                                                       37
ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล
แบบไมใชพลังงาน
   การแพร(diffusion) เปนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณความเขมขนของ
    สารละลายสูงไปต่ํา
   ออสโมซิส เปนการเคลื่อนที่ของอนุภาคน้ําจากบริเวณที่มีความเขมขนของ
    สารละลายต่ําไปยังความเขมขนสูง โดยผานเยื่อกั้น
        สารละลายไอโซโทนิก เซลลเปนปกติ [Sol.นอกเซลล] = [Sol.ในเซลล]
        สารละลายไฮเปอรโทนิก เซลลเหี่ยว [Sol.นอกเซลล] > [Sol.ในเซลล]
        สารละลายไฮโปโทนิก เซลลเตง,แตก [Sol.นอกเซลล] < [Sol.ในเซลล]

                                                                        38
ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล
แบบไมใชพลังงาน (ตอ)
   การแพรแบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion) คือ การแพรแบบใชตัวพา
    โดยใชโปรตีนที่อยูบริเวณเยื่อหุมเซลล เกิดขึ้นเมื่อความเขมขนของสารภายนอก
    เซลลสูงกวาสารภายในเซลล




                                                                               39
ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล
แบบใชพลังงาน (active transport)
   เปนการลําเลียงสารจากความเขมขนต่ํา ไปความเขมขนสูง
   อาศัยโปรตีนที่แทรกอยูระหวางเยื่อหุมเซลล
   ตองใชพลังงานที่ไดสารพลังงานสูง เชน ATP




                                                            40
ลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล
   แบงเปน 2 แบบ คือ
    Exocytosis เปนการลําเลียงสารขนาดใหญออกนอกเซลล โดยสารจะบรรจุอยูใน
    เวสสิเคิล เชน การหลั่งเอนไซมจากเยื่อบุกระเพาะอาหาร
    Endocytosis เปนการลําเลียงสารเขาสูเซลล
          Phacocytosis หรือ เซลลEating คือ การที่เซลลยื่นไซโทพลาสซึมไป
    ลอมรอบสาร แลวโอบลอมเขามาเกิดเปนถุงเขาสูเซลล
          Pinocytosis หรือ เซลลDrinking คือ การที่เซลลเวาไซโทพลาสซึมเขาไปจน
    เกิดเปนถุงเขาสูเซลล

                                                                            41
การสื่อสารระหวางเซลล

   Gap junction คือ ชองขนาดเล็กที่เกิดจากโปรตีนที่ฝงอยูในเซลลสองเซลลมา
    บรรจบกัน พบในเซลลสัตว
   plasmodesmata คือ ชองที่เชื่อมระหวางเซลลพืชที่อยูติดกัน เปนบริเวณที่ไซ
    โทพลาสซึมของเซลลหนึ่งติดตอกับอีกเซลลหนึ่งได พบในพืช
   สารสื่อประสาท จะปลอยจากปลายแอกซอนของเซลลประสาท ไปที่เยื่อหุมเซลล
    ประสาทตัวรับซึ่งจะมีโปรตีนเปนตัวรับสารสื่อประสาทอยู
   ฮอรโมน เปนสารเคมีที่สรางโดยเซลลจากตอมไรทอซึ่งจะสงไปตามระบบ
    หมุนเวียนเลือดไปยังอวัยวะเปาหมาย
                                                                             42
กระบวนการสื่อสารระหวางเซลล
   มี 3 ขั้นตอน คือ
          1. การรับสัญญาณ (reception) คือ การที่เซลลเปาหมายรับสัญญาณจาก
    ภายนอกเซลล โดยโปรตีนตัวรับที่อยูบริเวณผิวเซลลเปาหมายจะจับกับสารเคมีที่
    หลั่งออกมาจากเซลลอื่น เชน ฮอรโมน สารสื่อประสาท
          ถาสารเคมีเปนสารพวกสเตรอยด ตัวรับสัญญาณจะอยูภายในเซลล
          2. การสงสัญญาณ เปนการเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณที่ไดรับมาจากภายนอก
    โดยโปรตีนตัวรับจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อสงสัญญาณตอโดยอาศัยสารเคมีที่อยู
    ในเซลลเปนตัวกลาง อาจเกิดเพียงขั้นตอนเดียวหรือหลายขั้นตอนก็ได

                                                                          43
กระบวนการสื่อสารระหวางเซลล (ตอ)

        3. การตอบสนอง เปนขั้นตอนที่เซลลเปาหมายแสดงกิจกรรมตาง ๆ
  ตอบสนองสัญญาณที่ไดรับ ซึ่งจะมีความจําเพาะตอสารเคมีที่ใชสื่อสาร เชน
  ทําใหเซลลเปลี่ยนรูปราง การแบงเซลล เซลลสังเคราะหโปรตีน

        โปรตีนตัวรับจะมีความสามารถในการเปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได
  เพื่อใหพรอมที่จะตอบสนองเมื่อไดรับสัญญาณใหมตอไป


                                                                           44
การแบงเซลล

   การแบงเซลลของพวกยูคาริโอต ประกอบดวย 2 ขั้นตอน คือ การแบงนิวเคลียส
    (karyokinesis) และ การแบงไซโทพลาสซึม (cytokinesis)
   การแบงนิวเคลียส สามารถแบงได 2 แบบ คือ
          1. การแบงแบบไมโทซิส (mitosis) เปนวิธีแบงนิวเคลียสที่ทําใหมีจํานวน
    โครโมโซมคงที่ คือ เซลลลูกมีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลลแม พบในเซลล
    รางกาย เซลลบริเวณปลายยอดปลายรากของพืช
          2. การแบงแบบไมโอซิส (meiosis) เปนการแบงนิวเคลียสที่ทําใหจํานวน
    โครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง พบในเซลลสืบพันธุ เชน เซลลไข อสุจิ
                                                                              45
การแบงเซลลแบบไมโทซิส
   การแบงเซลลแบบไมโทซิส เปนการแบงเซลล เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลของ
    รางกาย ในการเจริญเติบโต ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล หรือในการแบงเซลล เพื่อ
    การสืบพันธุ ในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว และหลายเซลลบางชนิด เชน พืช
     ไมมีการลดจํานวนชุดโครโมโซม (2n ไป 2n หรือ n ไป n )

     เมื่อสิ้นสุดการแบงเซลลจะได 2 เซลลใหมที่มีโครโมโซมเทาๆ กัน และเทากับ
        เซลลตั้งตน
     พบที่เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด, ปลายราก, แคมเบียม ของพืชหรือเนื้อเยื่อบุผิว
        , ไขกระดูกในสัตว, การสรางสเปรม และไขของพืช
     มี 5 ระยะ คือ อินเตอรเฟส (interphase), โพรเฟส (prophase), เมทาเฟส
        (metaphase), แอนาเฟส (anaphase) และเทโลเฟส (telophase)              46
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
   วัฏจักรของเซลล (cell cycle) พบเฉพาะการแบงเซลลแบบไมโทซิส โดยเริ่มตั้งแต
    ระยะเวลาที่เซลลเตรียมความพรอมกอนการแบงจนถึงการแบงนิวเคลียสและไซ
    โทพลาซึมเสร็จสิ้น แบงไดเปน 2 ขั้นตอนใหญ ๆ คือ
          1. ระยะอินเตอรเฟส (interphase)
          2. ระยะที่มีการแบงแบบไมโทซิส (mitotic phase หรือ M phase)




