SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 135
Descargar para leer sin conexión
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
187 
วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๒๒๑๐๑ 
๑. จำĕนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จำĕนวน ๑.๕ หน่วยกิต 
๒. หนังสือที่ใช้ในการเรียน 
– แบบเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 
(สาระพระพุทธศาสนา, สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม 
และการดำĕเนินชีวิตในสังคม) 
ผู้แต่ง - 
สำĕนักพิมพ์ ใช้ประกอบทุกสำĕนักพิมพ์ 
๓. ผู้เขียนคู่มือ 
ชื่อ นางศรีวรรณ ปานสง่า ตำĕแหน่ง ครูชำĕนาญการพิเศษ 
สถานที่ทำĕงาน โรงเรียนวังไกลกังวล 
อำĕเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ 
โทรศัพท์ ๐ ๓๒๕๒ ๒๓๔๗
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
188 
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
การเมือง การปกครองของไทย 
– กระบวนการในการตรากฎหมาย 
– กฎหมายครอบครัว 
– กฎหมายแพ่ง 
– กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ 
– เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงของ 
ระบอบการเมืองการปกครองของไทย 
– การเลือกรับข้อมูลข่าวสาร 
การเมืองการปกครองไทย 
ภูมิใจในวัฒนธรรม 
– ที่มาของวัฒนธรรมไทย 
– ลักษณะวัฒนธรรมไทย 
– ลักษณะวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย 
– ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรม 
– วัฒนธรรมในการสร้างความสัมพันธ์อันดี 
กฎหมายในชีวิตประจำ�วัน 
พลเมืองดี 
ตามวิถีประชาธิปไตย 
– พลเมืองดี 
– คุณลักษณะพลเมืองดี 
– การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี 
– สถาบันสังคม 
หน้าที่พลเมือง 
วัฒนธรรม 
และการดำ�เนินชีวิต 
ในสังคม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
189 
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง พระพุทธ 
– หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่อง 
- ในวันมาฆบูชา 
- วันวิสาขบูชา 
- วันอัฏฐมีบูชา 
- วันอาสาฬหบูชา 
– วันธรรมสวนะและเทศกาลสำ�คัญ 
— ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน 
- วันธรรมสวนะ 
- วันเข้าพรรษา 
- วันออกพรรษา 
- วันเทโวโรหนะ 
– การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 
และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน 
– ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 
– ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น 
– รากฐานของวัฒนธรรม 
– เอกลักษณ์และมรดกของชาติ 
สรุป/วิเคราะห์พุทธประวัติ 
พระพุทธ 
พุทธประวัติ 
ประวัติและ 
ความสำ�คัญของ 
พระพุทธศาสนา 
➧ 
ชาดก วันสำ�คัญ 
– การผจญมาร 
– การตรัสรู้ 
– การสั่งสอน 
มิตตวินทุกชาดก 
ราโชวาทชาดก 
➧ 
➧ 
➧
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
190 
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่อง พระธรรม 
ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) 
– สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา 
– รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ 
ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา 
– ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญา 
ตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ 
– นำ�วิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา 
ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน 
– พร้อมการเรียนรู้ด้วยวิธี 
คิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธี 
– แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม 
– แบบอรรถธรรมสัมพันธ์ 
กมฺมุนา วตฺตตี โลโก – 
สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม 
กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ – 
ทำ�ดีได้ดี ทำ�ชั่วได้ชั่ว 
สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย – 
การสั่งสอนบุญนำ�สุขมาให้ 
ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ – 
ผู้บูชาเขาย่อมได้รับการบูชาตอบ 
ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ 
นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) 
ธรรมคุณ ๖ อริยสัจ ๔ 
พระธรรม 
พุทธศาสนสุภาษิต 
ศัพท์ทาง 
พระพุทธศาสนา 
– บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา 
–-ดรุณธรรม ๖ 
– กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ 
– กุศลกรรมบถ ๑๐ 
– สติปัฏฐาน ๔ 
– มงคล ๓๘ 
– ประพฤติธรรม 
– เว้นจากความชั่ว 
– เว้นจากการดื่มนํ้าเมา 
โครงสร้างชื่อคัมภีร์ 
และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก 
➧ 
➧ 
➧ 
➧ 
➧ 
พระไตรปิฎก 
การบริหารจิต 
และเจริญปัญญา ➧ 
– ฌาน - ญาณ 
เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก 
– จูฬกัมมวิภังคสูตร 
– ขันธ์ ๕ 
– อายตนะ 
– หลักกรรม 
– สมบัติ ๔ - วิบัติ ๔ 
– อกุศลกรรมบถ ๑๐ 
– อบายมุข ๖ 
– สุข ๒ 
– สามิสสุข 
– นิรามิสสุข
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
191 
– การทำ�บุญตักบาตร 
– การถวายภัตตาหาร สิ่งของที่ควรถวาย 
และสิ่งของต้องห้ามสำ�หรับพระภิกษุ 
– การถวายสังฆทาน/เครื่องสังฆทาน 
– การถวายผ้าอาบนํ้าฝน 
– การจัดเครื่องไทยธรรม/เครื่องไทยธรรม 
– การกรวดนํ้า 
– การทอดกฐิน ทอดผ้าป่า 
เข้าใจบทบาทของพระภิกษุ – 
ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา 
การฝึกฝนบทบาทตนเอง – 
ในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา 
การเข้าค่ายพุทธบุตร – 
การเข้าร่วมพิธีกรรม 
ทางพระพุทธศาสนา 
การเป็นลูกที่ดีตามหลัก 
ทิศเบื้องหน้าในทิศ ๖ 
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ – 
พระสงฆ์ 
ชาวพุทธ 
ตัวอย่าง 
พุทธสาวก 
พุทธสาวิกา 
หน้าที่ชาวพุทธ 
ศาสนพิธี 
➧ 
➧ 
➧ 
➧ 
➧ 
มรรยาท 
ชาวพุทธ 
สัมมนา 
พระพุทธ- 
ศาสนา 
➧ 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 
พระมหาธรรมราชาลิไท 
– พระสารีบุตร 
– พระโมคคัลลานะ 
– นางขุชชุตตรา 
– พระเจ้าพิมพิสาร 
การต้อนรับ (ปฏิสันถาร) – 
มรรยาทของผู้เป็นแขก – 
ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธีปฏิบัติต่อ – 
พระภิกษุ การยืน การให้ที่นั่ง 
การเดินสวนทาง การสนทนา การรับสิ่งของ 
การแต่งกายไปวัด – 
การแต่งกายไปงานมงคล/งานอวมงคล 
ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง พระสงฆ์ 
กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
มาตรฐานการเรียนรู้ / 
ตัวชี้วัด 
192 
รายวิชา สังคม ศาสนา 
และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
มาตรฐานที่ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 
ม. ๒/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี 
กับประเทศเพื่อนบ้าน 
ม. ๒/๓ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของ 
วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ 
ม. ๒/๔ อภิปรายความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับการพัฒนาชุมชน และการ 
จัดระเบียบสังคม 
ม. ๒/๕ วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
ม. ๒/๖ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดกเรื่องเล่า 
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด 
ม. ๒/๗ อธิบายโครงสร้างของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ 
ม. ๒/๘ อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ 
กำĕหนด เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม 
ม. ๒/๙ เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ 
วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง 
ของศาสนาที่ตนนับถือ 
ม. ๒/๑๐ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ 
ตนนับถือ 
ม. ๒/๑๑ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดำĕรงตนอย่างเหมาะสม ใน 
กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
มาตรฐานที่ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน 
193 
นับถือ 
ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด 
ม. ๒/๒ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำĕหนด 
ม. ๒/๓ วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธีและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 
ม. ๒/๔ อธิบายคำĕสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำĕคัญทางศาสนาและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 
ม. ๒/๕ อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ เพื่อนำĕไปสู่การยอมรับ 
และความเข้าใจซึ่งกันและกัน 
สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
มาตรฐานที่ ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำĕรงรักษาประเพณีและ 
วัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ 
ม. ๒/๒ เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตน ตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี 
ประชาธิปไตย 
ม. ๒/๓ วิเคราะห์บทบาทความสำĕคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม 
ม. ๒/๔ อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค 
เอเชีย เพื่อนำĕไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ 
มาตรฐานที่ ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอืงการปกครองในสงัคมปจัจบุนั ยดึมนั่ ศรทัธา และธĕำรงรกัษาไว้ ซงึ่การปกครอง 
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย 
ม. ๒/๒ วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน 
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
194 
รายวิชา สังคม ศาสนา 
และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
โครงสร้าง 
รายวิชา 
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา 
(ชั่วโมง) 
นํ้าหนัก 
คะแนน 
๑ ประวัติและ 
ความสำĕคัญ 
ของพระพุทธ 
ศาสนา 
ส ๑.๑ ม. ๒/๑ - ๖ พระพุทธศาสนาเผยแผ่จาก 
ประเทศอินเดียเข้าสู่ดินแดน 
สุวรรณภูมิ ช่วยเสริมสร้าง 
ความเข้าใจอันดีระหว่าง 
ประเทศ สำĕหรับประเทศไทย 
ถือเป็นรากฐานของวัฒนธรรม 
เอกลักษณ์และมรดกของชาติ 
๖ ๕ 
๒ พุทธประวัติ 
พระสาวก 
ศาสนิกชน 
ตัวอย่าง 
ส ๑.๑ ม. ๒/๕ - ๖ การวิเคราะห์พุทธประวัติ 
ประวัติของพระสาวก สาวิกา 
และศาสนิกชนตัวอย่างทำĕให้ได้ 
ข้อคิดและคุณธรรมเป็น 
แบบอย่างเพื่อนำĕไปใช้ในการ 
ดำĕเนินชีวิตได้ 
๘ ๕ 
๓ หลักธรรม 
ทางพระพุทธ- 
ศาสนา 
ส ๑.๑ ม. ๒/๘, ๒/๑๑ พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์ที่บรรจุ 
หลักธรรมคำĕสอนของ 
พระพุทธศาสนา อริยสัจ ๔ 
เป็นหลักสำĕคัญในการ 
ดำĕเนินชีวิตที่นำĕไปสู่ความ 
พ้นทุกข์ พุทธศาสนสุภาษิต 
เป็นส่วนหนึ่งของหลักธรรม 
ทางพระพุทธศาสนา ย่อมส่ง 
ผลดีต่อความสงบเรียบร้อยของ 
สังคม 
๘ ๕
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
195 
หน่วย 
ที่ 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา 
(ชั่วโมง) 
นํ้าหนัก 
คะแนน 
๔ การบริหารจิต 
และการเจริญ 
ปัญญา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๙ - ๑๐ การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร 
จิตและเจริญปัญญาด้วยอานา- 
ปานสติและวิธีคิดแบบอุบาย 
ปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิด 
แบบอรรถสัมพันธ์เป็นส่วน 
สำĕคัญของการพัฒนาจิตเพื่อการ 
ดำĕเนินชีวิตอย่างถูกต้อง 
๔ ๕ 
๕ มรรยาทหน้าที่ 
ชาวพุทธและ 
วันสำĕคัญทาง 
พระพุทธ- 
ศาสนา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๑ - ๕ ชาวพุทธควรปฏิบัติตน 
อย่างเหมาะสมในวันสำĕคัญทาง 
พระพุทธศาสนาและเข้าร่วมใน 
พิธีกรรมเพื่อเป็นการสืบทอด 
พระพุทธศาสนา 
๑๐ ๑๐ 
สอบกลางภาคเรียน ๒๐ 
๖ กฎหมายใน 
ชีวิตประจำĕวัน 
ส ๒.๑ ม. ๒/๑ 
ส ๒.๒ ม. ๒/๑ 
กฎหมายเป็นเครื่องควบคุม 
ความประพฤติ เพื่อการอยู่ 
ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข 
๔ ๕ 
๗ พลเมืองดี 
ตามวิถี 
ประชาธิปไตย 
ส ๒.๑ ม. ๒/๒ - ๓ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ 
บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ 
ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี 
ประชาธิปไตย โดยสถาบัน 
ทางสังคมมีบทบาทต่อความ 
สงบเรียบร้อยและการพัฒนา 
ประเทศให้เจริญก้าวหน้าอย่าง 
มั่นคง 
๔ ๑๐
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
หน่วย 
ที่ 
196 
ชื่อหน่วย 
การเรียนรู้ 
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา 
(ชั่วโมง) 
นํ้าหนัก 
คะแนน 
๘ การเมืองการ 
ปกครองไทย 
ส ๒.๒ ม. ๒/๒ ประเทศไทยปกครองด้วย 
ระบอบประชาธิปไตย มี 
เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลง 
ตลอด ประชาชนจะต้องรู้จัก 
เลือกรับข้อมูลข่าวสารเพื่อนำĕมา 
วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น 
เพื่อติดตามข่าวสารและความ 
เคลื่อนไหวทางการเมือง 
๒ ๕ 
๙ ภูมิใจใน 
วัฒนธรรม 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔ วัฒนธรรมช่วยสร้างความเข้าใจ 
อันดีระหว่างกัน ชาติไทยเป็น 
ชาติที่มีประเพณีวัฒนธรรมที่ 
เป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาค 
ที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ 
ไทย เราจึงต้องอนุรักษ์และ 
ส่งเสริมประเพณีและ 
วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ตลอดไป 
๗ ๑๐ 
สอบปลายภาค ๒๐
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
197 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม 
๑ ๑๖ พ.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ - ชี้แจงแนะนำĕสาระการเรียนรู้ 
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 
- ทดสอบก่อนเรียน 
- สมุดจดบันทึก 
- หนังสือเรียน 
- ใบงาน 
๒ ๒๑ พ.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ พระพุทธศาสนาในประเทศพม่า 
อินโดนีเซีย ลาว 
ใบงานที่ ๑ 
๓ ๒๒ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา 
เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ 
ส ๑.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒, ๓ 
๔ ๒๓ พ.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา 
(หลักความเมตตา, หลักความเป็นกลาง, 
หลักมิตรภาพ, หลักสันติภาพ, 
หลักความไม่ประมาท) 
ส ๑.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๔ 
๕ ๒๘ พ.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา 
ต่อสังคมไทย 
- รากฐานของวัฒนธรรม 
- เอกลักษณ์และมรดกของชาติ 
ส ๑.๑ ม. ๒/๒ 
๖ ๒๙ พ.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา 
กับการพัฒนาชุมชนและการ 
จัดระเบียบสังคม 
ส ๑.๑ ม. ๒/๓ 
๗ ๓๐ พ.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ พุทธประวัติตอนการผจญมาร ส ๑.๑ ม. ๒/๔ ใบงานที่ ๕ 
วันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ หยุดวันวิสาขบูชา 
๘ ๕ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พุทธประวัติตอนการตรัสรู้และ 
สั่งสอนธรรม 
ส ๑.๑ ม. ๒/๕ ใบงานที่ ๖ 
๙ ๖ มิ.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ พุทธสาวก : พระสารีบุตร ส ๑.๑ ม.๒/๖ ใบงานที่ ๗
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
198 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๑๐ ๑๑ มิ.ย. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ พุทธสาวก : พระโมคคัลนานะ ส ๑.๑ ม. ๒/๖ 
๑๑ ๑๒ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พุทธสาวก : พระเจ้าพิมพิสาร ส ๑.๑ ม. ๒/๖ 
๑๒ ๑๓ มิ.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ พุทธสาวก : นางขุชชุตรา ส ๑.๑ ม. ๒/๖ 
๑๓ ๑๘ มิ.ย. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ ชาวพุทธตัวอย่าง : พระมหาธรรม- 
ราชาที่ ๑ (ลิไท) 
ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๘ 
๑๔ ๑๙ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ ชาวพุทธตัวอย่าง : สมเด็จ 
พระมหาสมณเจ้า กรมพระยา 
วชิรญาณวโรรส 
ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๙ 
๑๕ ๒๐ มิ.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ชาดก : มิตตวินทุกชาดก 
เห็นกงจักรเป็นดอกบัว 
ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๑๐ 
๑๖ ๒๕ มิ.ย. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ ชาดก : ราโชวาทชาดก ส ๑.๑ ม. ๒/๖ 
๑๗ ๒๖ มิ.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ พระไตรปิฎก ส ๑.๑ ม. ๒/๗ ใบงานที่ ๑๑ 
๑๘ ๒๗ มิ.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ โครงสร้างของพระไตรปิฎก ส ๑.๑ ม. ๒/๗ 
๑๙ ๒ ก.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ หลักพระรัตนตรัย (ธรรมคุณ ๖) ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๒ 
๒๐ ๓ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ หลักอริยสัจ ๔ 
๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้ป 
๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) 
- หลักกรรม (สมบัติ ๔, วิบัติ ๔) 
- อกุศลกรรมบถ ๑๐ 
- อบายมุข ๖ 
ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๓
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
199 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๒๑ ๔ ก.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) 
- สุข ๒ (สามิส, นิรามิส) 
๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) 
- บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา 
- ดรุณธรรม ๖ 
- กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ 
- กุศลกรรมบถ ๑๐ 
- สติปัฏฐาน ๔ 
- มงคล ๓๘ (ประพฤติธรรม, 
เว้นจากความชั่ว, 
เว้นจากการดื่มนํ้าเมา 
ส ๑.๑ ม. ๒/๘ 
๒๒ ๙ ก.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ พุทธศาสนสุภาษิต ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๔ 
๒๓ ๑๐ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ ส ๑.๑ ม. ๒/๙ ใบความรู้ที่ ๑ 
๒๔ ๑๑ ก.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ การเจริญปัญญาโดยการคิดแบบ 
โยนิโสมนสิการ 
ส ๑.๑ ม. ๒/๙ ใบความรู้ที่ ๒ 
๒๕ ๑๖ ก.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ การสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา ส ๑.๑ ม. ๒/๑๐ 
๒๖ ๑๗ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ สัมมนาพระพุทธศาสนากับสังคมไทย ส ๑.๑ ม. ๒/๑๑ ใบงานที่ ๑๕ 
๒๗ ๑๘ ก.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ทิศเบื้องต้น (ลูกที่ดีตามหลักทิศ ๖) ส ๑.๒ ม. ๒/๑ 
๒๘ ๒๓ ก.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ มรรยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๑๖ 