                                                                             47
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
   ระยะอินเตอรเฟส ระยะนี้เปนระยะเตรียมตัว ที่จะแบงเซลลในวัฏจักรของเซลล แบง
    ออกเปน 3 ระยะยอย คือ
       ระยะ G1 เปนระยะกอนการสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มที่ ระยะ
          นี้ จะมีการสรางสารบางอยาง เพื่อใชสราง DNA ในระยะตอไป
       ระยะ S เปนระยะสราง DNA (DNA replication) โดยเซลลมีการเจริญเติบโต
          และมีการสังเคราะห DNA อีก 1 ตัว หรือมีการจําลองโครโมโซม อีก 1 เทาตัว
          แตโครโมโซมที่จําลองขึ้น ยังติดกับทอนเกา ที่ปมเซนโทรเมียร (centromere)
          หรือไคเนโตคอร (kinetochore) ระยะนี้ใชเวลานานที่สุด
       ระยะ G2 เปนระยะหลังสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเจริญเติบโต และ
          เตรียมพรอม ที่จะแบงโครโมโซม และไซโทพลาสซึมตอไป
                                                                               48
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)

   ระยะ M (M phase) เปนระยะที่มีการแบงนิวเคลียส และแบงไซโทพลาสซึม ซึ่ง
    โครโมโซม จะมีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอน กอนที่จะถูกแบงแยกออกจากกัน
    ประกอบดวย 4 ระยะยอย คือ โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส




                                                                         49
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
1. ระยะโฟรเฟส (prophase)
 ระยะนี้โครมาทิดจะหดตัว โดยการบิดเปนเกลียวสั้นลง ทําใหเห็นไดชัดเจนมากขึ้น
   วา โครโมโซม 1 แทงมี 2 โครมาทิด
 เยื่อหุมนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไป

 เซนทริโอล (centrioles) ในเซลลสัตว และโพรติสทบางชนิด เชน สาหราย รา จะ
   เคลื่อนที่ แยกไปอยูตรงขามกัน ในแตละขั้วเซลล และสรางเสนใยโปรตีน
   (microtubule) เรียกวา ไมโทติก สปนเดิล (mitotic spindle) และสปนเดิล ไฟเบอร
   (spindle fiber) ไปเกาะที่เซนโทรเมียร ของทุกโครมาทิก ดังนั้น รอบๆ เซนโทรโอล
   จึงมีไมโทติก สปนเดิล ยื่นออกมาโดยรอบมากมาย เรียกวา แอสเทอร (Aster)
   สําหรับใชในเซลลพืช ไมมีเซนทริโอล แตมีไมโทติก สปนเดิล การกระจายออก จาก
   ขั้วที่อยูตรงขามกัน (polar cap)                                        50
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
2. ระยะเมทาเฟส (metaphase)
 ระยะนี้ไมโทติก สปนเดิลจะหดตัว ดึงใหโครมาทิดไปเรียงตัวอยูในแนวกึ่งกลาง
    เซลล (equatorial plate)
 โครมาทิดหดสั้นมากที่สุด จึงสะดวกตอการเคลื่อนที่ ของโครมาทิดมาก

 ระยะนี้เหมาะมากที่สุด ตอการนับจํานวนโครโมโซม, จัดเรียงโครโมโซมเปนคูๆ
    หรือที่เรียกวาแครีโอไทป (karyotype) หรือเหมาะตอการศึกษารูปราง ความ
    ผิดปกติ ของโครโมโซม
 ตอนปลายของระยะนี้ มีการแบงตัว ของเซนโทรเมียร ทําใหโครมาทิดพรอมที่
    จะแยกจากกัน                                                      51
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
3. ระยะแอนาเฟส (anaphase)
 ระยะนี้ไมโทติก สปนเดิล หดสั้นเขา ดึงใหโครมาทิดแยกตัวออกจากกัน แลว
    โครมาทิด จะคอยๆ เคลื่อนไปยังแตละขั้ว ของเซลล
 โครโมโซม ในระยะนี้จะเพิ่มจาก 2n เปน4n

 เปนระยะเวลาที่ใชสั้นที่สุด

 ระยะนี้จะเห็นโครโมโซม มีรูปรางคลายอักษรตัววี (V), ตัวเจ (J) และตัวไอ (I)
    ขึ้นอยูกับตําแหนงของเซนโทรเมียร วาอยูกึ่งกลางของโครโมโซม หรือ
    คอนขางปลาย หรือเกือบปลายสุด
                                                                         52
การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)
4. ระยะเทโลเฟส (telophase)
 เปนระยะสุดทายของการแบงเซลล โดยโครมาทิดที่แยกออกจากกัน จะเรียกเปน
    โครโมโซมลูก (daughter chromosome) ซึ่งจะไปรวมกลุมในแตละขั้วของเซลล
 มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียส ลอมรอบโครโมโซม และนิวคลีโอลัสปรากฏขึ้น

 ไมโทติก สปนเดิล สลายไป

 มีการแบงไซโทพลาสซึมออกเปน 2 สวน คือ

           1. ในเซลลสัตว จะเกิดโดย เยื่อหุมเซลลจะคอดกิ่วจาก 2 ขาง เขาใจกลางเซลล จน
    เกิดเปนเซลล 2 เซลลใหม
           2. ในเซลลพืช จะเกิดโดย กอลจิคอมเพลกซสรางเซลลูโลส มากอตัวเปนเซลล
    เพลท (cell plate) หรือแผนกั้นเซลล ตรงกลางเซลล ขยายไป 2 ขางของเซลล ซึ่งตอมา
    เซลลเพลท จะกลายเปนสวนของผนังเซลล                                               53
ภาพแสดง
 ระยะตาง ๆ
    ของ
การแบงเซลล
แบบไมโทซิส


               54
การแบงเซลลแบบไมโอซิส
   เปนการแบงนิวเคลียสของเซลลที่เจริญเปนเซลลสืบพันธุทั้งในเซลลพืชและเซลล
    สัตวมีการเปลี่ยนแปลง 2 ครั้ง ติดตอกันหลังจากแบงเซลลเสร็จแลวไดเซลลใหม 4
    เซลล แตละเซลลมีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลแม โครโมโซมของเซลลใหม
    แตละเซลลจึงเปนแฮพลอยด (haploid) หรือ n โครโมโซม คือมีโครโมโซมเพียงชุด
    เดียวเทานั้น เปนการแบงเซลลเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ
   การแบงเซลลแบบไมโอซิสครั้งแรกและครั้งที่สอง ประกอบดวยระยะตางๆ ดังนี้



                                                                              55
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)
1. การแบงไมโอซิสครั้งแรก (meiosis I) มีระยะตางๆ ดังนี้

   ระยะอินเตอรเฟส I (interphase I) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะนี้มีการ
    เตรียมสารตางๆ เชนโปรตีน เอนไซม เพื่อใชในระยะตอไป จึงมีเมแทบอลิซึมสูง มี
    นิวเคลียสใหญ มีการจําลองโครโมโซมใหมแนบชิดกับโครโมโซมเดิมและ
    เหมือนเดิมทุกประการ โครโมโซมเปนเสนบางยาวๆ พันกันเปนกลุมรางแห



                                                                             56
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)
   ระยะโพรเฟส I (prophase I)ใชเวลานานและซับซอนมากที่สุด มีเหตุการณที่สําคัญ คือ
    - โครโมโซมหดสั้นเปนแทงหนาขึ้น
    - โครโมโซมคูเหมือน (homologous chromosome) มาจับคูกันเปนคูๆ แนบชิดกัน
    เรียก ไซแนพซิส (synapsis) คูของโครโมโซมแตละคูเรียก ไบวาเลนท (bivalant) แตละ
    โครโมโซมที่เขาคูกัน มี 2 โครมาทิด มีเซนโทรเมียรยึดไว ดังนั้น 1 ไบวาเลนทมี 4 โครมา
    ทิด
      - โครมาทิดที่แนบชิดกันเกิดมีการไขวกัน เรียก การไขวเปลี่ยน (crossing over)
    ตําแหนงที่ไขวทับกัน เรียกไคแอสมา (chiasma)
      - เซนทริโอแยกไปยังขั้วเซลลทั้ง 2 ขาง
      - มีเสนใยสปนเดิล ยึดเซนโทรเมียรของแตละโครโมโซมกับขั้วเซลล
    - โครโมโซมหดตัวสั้นและหนามากขึ้น เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสคอยๆ สลายไป
                                                                                      57
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)

   ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แตละไบวาเลนทของโครโมโซม มาเรียงอยูกลาง
    เซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแลว
   ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคูเหมือนที่จับคูกัน ถูกแรงดึงจากเสนใยสปน
    เดิลใหแยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลลที่อยูตรงขาม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่
    มี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทําใหการสลับชิ้นสวนของโครมาทิดตรง
    บริเวณที่มีการไขวเปลี่ยนชวยทําใหเกิดการแปรผัน (variation) ของลักษณะตางๆ ของ
    สิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชนในแงวิวัฒนาการจากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล
    แตละขางมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม
   ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนี้จะมีโครโมโซม 2 กลุมแตละกลุมจะมีจํานวน
    โครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด
                                                                                  58
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)

   ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แตละไบวาเลนทของโครโมโซม มาเรียงอยูกลาง
    เซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแลว
   ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคูเหมือนที่จับคูกัน ถูกแรงดึงจากเสนใยสปน
    เดิลใหแยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลลที่อยูตรงขาม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่
    มี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทําใหการสลับชิ้นสวนของโครมาทิดตรง
    บริเวณที่มีการไขวเปลี่ยนชวยทําใหเกิดการแปรผัน (variation) ของลักษณะตางๆ ของ
    สิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชนในแงวิวัฒนาการจากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล
    แตละขางมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม
   ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนี้จะมีโครโมโซม 2 กลุมแตละกลุมจะมีจํานวน
    โครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด
                                                                                  59
การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)
2. การแบงไมโอซิสครั้งที่สอง(meiosis II) มีระยะตางๆ ดังนี้
     ระยะโพรเฟส II (prophase II) แตละโครโมโซมในนิวเคลียส แยกเปน 2 โครมาทิด มี
      เซนโทรเมียรยึดไว เซนทริโอลแยกออกไปขั้วเซลลทั้ง 2 ขาง มีเสนใยสปนเดิลยึดเซน
      โทรเมียรกับขั้วเซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไป
     ระยะเมทาเฟส II (metaphase II) โครโมโซมทั้งหมดมารวมอยูกลางเซลล
     ระยะแอนาเฟส II (anaphase II) เสนใยสปนเดิลหดตัวสั้นเขาและดึงใหโครมาทิดของ
      แตละโครโมโซมแยกออกจากกันไปขั้วเซลลตรงกันขาม
     ระยะเทโลเฟส II (terophase II) เกิดนิวคลีโอลัส เยื่อหุมนิวเคลียสลอมรอบ โครมา
      ทิดกลุมใหญ แตละโครมาทิดก็คือ โครโมโซม นั้นเอง เมื่อจบการแบงเซลลในระยะเทโล
      เฟส 2 แลวไดเซลลใหม 4 เซลล แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด
                                                                                 60
ภาพแสดงระยะตาง ๆ ในการแบงเซลลแบบไมโอซิส




                                             61
ภาพแสดงการเปรียบเทียบ
การแบงเซลลแบบไมโทซิส และ ไมโอซิส




                                     62

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)Anawat Supappornchai
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์ใบงานพอลิเมอร์
ใบงานพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
2. ข้อสอบ o net วิทยาศาสตร์ (มัธยมต้น)
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 

Destacado

วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1Thanyamon Chat.
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิตyottapumejamrus
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตyottapumejamrus
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...Bhu KS'peep
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตyottapumejamrus
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2Thanyamon Chat.
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plantThanyamon Chat.
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์Kankamol Kunrat
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตnetzad
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตพัน พัน
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 

Destacado (16)

วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
วิทย์เข้มข้น1 หน่วยที่ 1
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เคมีพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
ทฤษฎีเซลล์(Cell theory)ภูบดี อภิรติธรรม ชั้นม.4/4 เลขที่4 จิดาภา เพ็ชรกลม เลข...
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2สารชีวโมเลกุล2
สารชีวโมเลกุล2
 
Hormone and response plant
Hormone and response plantHormone and response plant
Hormone and response plant
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2Part cell&homeo acr_2
Part cell&homeo acr_2
 
Cell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acrCell+&+organelles acr
Cell+&+organelles acr
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 

Similar a เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตTakky Pinkgirl
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์chawisa44361
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังKha Nan
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนีmu_nin
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์Wichai Likitponrak
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวWeeraphon Parawach
 

Similar a เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน) (20)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
4
44
4
 
4
44
4
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์โครงสร้างของเซลล์
โครงสร้างของเซลล์
 
4
44
4
 
Cell2
Cell2Cell2
Cell2
 
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจังสรุปชีวะ l คะแนนจัง
สรุปชีวะ l คะแนนจัง
 
ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1ใบงานที่7.1
ใบงานที่7.1
 
B03
B03B03
B03
 
Pont มุนี
Pont มุนีPont มุนี
Pont มุนี
 
2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์2ติวสสวทเซลล์
2ติวสสวทเซลล์
 
4
44
4
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
Structure of cell
Structure of cellStructure of cell
Structure of cell
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
M.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติวM.4 สอนเสริมติว
M.4 สอนเสริมติว
 

Más de Thanyamon Chat.

timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesisThanyamon Chat.
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plantThanyamon Chat.
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantThanyamon Chat.
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leafThanyamon Chat.
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stemThanyamon Chat.
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the rootThanyamon Chat.
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Thanyamon Chat.
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome updateThanyamon Chat.
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงThanyamon Chat.
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 

Más de Thanyamon Chat. (20)

c4 and cam plant
c4 and cam plantc4 and cam plant
c4 and cam plant
 
carbon fixation
carbon fixationcarbon fixation
carbon fixation
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
timeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesistimeline research of the photosynthesis
timeline research of the photosynthesis
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
transpiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in planttranspiration and gas exchange in plant
transpiration and gas exchange in plant
 
water and mineral transport in plant
water and mineral transport in plantwater and mineral transport in plant
water and mineral transport in plant
 
structure and function of the leaf
structure and function of the leafstructure and function of the leaf
structure and function of the leaf
 
develope of root and stem
develope of root and stemdevelope of root and stem
develope of root and stem
 
structure and function of the stem
structure and function of the stemstructure and function of the stem
structure and function of the stem
 
structure and function of the root
structure and function of the rootstructure and function of the root
structure and function of the root
 
Ppt digestive system
Ppt digestive systemPpt digestive system
Ppt digestive system
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60Genetic engineering แก้ไข60
Genetic engineering แก้ไข60
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 
Gene and chromosome update
Gene and chromosome updateGene and chromosome update
Gene and chromosome update
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสงประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
ประวัติการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)