๒๙ ๒๔ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ มรรยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๑๗
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
200 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๓๐ ๒๕ ก.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม. ๒/๓ ใบงานที่ ๑๘ 
๓๑ ๓๐ ก.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม. ๒/๓ 
๓๒ ๓๑ ก.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และ 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๔ ใบงานที่ ๑๙ 
๓๓ ๑ ส.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ วันอัฏฐมีบูชา วันธรรมสวนะ 
และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๔ 
วันพฤหัสบดีที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันอาสาฬหบูชา 
วันศุกร์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันเข้าพรรษา 
๓๔ ๖ ส.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา 
และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๔ 
๓๕ ๗ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ วันออกพรรษา วันเทโวโรหนะ 
และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา 
ส ๑.๒ ม. ๒/๔ 
๓๖ ๘ ส.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน ส ๑.๑ ม. ๒/๕ 
วันจันทร์ที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ 
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม 
และการดำ�เนินชีวิตในสังคม 
๓๗ ๑๔ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ กระบวนการในการตรากฎหมาย ส ๒.๒ ม. ๒/๑ 
๓๘ ๑๕ ส.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ กฎหมายครอบครัว ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๐ - ๒๑ 
๓๙ ๒๐ ส.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๐ กฎหมายแพ่ง ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๒ 
๔๐ ๒๑ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๓
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
201 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๔๑ ๒๒ ส.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ส ๒.๑ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๒๔ 
๔๒ ๒๗ ส.ค. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ส ๒.๑ ม. ๒/๒ 
๔๓ ๒๘ ส.ค. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ สถาบันทางสังคม ส ๒.๑ ม. ๒/๓ ใบงานที่ ๒๕ 
๔๔ ๒๙ ส.ค. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ สถาบันทางสังคม ส ๒.๑ ม. ๒/๓ 
๔๕ ๓ ก.ย. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลง 
ของระบอบการเมืองการปกครอง 
ของไทย 
ส ๒.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๒๖ 
๔๖ ๔ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ การเลือกรับข้อมูลข่าวสารการเมือง 
การปกครองไทย 
ส ๒.๒ ม. ๒/๒ 
๔๗ ๕ ก.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ที่มาของวัฒนธรรมไทย ส ๒.๑ ม. ๒/๔ 
๔๘ ๑๐ ก.ย. ๕๕ 
๑๐.๒๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ ลักษณะวัฒนธรรมไทย 
- วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ 
พระมหากษัตริย์ 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔ 
๔๙ ๑๑ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา 
- วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔ 
๕๐ ๑๒ ก.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ลักษณะวัฒนธรรมของประเทศ 
ในภูมิภาคเอเชีย 
- วัฒนธรรมจีน 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔ 
๕๑ ๑๗ ก.ย. ๕๕ 
๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. 
๑ - วัฒนธรรมอินเดีย 
- วัฒนธรรมอิสลาม 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔ 
๕๒ ๑๘ ก.ย. ๕๕ 
๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. 
๑ - วัฒนธรรมญี่ปุ่น 
- วัฒนธรรมเวียดนาม 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 
202 
รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ 
จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง 
ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี 
เวลา 
จำ�นวน 
ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน 
การเรียนรู้ข้อที่ 
สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง 
ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) 
๕๓ ๑๙ ก.ย. ๕๕ 
๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. 