  • 2. ประวัติ  ศตวรรษ 17 กาลิเลโอ ประดิษฐแวนกําลังขยาย 2-5 เทา สองดูสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ  Janssen ประดิษฐกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสประกอบ ซึ่งประกอบดวย แวนขยาย 2 อัน แตยังไมสามารถสองดูอะไรได  Robert Hooke ไดประดิษฐกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสประกอบ ที่มีลํา กลอง รูปรางสวยงาม ปองกันแสงภายนอกรบกวนได และไมตองถือเลนส ใหซอนกัน ไดตรวจดูไมคอรกที่ฝานบางๆ ดวยมีดโกน พบวา ไมคอรกประ กอบด ว ย ช องเล็ ก ๆ มากมาย เขาเรี ย กช อ งเล็ ก ๆ เหล า นั้ น ว า "cell" ซึ่ ง หมายความถึง หองวางๆ หรือหองขัง เซลลที่ฮุคเห็นเปนเซลลที่ตายแลว เหลือแตผนังเซลลของพืช ที่แข็งแรงกวาเยื่อหุมเซลลในสัตว จึงทําใหคง รูปรางอยูไดเพราะผนังเซลลมีสารประกอบ พวกเซลลูโลส และซูเบอริน ดังนั้น ฮุคจึงไดชื่อวา เปนผูตั้งชื่อเซลล 2
  • 3. ประวัติ (ตอ)  Leeuwenhoek ชาวฮอลันดา ไดสรางกลองจุลทรรศน ชนิดเลนสเดี่ยว จาก แวนขยายที่เขาฝนเอง ซึ่งสามารถขยายไดถึง 270 เทา เขาใชกลองจุลทรรศน ตรวจดูหยดน้ํา จากบึง และแมน้ํา และจากน้ําฝน ที่รองเก็บไวในหมอ เห็น สิ่งมีชีวิต ชนิดเล็กๆ มากมาย คือ พบแบคทีเรีย สาหราย โพรโทซัว สัตวน้ํา ขนาดเล็ก แลวยังสองดูสิ่งตางๆ เชน เม็ดโลหิตแดง เซลลสืบพันธุ ของสัตว เพศผู กลามเนื้อ เปนตน จึงไดสงขอมูลเผยแพร ทําใหไดชื่อวาเปนคนพบ จุลินทรียเปนคนแรก  Theodor Schwann นักสัตววิทยาชาวเยอรมัน ศึกษาเนื้อเยื่อ ของสัตว หลายๆ ชนิด แลวสรุปไดวา เนื้อเยื่อสัตวทุกชนิด ประกอบดวยเซลล ดังนั้น ชวันนและชไลเดน จึงรวมกันตั้ง ทฤษฎีเซลล (Cell theory) มีใจความ สําคัญคือ “สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบดวยเซลล และเซลลคือหนวยพื้นฐาน ของสิ่งมีชีวิต" (All animals and plants are composed of cells and products) 3
  • 4. ทฤษฎีเซลล  ทฤษฎีเซลล ตั้งโดย เทโอดอร ชวันน และ มัตทิอั ส ยาคอบชไลเดน มี ใ จความว า สิ่งมีชีวิตทั้งหลายประกอบขึ้นดวยเซลลและเซลลคือหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตทุก ชนิดและทฤษฎีเซลลในปจจุบันยังครอบคลุมถึงใจความสําคัญ 3 ประการคือ 1. สิ่งมีชีวิตทั้งหลายอาจมีเซลเดียวหรือหลายเซลล และภายในเซลลมีสาร พันธุกรรมและมีกระบวนการเมแทบอลิซึม ทําใหสิ่งมีชีวิตนั้นดํารงอยูได 2. เซลลเปนหนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิตที่มีการจัดระบบการทํางาน ภายในเซลลและโครงสรางของเซลล 3. เซลลตาง ๆ มีตนกําเนิดมาจากเซลลเริ่มแรกโดยการแบงเซลลของเซลลเดิม (ตามทฤษฎี วิ วั ฒ นาการของสารอิ น ทรี ย พบว า สิ่ ง มี ชี วิ ต แรกเริ่ ม เกิ ด มาจาก สิ่ ง ไม มี ชี วิ ต ) แต นั ก ชี ว วิ ท ยายั ง คงถื อ ว า การเพิ่ ม ขึ้ น ของจํ า นวนเซลล เ ป น ผลสื บ เนื่องมาจากเซลลรุนกอน ๆ 4
  • 5. ชนิดของเซลล  Prokaryotic cells เซลลของสิ่งมีชีวิตชั้นต่ํา พวกแบคทีเรีย สาหรายสี เขียวแกมน้ําเงิน และไมโครพลาสมา ลักษณะเดนคือ ไมมีเยื่อหุม นิวเคลียส และ เยื่อหุมออแกเนลล ลักษณะเซลลจะคอนขางเล็ก มีขนาด 0.2-10 ไมโครเมตร  Eukaryotic cells เซลลมีเยื่อหุมนิวเคลียส และมีออรแกเนลลที่มีเยื่อหุม ไดแก เห็ด รา เซลลของพืช และสัตวทั่วๆไป มีขนาด 10-100ไมโครเมตร 5
  • 6. ตารางเปรียบเทียบ ลักษณะ เซลลโปรคาริโอต เซลลยูคาริโอต กลุมสิ่งมีชีวิต แบคทีเรีย, สาหรายสีเขียว แกมน้ําเงิน (ไซยา สาหราย, รา, โปรโตซัว, พืช, สัตว โนแบคทีเรีย) ขนาด เสนผานศูนยกลาง นอยกวา 5 ไมโครเมตร เสนผานศูนยกลาง มากกวา 5 ไมโครเมตร การไหลเวียนของไซโตพลาสซึม ไมมี มี ไมโทคอนเดรีย, คลอโรพลาสต, ไมมี มี กอลจิบอดี, ER, แวคิวโอลที่มีเยื่อ (คลอโรพลาสตมีในเซลลบางชนิด) หุม ไรโบโซม 70 S กระจายในไซโตพลาสซึม 80 S เกาะตามเยื่อหุม เชน ER 70 S ในไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต โครงสรางนิวเคลียส ไมมีเยื่อหุมนิวเคลียส, มีโครโมโซม เปน มีเยื่อหุมนิวเคลียส, มีโครโมโซมมากกวา 1 เสน วงกลมเสนเดียว, โครโมโซม ไมมีฮีสโตน ไมมี , มีฮีสโตน , มีการแบงนิวเคลียสแบบไมโตซิส การแบงเซลลแบบไมโตซิส 6
  • 7. สวนประกอบของเซลล เซลลแบงออกเปน 3 สวน คือ 1. นิวเคลียส 2. ไซโทพลาสซึม 3. สวนที่หอหุมเซลล 7
  • 8. 8
  • 11. นิวเคลียส(Nucleus)  ศูนยกลางควบคุมกระบวนการตาง ๆ ภายในเซลล  แบงเปน 2 สวน คือ 1. เยื่อหุมนิวเคลียส (Nuclear membrane) พบในสิ่งมีชีวิตพวกยูคาริ โอต เปนเยื่อบาง ๆ 2 ชั้น แตละชั้นประกอบดวยลิพิด 2 ชั้น เรียงซอนกัน (lipid bilayer) และมีโปรตีนแทรกอยูเปนระยะ ที่เยื่อนี้จะมีรู เรียกวา นิวเคลียรพอร (Nuclear pore) ทําหนาที่เปนทางผานของสารตาง ๆ ระหวาง ไซโทพลาสซึมและนิวเคลียส มีลักษณะเปนเยื่อเลือกผาน เชนเดียวกับเยื่อหุมเซลล เยื่อหุมนิวเคลียส ชั้นนอกจะติดตอกับเอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และมีไรโบโซมมาเกาะ เพื่อทํา หนาที่ลําเลียงสารตาง ๆ ระหวางนิวเคลียสและไซโทพลาซึมดวย 11
  • 12. นิวเคลียส(Nucleus) (ตอ) นิวคลีโอพลาซึม (Nucleoplasm) คือ สวนตาง ๆ ที่อยูในเยื่อหุม นิวเคลียส ประกอบดวย นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ลักษณะทึบแสง เปนโครงสรางที่ไมมีเยื่อ หุม ประกอบดวยโปรตีนDNA และ RNA เปนสวนสําคัญในการสราง โปรตีน โครมาทิน (Chromatin) เปนสาย DNA ที่มีโปรตีนหุม ขดอยูใน นิวเคลียส เมื่อแบงตัวโครมาทินจะขดตัวแนนเปนแทง เรียก Chromosome 12
  • 13. 13
  • 14. ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) แบงออกเปน 2 สวน คือ ออรแกเนลล(Organelle) กับ ไซโทซอล(Cytosol) 14
  • 15. ออรแกเนลล (Organelle)  คือ สวนประกอบตาง ๆ ภายในเซลล ซึ่งแตละชนิดจะมีหนาที่จําเพาะ เปนของตัวเอง  บางชนิดจะมีสารพันธุกรรมเปนของตัวเอง เชน ไมโทคอนเดรีย, คลอโรพลาสต 15
  • 16. เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม (Endoplasmic Reticulum : ER)  อยูลอมรอบนิวเคลียส และบางสวนเชื่อมตอกับ เยื่อหุมนิวเคลียส  เปนที่ผลิตและลําเลียงสารในเซลล  แบงไดเปน 1. แบบผิวขรุขระ(Rough Endoplasmic Reticulum : RER) 2. แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum : SER) โดยทั้ง RER และ SER มีทอตอเชื่อมกัน 16
  • 17. แบบผิวขรุขระ (Rough Endoplasmic Reticulum : RER)  มีไรโบโซมเกาะอยูที่ผิวของ เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม  ทําหนาที่สังเคราะหโปรตีนแลว บรรจุลงในเวสิเคิล  ลําเลียงสารสงออกนอกเซลล หรือสงตอไปยังกอลจิคอม เพล็กซ หรือไปเปน สวนประกอบของเยื่อหุมเซลล 17
  • 18. แบบผิวเรียบ (Smooth Endoplasmic Reticulum : SER)  ไมมไรโบโซมเกาะอยูที่ผิวเอน ี โดพลาสมิค เรติคูลัม  ทําหนาที่สังเคราะหสารสเตรอยด เชน ฮอรโมนเพศ ไตรกลีเซอไรด และสารประกอบของคอเลสเทอ รอล  กําจัดสารพิษ  ควบคุมการผานเขาออกของ Ca2+ ที่กลามเนื้อลายและ กลามเนื้อหัวใจ  พบมากที่ เซลลสมอง, ตอมหมวก ไต, อัณฑะ, รังไข 18
  • 19. ไรโบโซม (Ribosome)  เปนออแกเนลลขนาดเล็ก ไมมีเยื่อหุม มี รูปรางเปนกอน  ประกอบดวยโปรตีน และRNA  ทําหนาที่สรางโปรตีน  มีสองหนวยยอยอยูแยกกัน จะประกบติดกัน เมื่อมีการสังเคราะหโปรตีน 19
  • 20. กอลจิคอมเพล็กซ (Golgi Complex)  เปนแหลงรวบรวมการบรรจุและ ขนสง  มักอยูใกลกับ ER  มีในเซลลพืชและสัตวชั้นสูงเกือบ ทุกชนิด ยกเวน เซลลเม็ดเลือดแดง ที่โตเต็มที่ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนม  เติมกลุมคารโบไฮเดรตใหกับโปรตีน หรือลิพิดไดเปน ไกลโคโปรตีนและ ไกลโคลิพิด  สารเวสิเคิลเพื่อบรรจุสารเพื่อ สงออกนอกเซลลหรือเก็บไวใช ภายในเซลล 20
  • 21. ไลโซโซม (Lysosome)  เปนถุงกลม มีเยื่อหุมชั้นเดียว เปน เวสิเคิลสรางมาจากกอลจิคอมเพล็กซ  ไมพบในพืช พบในเซลลสัตวทุกชนิด ยกเวน เซลลเม็ดเลือดแดงของสัตว เลี้ยงลูกดวยนม  ภายในบรรจุเอนไซมไวยอยอาหาร, กําจัดสิ่งแปลกปลอม, ยอยออแกเนลลที่ เสื่อมสภาพ, ยอยสลายเซลลทั้งหมด เมื่อเซลลไดรับอันตรายหรือตาย 21
  • 22. แวคิวโอล (Vacuole)  เปนถุงมีเยื่อหุม  มีหลายชนิด เชน contractile vacuole ทําหนาที่รักษา สมดุลน้ํา พบในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว เชน อะมีบา พารามีเซียม food vacuole ทําหนาที่บรรจุอาหาร ที่รับเขามาจากนอกเซลล พบในสัตว sap vacuole ทําหนาที่สะสมอาหาร และสารบางชนิด พบในพืช 22
  • 23. ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria)  เปนแหลงพลังงานภายในเซลล  เปนแหลงผลิตสารพลังงานสูง คือสราง ATP  มีเยื่อหุมสองชั้น คือ ชั้นนอกจะมีลักษณะเรียบ สวนชั้นในจะพับทบแลวยื่นเขา ไปดานในเรียกวา คริสตี(Cristae) เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิว  ภายในบรรจุของเหลว(matrix) มีเอนไซมที่เกี่ยวของกับกระบวนการหายใจ ระดับเซลล และการจําลองตัวของไมโทคอนเดรีย  มีสารพันธุกรรมเปนของตัวเอง 23
  • 24. พลาสติด (plastid) โครโมพลาสต (Chromoplast)  พลาสติดที่มีสารที่ใหสีตาง ๆ ยกเวน สีเขียว  มีสาร เชน แคโรทีนอยด ลิวโคพลาสต (Leucoplast)  พลาสติดที่ไมมีสี  มีหนาที่สะสมเปดแปงที่ไดจากการสังเคราะหดวยแสง  พบในเซลลที่ทําหนาที่สะสมอาหาร เชน เซลลของราก 24
  • 25. คลอโรพลาสต(chloroplasts)  เปนพลาสติดที่มีสีเขียว มีเยื่อหุมสองชั้น ภายในมีเม็ดสีคลอโรฟลล (chlorophyll) บรรจุอยู พบเฉพาะในเซลลพืช และสาหราย เกือบทุกชนิด ประกอบดวย 1. สโตรมา (stroma) คือ สวนที่เปนของเหลว มีเอนไซมที่เกี่ยวของ กับ การสังเคราะหดวยแสง แบบที่ไมตองใชแสง (dark reaction) มี DNA RNA และไรโบโซม และเอนไซมอีกหลายชนิด ปะปนกันอยู 2. ไทลาคอยด (thylakoid) หรือ กรานา (grana) เปนเยื่อลักษณะคลาย เหรียญ ที่เรียงซอนกันอยูภายในของเหลว ระหวางกรานา จะมีเยื่อเมมเบรน เชื่อมใหกรานาติดตอถึงกัน เรียกวา อินเตอรกรานา (intergrana) ไทลาคอยด เรียงซอนเปนตั้ง เรียก กรานุม(grsnum) 25
  • 27. เซนทริโอล (Centriole)  เปนออรแกเนลลไมมีเยื่อหุม  พบในเซลลสัตวและสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว แต ไมพบในเซลลพืชและเห็ดรา  พบเปนคูตั้งฉากกัน อยูบริเวณใกล ๆ กับเยื่อหุมนิวเคลียส  ประกอบดวยไมโครทิวบูล(microtubule) เรียงตัวกันเปนกลุม 9 กลุม โดยแต ละกลุมมี 3 หลอด  บริเวณไซโทพลาสซึมที่ลอมรอบเซนทริโอล เรียก เซนโทรโซม(Centrosome) เปนแหลงกําเนิดเสนใยสปนเดิล ซึ่งชวยในการแบงเซลล 27
  • 28. Cytoskeleton  เปนโครงรางค้ําจุนเซลลและเปนที่ยึดเกาะของออรแกเนลล  ทําหนาที่ลําเลียงออรแกเนลลใหเคลื่อนที่ภายในเซลล รวมทั้งการเคลื่อนที่ของ เซลลบางชนิด  แบงไดเปน 3 ชนิด ตามองคประกอบ คือ 1. microfilament 2. microtubule 3. intermediate filament 28