๑ ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง 
ของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรม 
ของประเทศในเอเชีย 
ส ๒.๑ ม. ๒/๔
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
203 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำ�คัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ 
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๒/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 
ม. ๒/๒ วเิคราะหค์วามสำ�คัญของพระพทุธศาสนาหรอืศาสนาทีต่นนบัถือ ที่ชว่ยเสรมิสรา้งความเข้าใจ 
อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 
ม. ๒/๓ วิเคราะห์ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของ 
วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ 
ม. ๒/๔ อภิปรายความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ กับการพัฒนาชุมชนและ 
การจัดระเบียบสังคม 
๒. สาระสำ�คัญ/ความคิดรวบยอด 
พระพุทธเจ้าได้ตรัสร้หูลักธรรมท่เีป็นความจริงอันประเสริฐแล้วได้ประกาศเผยแผ่พระพุทธศาสนาในชมพูทวีป 
โดยมีพุทธสาวกเป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังภูมิภาคต่างๆ ในโลก เริ่มเผยแผ่จากอินเดียสู่ดินแดนอื่น 
โดยการนำ�ของพระสมณทูตในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช สำ�หรับดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มี 
พระโสณเถระ พระอุตตรเถระ และพระมหินทเถระ นำ�พระพุทธศาสนามาเผยแผ่ทำ�ให้มีการนับถือพระพุทธศาสนาอย่าง 
กว้างขวางและสืบทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน สังคมไทย ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาจึงไม่เพียงแต่มีอิทธิพลต่อ 
ด้านจิตใจเท่านั้น แต่ยังมีความสำ�คัญต่อการเป็นรากฐานของวัฒนธรรมและการเป็นเอกลักษณ์และมรดกของชาติอีกด้วย 
๓. สาระการเรียนรู้ 
๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 
๒. การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน 
๓. ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา 
- พระพุทธศาสนาช่วยสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน 
- พระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย 
- พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์และมรดกของสังคมไทย 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ 
ประวัติและความสำ�คัญ 
ของพระพุทธศาสนา 
เวลา ๖ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคม ศาสนา 
และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
204 
ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้อง 
เหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำ�งาน รักความเป็นไทย 
มีจิตสาธารณะ 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
ใบงาน 
๗. การวัดผลประเมินผล 
๑. วิธีการวัดและประเมินผล 
๑) ตรวจแบบทดสอบ 
๒) ตรวจใบงาน 
๓) ประเมินผลงานกลุ่ม 
๔) ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 
๒. เครื่องมือวัดและประเมินผล 
๑) แบบทดสอบ 
๒) แบบประเมินใบงาน 
๓) แบบประเมินผลงานกลุ่ม 
๔) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
ชั่วโมงที่ ๑ ชี้แจงแนะนำ�สาระการเรียนรู้ 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ครูพูดคุยกับนักเรียนเกี่ยวกับ 
วิธีการเรียนการสอน เนื้อหา 
การวัดผล ประเมินผล 
๓. ร่วมกันสรุป 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. สุ่มออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน 
พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อ 
วิถีชีวิตของนักเรียนหรือไม่อย่างไร 
แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 
ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ 
สื่อ Power Point
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
205 
ชั่วโมงที่ ๒ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศพม่า อินโดนีเซีย และลาว 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ให้นักเรียนดูภาพพิธีกรรมในวัน 
สำ�คัญทางพระพุทธศาสนาใน 
ประเทศเพื่อนบ้านแล้วอภิปรายใน 
ประเด็นดังนี้ 
- เป็นภาพกิจกรรมเกี่ยวกับอะไร 
- เป็นภาพชาวพุทธในประเทศใด 
- เป็นภาพที่แสดงถึงความศรัทธา 
ต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร 
และมีผลต่อสังคมนั้นอย่างไร 
๓. อธิบายลักษณะการเผยแผ่พระพุทธ 
ศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน 
๔. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน 
ครูอธิบายทำ�ความเข้าใจ 
๕. ร่วมกันสรุป 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. สุ่มออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน 
แล้วช่วยกันสรุป 
๔. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๘ คน 