  • 29. Microfilament or Actin filament  ประกอบดวยโปรตีนแอกทิน(actin) ตอกันเปนสองสายพันบิดกันเปนเกลียว  เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ของเซลล เชน อะมีบา, เซลลเม็ดเลือดขาว  ทําหนาที่ค้ําจุน เชน ในไมโครวิลไล  ชวยในการแบงไซโทพลาซึม(cytokinesis) 29
  • 30. Microtubule  เปนทอกลวง ประกอบดวยโปรตีนทูบูลิน (tubulin) เรียงตอกันเปนสาย  เปนโครงสรางของ เสนใยสปนเดิล, ซีเลีย , เซนทริโอล, แฟลกเจลลัม  ยึดและลําเลียงออรแกเนลลภายในเซลล Intermediate Filament  ประกอบดวยเสนใยโปรตีน เรียงตัว เปนสายยาว ๆ 4 สาย ทั้งหมด 8 ชุด พันบิดกันเปนเกลียว  จัดเรียงตัวเปนรางแหตามลักษณะ รูปรางของเซลล 30
  • 31. มีเยื่อหุม ออรแกเนลล ไมมีเยื่อหุม 1 ชั้น 2 ชั้น เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม × ไรโบโซม × กอลจิคอมเพลกซ × ไลโซโซม × แวคิวโอล × ไมโทคอนเดรีย × คลอโรพลาสต × เซนทริโอล × ไซโทสเกเลตอน × 31
  • 32. ไซโทซอล (Cytosol) Cytosol)  เปนสารกึ่งแข็งกึ่งเหลว มีประมาณ 50-60% ของปริมาตรเซลลทั้งหมด หรือ ประมาณ 3 เทาของปริมาตรนิวเคลียส  บางเซลลมีการไหลของไซโทพลาสซึมไปรอบ ๆ เซลล เรียก cyclosis 32
  • 34. ผนังเซลล(cell wall)  เปนเยื่อหนา หุมอยูชั้นนอก ของเยื่อหุมเซลล โปรโตปลาสซึมสรางขึ้นมา เพื่อเพิ่มความแข็งแรง พบในแบคทีเรีย เห็ดรา สาหราย พืชชนิดตางๆ  ในแบคทีเรีย ผนังเซลลมีโพลีแซคคาไรดเปนแกน และมีโปรตีน กับไขมัน ยึดเกาะ ชั้นที่ใหความแข็งแรง และอยูชั้นในสุด เรียกวา ชั้นมิวรีน หรือเป ปติโดไกลแคน (murein หรือ peptidoglycan) 34
  • 35. ผนังเซลล(cell wall)  เห็ดรา ผนังเซลลเปนพวกไคติน (chitin) ซึ่งเปนสารประกอบ ชนิด เดียวกันกับเปลือกกุง บางครั้งอาจพบวา มีเซลลูโลสปนอยูดวย สาหราย ผนังเซลลประกอบดวยเพคติน (pectin) เปนสวนใหญ และมีเซลลูโลส ประกอบอยูดวย  ในพืช ผนังเซลล ประกอบดวย เซลลูโลส และสารประกอบเพคติก เชน แคลเซียมเพคเตด เปนตน ผนังเซลลพืชที่อยูติดๆ กัน ถึงแมจะหนา และ แข็งแรง แตก็มีชองทางติดตอกันได เปนทางติดตอของไซโตปลาสซึมทั้ง 2 เซลล ที่เรียกวา พลาสโมเดสมาตา (plasmodesmata) 35
  • 36. เยื่อหุมเซลล (cell membrane หรือ plasma membrane)  พบในเซลลทุกชนิด  ควบคุมการผานเขาออกของสารระหวางภายนอกและภายในเซลล มีคุณสมบัติ เปนเยื่อเลือกผาน(semipermeable membrane)  ประกอบดวย phospholipid bilayer โดย หันปลายมีขั้ว(ชอบน้ํา)ไวดานนอก ปลายไมมีขั้ว(ไมชอบน้ํา) ไวดานในเซลล  มี Cholesterol, Glycolipid, Glycoprotein, Protein แทรกอยู  ลักษณะการจัดเรียงเปนแบบ Fluid mosaic model 36
  • 37. การลําเลียงสารเขาสูเซลล มี 2 แบบ คือ แบบผานเยื่อหุมเซลล แบงเปนแบบไมใชพลังงานและใชพลังงาน แบบไมผานเยื่อหุมเซลล ไดแก เอกโซไซโทซิส และเอนโดไซโทซิส 37
  • 38. ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล แบบไมใชพลังงาน  การแพร(diffusion) เปนการเคลื่อนที่ของอนุภาคสารจากบริเวณความเขมขนของ สารละลายสูงไปต่ํา  ออสโมซิส เปนการเคลื่อนที่ของอนุภาคน้ําจากบริเวณที่มีความเขมขนของ สารละลายต่ําไปยังความเขมขนสูง โดยผานเยื่อกั้น สารละลายไอโซโทนิก เซลลเปนปกติ [Sol.นอกเซลล] = [Sol.ในเซลล] สารละลายไฮเปอรโทนิก เซลลเหี่ยว [Sol.นอกเซลล] > [Sol.ในเซลล] สารละลายไฮโปโทนิก เซลลเตง,แตก [Sol.นอกเซลล] < [Sol.ในเซลล] 38
  • 39. ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล แบบไมใชพลังงาน (ตอ)  การแพรแบบฟาซิลิเทต (facilitated diffusion) คือ การแพรแบบใชตัวพา โดยใชโปรตีนที่อยูบริเวณเยื่อหุมเซลล เกิดขึ้นเมื่อความเขมขนของสารภายนอก เซลลสูงกวาสารภายในเซลล 39
  • 40. ลําเลียงสารผานเยื่อหุมเซลล แบบใชพลังงาน (active transport)  เปนการลําเลียงสารจากความเขมขนต่ํา ไปความเขมขนสูง  อาศัยโปรตีนที่แทรกอยูระหวางเยื่อหุมเซลล  ตองใชพลังงานที่ไดสารพลังงานสูง เชน ATP 40
  • 41. ลําเลียงสารแบบไมผานเยื่อหุมเซลล  แบงเปน 2 แบบ คือ Exocytosis เปนการลําเลียงสารขนาดใหญออกนอกเซลล โดยสารจะบรรจุอยูใน เวสสิเคิล เชน การหลั่งเอนไซมจากเยื่อบุกระเพาะอาหาร Endocytosis เปนการลําเลียงสารเขาสูเซลล Phacocytosis หรือ เซลลEating คือ การที่เซลลยื่นไซโทพลาสซึมไป ลอมรอบสาร แลวโอบลอมเขามาเกิดเปนถุงเขาสูเซลล Pinocytosis หรือ เซลลDrinking คือ การที่เซลลเวาไซโทพลาสซึมเขาไปจน เกิดเปนถุงเขาสูเซลล 41
  • 42. การสื่อสารระหวางเซลล  Gap junction คือ ชองขนาดเล็กที่เกิดจากโปรตีนที่ฝงอยูในเซลลสองเซลลมา บรรจบกัน พบในเซลลสัตว  plasmodesmata คือ ชองที่เชื่อมระหวางเซลลพืชที่อยูติดกัน เปนบริเวณที่ไซ โทพลาสซึมของเซลลหนึ่งติดตอกับอีกเซลลหนึ่งได พบในพืช  สารสื่อประสาท จะปลอยจากปลายแอกซอนของเซลลประสาท ไปที่เยื่อหุมเซลล ประสาทตัวรับซึ่งจะมีโปรตีนเปนตัวรับสารสื่อประสาทอยู  ฮอรโมน เปนสารเคมีที่สรางโดยเซลลจากตอมไรทอซึ่งจะสงไปตามระบบ หมุนเวียนเลือดไปยังอวัยวะเปาหมาย 42
  • 43. กระบวนการสื่อสารระหวางเซลล  มี 3 ขั้นตอน คือ 1. การรับสัญญาณ (reception) คือ การที่เซลลเปาหมายรับสัญญาณจาก ภายนอกเซลล โดยโปรตีนตัวรับที่อยูบริเวณผิวเซลลเปาหมายจะจับกับสารเคมีที่ หลั่งออกมาจากเซลลอื่น เชน ฮอรโมน สารสื่อประสาท ถาสารเคมีเปนสารพวกสเตรอยด ตัวรับสัญญาณจะอยูภายในเซลล 2. การสงสัญญาณ เปนการเปลี่ยนรูปแบบสัญญาณที่ไดรับมาจากภายนอก โดยโปรตีนตัวรับจะเกิดการเปลี่ยนแปลงเพื่อสงสัญญาณตอโดยอาศัยสารเคมีที่อยู ในเซลลเปนตัวกลาง อาจเกิดเพียงขั้นตอนเดียวหรือหลายขั้นตอนก็ได 43
  • 44. กระบวนการสื่อสารระหวางเซลล (ตอ) 3. การตอบสนอง เปนขั้นตอนที่เซลลเปาหมายแสดงกิจกรรมตาง ๆ ตอบสนองสัญญาณที่ไดรับ ซึ่งจะมีความจําเพาะตอสารเคมีที่ใชสื่อสาร เชน ทําใหเซลลเปลี่ยนรูปราง การแบงเซลล เซลลสังเคราะหโปรตีน โปรตีนตัวรับจะมีความสามารถในการเปลี่ยนรูปรางกลับไปมาได เพื่อใหพรอมที่จะตอบสนองเมื่อไดรับสัญญาณใหมตอไป 44
  • 45. การแบงเซลล  การแบงเซลลของพวกยูคาริโอต ประกอบดวย 2 ขั้นตอน คือ การแบงนิวเคลียส (karyokinesis) และ การแบงไซโทพลาสซึม (cytokinesis)  การแบงนิวเคลียส สามารถแบงได 2 แบบ คือ 1. การแบงแบบไมโทซิส (mitosis) เปนวิธีแบงนิวเคลียสที่ทําใหมีจํานวน โครโมโซมคงที่ คือ เซลลลูกมีจํานวนโครโมโซมเทากับเซลลแม พบในเซลล รางกาย เซลลบริเวณปลายยอดปลายรากของพืช 2. การแบงแบบไมโอซิส (meiosis) เปนการแบงนิวเคลียสที่ทําใหจํานวน โครโมโซมลดลงครึ่งหนึ่ง พบในเซลลสืบพันธุ เชน เซลลไข อสุจิ 45
  • 46. การแบงเซลลแบบไมโทซิส  การแบงเซลลแบบไมโทซิส เปนการแบงเซลล เพื่อเพิ่มจํานวนเซลลของ รางกาย ในการเจริญเติบโต ในสิ่งมีชีวิตหลายเซลล หรือในการแบงเซลล เพื่อ การสืบพันธุ ในสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว และหลายเซลลบางชนิด เชน พืช  ไมมีการลดจํานวนชุดโครโมโซม (2n ไป 2n หรือ n ไป n )  เมื่อสิ้นสุดการแบงเซลลจะได 2 เซลลใหมที่มีโครโมโซมเทาๆ กัน และเทากับ เซลลตั้งตน  พบที่เนื้อเยื่อเจริญปลายยอด, ปลายราก, แคมเบียม ของพืชหรือเนื้อเยื่อบุผิว , ไขกระดูกในสัตว, การสรางสเปรม และไขของพืช  มี 5 ระยะ คือ อินเตอรเฟส (interphase), โพรเฟส (prophase), เมทาเฟส (metaphase), แอนาเฟส (anaphase) และเทโลเฟส (telophase) 46
  • 47. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)  วัฏจักรของเซลล (cell cycle) พบเฉพาะการแบงเซลลแบบไมโทซิส โดยเริ่มตั้งแต ระยะเวลาที่เซลลเตรียมความพรอมกอนการแบงจนถึงการแบงนิวเคลียสและไซ โทพลาซึมเสร็จสิ้น แบงไดเปน 2 ขั้นตอนใหญ ๆ คือ 1. ระยะอินเตอรเฟส (interphase) 2. ระยะที่มีการแบงแบบไมโทซิส (mitotic phase หรือ M phase) 47
  • 48. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)  ระยะอินเตอรเฟส ระยะนี้เปนระยะเตรียมตัว ที่จะแบงเซลลในวัฏจักรของเซลล แบง ออกเปน 3 ระยะยอย คือ  ระยะ G1 เปนระยะกอนการสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเจริญเติบโตเต็มที่ ระยะ นี้ จะมีการสรางสารบางอยาง เพื่อใชสราง DNA ในระยะตอไป  ระยะ S เปนระยะสราง DNA (DNA replication) โดยเซลลมีการเจริญเติบโต และมีการสังเคราะห DNA อีก 1 ตัว หรือมีการจําลองโครโมโซม อีก 1 เทาตัว แตโครโมโซมที่จําลองขึ้น ยังติดกับทอนเกา ที่ปมเซนโทรเมียร (centromere) หรือไคเนโตคอร (kinetochore) ระยะนี้ใชเวลานานที่สุด  ระยะ G2 เปนระยะหลังสราง DNA ซึ่งเซลลมีการเจริญเติบโต และ เตรียมพรอม ที่จะแบงโครโมโซม และไซโทพลาสซึมตอไป 48
  • 49. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ)  ระยะ M (M phase) เปนระยะที่มีการแบงนิวเคลียส และแบงไซโทพลาสซึม ซึ่ง โครโมโซม จะมีการเปลี่ยนแปลงหลายขั้นตอน กอนที่จะถูกแบงแยกออกจากกัน ประกอบดวย 4 ระยะยอย คือ โพรเฟส เมทาเฟส แอนาเฟส และเทโลเฟส 49
  • 50. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ) 1. ระยะโฟรเฟส (prophase)  ระยะนี้โครมาทิดจะหดตัว โดยการบิดเปนเกลียวสั้นลง ทําใหเห็นไดชัดเจนมากขึ้น วา โครโมโซม 1 แทงมี 2 โครมาทิด  เยื่อหุมนิวเคลียส และนิวคลีโอลัสสลายไป  เซนทริโอล (centrioles) ในเซลลสัตว และโพรติสทบางชนิด เชน สาหราย รา จะ เคลื่อนที่ แยกไปอยูตรงขามกัน ในแตละขั้วเซลล และสรางเสนใยโปรตีน (microtubule) เรียกวา ไมโทติก สปนเดิล (mitotic spindle) และสปนเดิล ไฟเบอร (spindle fiber) ไปเกาะที่เซนโทรเมียร ของทุกโครมาทิก ดังนั้น รอบๆ เซนโทรโอล จึงมีไมโทติก สปนเดิล ยื่นออกมาโดยรอบมากมาย เรียกวา แอสเทอร (Aster) สําหรับใชในเซลลพืช ไมมีเซนทริโอล แตมีไมโทติก สปนเดิล การกระจายออก จาก ขั้วที่อยูตรงขามกัน (polar cap) 50
  • 51. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ) 2. ระยะเมทาเฟส (metaphase)  ระยะนี้ไมโทติก สปนเดิลจะหดตัว ดึงใหโครมาทิดไปเรียงตัวอยูในแนวกึ่งกลาง เซลล (equatorial plate)  โครมาทิดหดสั้นมากที่สุด จึงสะดวกตอการเคลื่อนที่ ของโครมาทิดมาก  ระยะนี้เหมาะมากที่สุด ตอการนับจํานวนโครโมโซม, จัดเรียงโครโมโซมเปนคูๆ หรือที่เรียกวาแครีโอไทป (karyotype) หรือเหมาะตอการศึกษารูปราง ความ ผิดปกติ ของโครโมโซม  ตอนปลายของระยะนี้ มีการแบงตัว ของเซนโทรเมียร ทําใหโครมาทิดพรอมที่ จะแยกจากกัน 51
  • 52. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ) 3. ระยะแอนาเฟส (anaphase)  ระยะนี้ไมโทติก สปนเดิล หดสั้นเขา ดึงใหโครมาทิดแยกตัวออกจากกัน แลว โครมาทิด จะคอยๆ เคลื่อนไปยังแตละขั้ว ของเซลล  โครโมโซม ในระยะนี้จะเพิ่มจาก 2n เปน4n  เปนระยะเวลาที่ใชสั้นที่สุด  ระยะนี้จะเห็นโครโมโซม มีรูปรางคลายอักษรตัววี (V), ตัวเจ (J) และตัวไอ (I) ขึ้นอยูกับตําแหนงของเซนโทรเมียร วาอยูกึ่งกลางของโครโมโซม หรือ คอนขางปลาย หรือเกือบปลายสุด 52