แต่ละกลุ่มจับคู่กัน ศึกษาการ 
เผยแผ่พระพุทธศาสนา การนับถือ 
พระพุทธศาสนาของประเทศ 
เพื่อนบ้านในปัจจุบัน และทำ�ใบงาน 
คู่ที่ ๑ เผยแผ่เข้าสู่ประเทศพม่า 
อินโดนีเซีย และลาว 
คู่ที่ ๒ เผยแผ่เข้าสู่ประเทศกัมพูชา 
เวียดนาม มาเลเซีย และ 
สิงคโปร์ 
๕. คู่ที่ ๑ อภิปรายผลการศึกษาและ 
นำ�เสนอผลการเรียนรู้จากใบงาน 
พร้อมซักถามข้อสงสัย 
๖. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน 
แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 
ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ 
สื่อ Power Point 
แผนที่ทวีปเอเชีย 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงานที่ ๑ 
ใบงานที่ ๒ 
ใบงานที่ ๓ 
แบบทดสอบ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
206 
ชั่วโมงที่ ๓ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เข้าสู่ประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน 
ครูช่วยอธิบายทำ�ความเข้าใจ 
ตอบข้อสงสัย 
๓. ช่วยชี้แนะเพิ่มเติม 
๔. สรุปโดยสุ่มถามคำ�ถามกลุ่ม 
เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. คู่ที่ ๓ อภิปรายผลการศึกษาและ 
นำ�เสนอผลการเรียนรู้เรื่อง 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ 
ประเทศกัมพูชา เวียดนาม 
มาเลเซีย และสิงคโปร์ 
และการนับถือพระพุทธศาสนา 
ของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน 
อภิปรายผลการศึกษา และนำ�เสนอ 
ผลการเรียนรู้จากใบงาน 
พร้อมซักถามข้อสงสัย 
๓. ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง 
ของใบงาน 
๔. ตัวแทนกลุ่มอธิบายความรู้เรื่องที่ 
ตนศึกษาและทำ�ใบงานโดยให้เพื่อน 
ซักถามข้อสงสัย 
๕. นำ�ข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์หรือ 
กิจกรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาใน 
ประเทศเพื่อนบ้านมาเล่าสู่กันฟัง 
และให้ทุกคนร่วมกันอภิปรายถึง 
ผลดีหรือผลเสียของกิจกรรมหรือ 
เหตุการณ์ที่นำ�เสนอ 
๖. ทำ�แบบทดสอบหลังการเรียน 
สื่อ Power Point 
ข่าว หนังสือพิมพ์ 
แบบทดสอบหลังเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
207 
ชั่วโมงที่ ๔ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ให้นักเรียนดูภาพแล้วอภิปรายแล้ว 
ร่วมกันสรุป 
๓. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน 
ครูอธิบายทำ�ความเข้าใจ 
๔. ร่วมกันสรุปทุกคนปฏิบัติตาม 
หลักการของพระพุทธศาสนาหรือ 
ศาสนาที่ตนนับถือ 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. คิดจินตนาการว่าตนเองเป็น 
สมาชิกในสังคมของชาวพุทธ 
- มีการดำ�เนินชีวิตอย่างไร 
- ทำ�ไมจึงอยู่กันอย่างมีความสุข 
โดยให้ร่วมกันเขียนผังมโนทัศน์ 
บนกระดานหน้าชั้นเรียน 
๔. บอกความสำ�คัญและเขียน 
บรรยายภาพที่ดู 
๕. ศึกษาความสำ�คัญของ 
พระพุทธศาสนา 
๖. ทำ�ใบงานความสำ�คัญของ 
พระพุทธศาสนา 
๗. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ 
จิตรกรรมฝาผนัง 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน 
แบบทดสอบหลังเรียน 
ชั่วโมงที่ ๕ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความ 
สำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อ 
สังคมไทยโดยใช้คำ�ถามดังนี้ 
- พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของ 
วัฒนธรรมไทยอย่างไร 
๓. คณะครูนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ 
ผลที่ได้รับจากการสัมมนาพระพุทธ 
ศาสนา โดยเขียนลงเป็นแผนผัง 
ความคิด 
๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ช่วยกันวิเคราะห์และนำ�เสนอ 
๓. ทำ�ใบงานเรื่อง ความสำ�คัญของ 
พระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐาน 
ของวัฒนธรรมไทย โดยทุกคนสรุป 
ประเด็นสำ�คัญ 
๔. ช่วยกันวิเคราะห์และตอบคำ�ถาม 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
208 
ชั่วโมงที่ ๖ พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการ 
สัมมนา พระพุทธศาสนากับการแก้ 
ปัญหาและการพัฒนา นำ�ไปใช้ใน 
ชีวิตประจำ�วันอย่างไรบ้างและได้รับ 
ผลอย่างไร 
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผล 
ที่ได้รับจากการสัมมนาพระพุทธ- 
ศาสนา โดยเขียนลงเป็นแผนผัง 
ความคิด 
๔. ร่วมกันวิเคราะห์ว่าในปัจจุบันสังคม 
มีปัญหาวุ่นวายหลายด้านด้วยกัน 
เราจะนำ�พระพุทธศาสนามาช่วย 
จัดระเบียบสังคมอย่างไร เพื่อให้เกิด 
ความสงบและสันติสุขในสังคม 
๕. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการนำ� 
พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบ 
สังคมจะช่วยทำ�ให้บ้านเมืองสงบ 
มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ช่วยกันวิเคราะห์และนำ�เสนอ 
๓. ทำ�ใบงานเรื่อง ผลจากการสัมมนา 
พระพุทธศาสนา โดยทุกคนสรุป 
ประเด็นสำ�คัญที่ได้จากการสัมมนา 