  • 53. การแบงเซลลแบบไมโทซิส (ตอ) 4. ระยะเทโลเฟส (telophase)  เปนระยะสุดทายของการแบงเซลล โดยโครมาทิดที่แยกออกจากกัน จะเรียกเปน โครโมโซมลูก (daughter chromosome) ซึ่งจะไปรวมกลุมในแตละขั้วของเซลล  มีการสรางเยื่อหุมนิวเคลียส ลอมรอบโครโมโซม และนิวคลีโอลัสปรากฏขึ้น  ไมโทติก สปนเดิล สลายไป  มีการแบงไซโทพลาสซึมออกเปน 2 สวน คือ 1. ในเซลลสัตว จะเกิดโดย เยื่อหุมเซลลจะคอดกิ่วจาก 2 ขาง เขาใจกลางเซลล จน เกิดเปนเซลล 2 เซลลใหม 2. ในเซลลพืช จะเกิดโดย กอลจิคอมเพลกซสรางเซลลูโลส มากอตัวเปนเซลล เพลท (cell plate) หรือแผนกั้นเซลล ตรงกลางเซลล ขยายไป 2 ขางของเซลล ซึ่งตอมา เซลลเพลท จะกลายเปนสวนของผนังเซลล 53
  • 54. ภาพแสดง ระยะตาง ๆ ของ การแบงเซลล แบบไมโทซิส 54
  • 55. การแบงเซลลแบบไมโอซิส  เปนการแบงนิวเคลียสของเซลลที่เจริญเปนเซลลสืบพันธุทั้งในเซลลพืชและเซลล สัตวมีการเปลี่ยนแปลง 2 ครั้ง ติดตอกันหลังจากแบงเซลลเสร็จแลวไดเซลลใหม 4 เซลล แตละเซลลมีโครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลแม โครโมโซมของเซลลใหม แตละเซลลจึงเปนแฮพลอยด (haploid) หรือ n โครโมโซม คือมีโครโมโซมเพียงชุด เดียวเทานั้น เปนการแบงเซลลเพื่อสรางเซลลสืบพันธุ  การแบงเซลลแบบไมโอซิสครั้งแรกและครั้งที่สอง ประกอบดวยระยะตางๆ ดังนี้ 55
  • 56. การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ) 1. การแบงไมโอซิสครั้งแรก (meiosis I) มีระยะตางๆ ดังนี้  ระยะอินเตอรเฟส I (interphase I) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในระยะนี้มีการ เตรียมสารตางๆ เชนโปรตีน เอนไซม เพื่อใชในระยะตอไป จึงมีเมแทบอลิซึมสูง มี นิวเคลียสใหญ มีการจําลองโครโมโซมใหมแนบชิดกับโครโมโซมเดิมและ เหมือนเดิมทุกประการ โครโมโซมเปนเสนบางยาวๆ พันกันเปนกลุมรางแห 56
  • 57. การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)  ระยะโพรเฟส I (prophase I)ใชเวลานานและซับซอนมากที่สุด มีเหตุการณที่สําคัญ คือ - โครโมโซมหดสั้นเปนแทงหนาขึ้น - โครโมโซมคูเหมือน (homologous chromosome) มาจับคูกันเปนคูๆ แนบชิดกัน เรียก ไซแนพซิส (synapsis) คูของโครโมโซมแตละคูเรียก ไบวาเลนท (bivalant) แตละ โครโมโซมที่เขาคูกัน มี 2 โครมาทิด มีเซนโทรเมียรยึดไว ดังนั้น 1 ไบวาเลนทมี 4 โครมา ทิด - โครมาทิดที่แนบชิดกันเกิดมีการไขวกัน เรียก การไขวเปลี่ยน (crossing over) ตําแหนงที่ไขวทับกัน เรียกไคแอสมา (chiasma) - เซนทริโอแยกไปยังขั้วเซลลทั้ง 2 ขาง - มีเสนใยสปนเดิล ยึดเซนโทรเมียรของแตละโครโมโซมกับขั้วเซลล - โครโมโซมหดตัวสั้นและหนามากขึ้น เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสคอยๆ สลายไป 57
  • 58. การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)  ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แตละไบวาเลนทของโครโมโซม มาเรียงอยูกลาง เซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแลว  ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคูเหมือนที่จับคูกัน ถูกแรงดึงจากเสนใยสปน เดิลใหแยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลลที่อยูตรงขาม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่ มี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทําใหการสลับชิ้นสวนของโครมาทิดตรง บริเวณที่มีการไขวเปลี่ยนชวยทําใหเกิดการแปรผัน (variation) ของลักษณะตางๆ ของ สิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชนในแงวิวัฒนาการจากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล แตละขางมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม  ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนี้จะมีโครโมโซม 2 กลุมแตละกลุมจะมีจํานวน โครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด 58
  • 59. การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ)  ระยะเมทาเฟส I (mataphase I) แตละไบวาเลนทของโครโมโซม มาเรียงอยูกลาง เซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไปหมดแลว  ระยะแอนาเฟส I (anaphase I) โครโมโซมคูเหมือนที่จับคูกัน ถูกแรงดึงจากเสนใยสปน เดิลใหแยกตัวออกจากกันไปยังขั้วเซลลที่อยูตรงขาม การแยกนั้นแยกไปทั้งโครโมโซมที่ มี 2 โครมาทิด และการแยกโครโมโซมนี้มีผลทําใหการสลับชิ้นสวนของโครมาทิดตรง บริเวณที่มีการไขวเปลี่ยนชวยทําใหเกิดการแปรผัน (variation) ของลักษณะตางๆ ของ สิ่งมีชีวิต ซึ่งมีประโยชนในแงวิวัฒนาการจากการแยกกันของโครโมโซมไปยังขั้วเซลล แตละขางมีโครโมโซมเหลือเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม  ระยะเทโลเฟส I (telophase I) ในระยะนี้จะมีโครโมโซม 2 กลุมแตละกลุมจะมีจํานวน โครโมโซมเพียงครึ่งหนึ่งของเซลลเดิม แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด 59
  • 60. การแบงเซลลแบบไมโอซิส (ตอ) 2. การแบงไมโอซิสครั้งที่สอง(meiosis II) มีระยะตางๆ ดังนี้  ระยะโพรเฟส II (prophase II) แตละโครโมโซมในนิวเคลียส แยกเปน 2 โครมาทิด มี เซนโทรเมียรยึดไว เซนทริโอลแยกออกไปขั้วเซลลทั้ง 2 ขาง มีเสนใยสปนเดิลยึดเซน โทรเมียรกับขั้วเซลล เยื่อหุมนิวเคลียสและนิวคลีโอลัสสลายไป  ระยะเมทาเฟส II (metaphase II) โครโมโซมทั้งหมดมารวมอยูกลางเซลล  ระยะแอนาเฟส II (anaphase II) เสนใยสปนเดิลหดตัวสั้นเขาและดึงใหโครมาทิดของ แตละโครโมโซมแยกออกจากกันไปขั้วเซลลตรงกันขาม  ระยะเทโลเฟส II (terophase II) เกิดนิวคลีโอลัส เยื่อหุมนิวเคลียสลอมรอบ โครมา ทิดกลุมใหญ แตละโครมาทิดก็คือ โครโมโซม นั้นเอง เมื่อจบการแบงเซลลในระยะเทโล เฟส 2 แลวไดเซลลใหม 4 เซลล แตละเซลลมีโครโมโซมเปนแฮพลอยด 60