๔. ช่วยกันสรุปความจำ�เป็นของการ 
สัมมนาพระพุทธศาสนา 
๕. ช่วยกันวิเคราะห์และตอบคำ�ถาม 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน 
๙. สื่อการเรียนรู้ 
สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ 
๑. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษา 
ปีที่ ๒ 
๒. ใบงาน 
๓. ภาพกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เช่น ภาพการประกอบพิธีกรรมในวันสำ�คัญทางพระพุทธ- 
ศาสนา ภาพประเพณีสำ�คัญที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น 
๔. ภาพและเนื้อหาข่าวการร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน เช่น 
การประชุมผู้นำ�ทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
209 
๕. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ 
www.aksorn.com/Lib/s/soc_01 
www.geocities.com/Athens/Agora/3232 
๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน 
ประเด็น 
การประเมิน 
ระดับคุณภาพ 
๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) 
วิเคราะห์ความสำ�คัญ 
ของพระพุทธศาสนา 
ในประเทศเพื่อนบ้าน 
เขียนอธิบายได้ 
อย่างเป็นกระบวน 
การ ถูกต้อง ครบ 
ถ้วน มีรายละเอียด 
มากและชัดเจน 
เขียนอธิบายได้อย่าง 
เป็นกระบวนการ 
ถูกต้อง ครบถ้วน มี 
รายละเอียดมาก 
แต่ขาดความชัดเจน 
เขียนอธิบายได้อย่าง 
เป็นกระบวนการ 
ถูกต้อง ครบถ้วน 
แต่มีรายละเอียด 
น้อย 
เขียนอธิบายได้อย่าง 
เป็นกระบวนการ 
ถูกต้องเป็นบางส่วน 
และมีรายละเอียด 
น้อย 
ตระหนักในความ 
สำ�คัญของพระพุทธ 
ศาสนา 
กระตือรือร้นใน 
การปฏิบัติตาม 
หลักธรรมทาง 
พระพุทธศาสนา 
ได้ด้วยตนเองอย่าง 
สมํ่าเสมอและ 
ชักชวนให้ผู้อื่น 
ปฏิบัติตาม 
กระตือรือร้นใน 
การปฏิบัติตาม 
หลักธรรมทาง 
พระพุทธศาสนาได้ 
ด้วยตนเองอย่าง 
สมํ่าเสมอ 
กระตือรือร้นใน 
การปฏิบัติตาม 
หลักธรรมทาง 
พระพุทธศาสนาได้ 
ด้วยตนเองเป็น 
บางครั้ง 
กระตือรือร้นใน 
การปฏิบัติตาม 
หลักธรรมทาง 
พระพุทธศาสนาได้ 
แต่ต้องมีผู้อื่น 
แนะนำ� หรือ 
ได้รับคำ�สั่งให้ทำ� 
w w w w w w w w
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
210 
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำ�คัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน 
นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง 
สันติสุข 
ตัวชี้วัด 
ม. ๒/๕ วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด 
ม. ๒/๖ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำ�เนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก 
เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำ�หนด 
๒. สาระสำ�คัญ/ความคิดรวบยอด 
พระพุทธเจ้าเป็นบุคคลผู้เพียบพร้อมด้วยความดีงาม พระองค์ทรงมีความเพียรพยายามแสวงหาความจริงอัน 
ประเสริฐ เพื่อช่วยบุคคลที่ตกอยู่ในความทุกข์ทั้งปวงได้หลุดพ้นโดยมีพุทธสาวก พุทธสาวิกานำ�มาเผยแผ่แก่มวลมนุษย์ 
การศึกษาถึงพระจริยาวัตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและชาดกเรื่องมิตตวินทุกชาดก และราโชวาทชาดกนั้นจะทำ�ให้ได้ 
แนวคดิเปน็คตเิตอืนใจใหร้จู้กัการยบัยงั้เกยี่วกบัการประพฤตตินใหอ้ยใู่นหลกัธรรม ยอ่มทำ�ใหเ้กดิความศรทัธาและสามารถ 
นำ�ไปประยุกต์ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ในสังคมปัจจุบันได้ 
๓. สาระการเรียนรู้ 
พุทธประวัติ 
๑) ผจญมาร 
๒) การตรัสรู้และสั่งสอนธรรม 
ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา 
๑) พระสารีบุตร 
๒) พระโมคคัลลานะ 
๓) นางขุชชุตตรา 
๔) พระเจ้าพิมพิสาร 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ 
พุทธประวัติของพระสาวก 
ชาวพุทธตัวอย่าง 
เวลา ๘ ชั่วโมง 
แผนการจัดการเรียนรู้ 
รายวิชา สังคม ศาสนา 
และวัฒนธรรม 
รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
211 
ชาวพุทธตัวอย่าง 
๑) ประวัติพระมหาธรรมราชาลิไทย 
๒) ประวัติสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 
ชาดก 
๑) มิตตวินทุกชาดก 
๒) ราโชวาทชาดก 
๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 
ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำ�กระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต 
ประจำ�วัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำ�งานและการอยู่ร่วมกันในสังคม 
๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 
ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำ�งาน รักความเป็นไทย มี 
จิตสาธารณะ 
๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน 
ใบงาน 
๗. การวัดผลประเมินผล 
๑. วิธีการวัดและประเมินผล 
๑) ตรวจแบบทดสอบ 
๒) ตรวจใบงาน 
๓) ประเมินผลงานกลุ่ม 
๔) ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล 
๒. เครื่องมือวัดและประเมินผล 
๑) แบบทดสอบ 
๒) แบบประเมินใบงาน 
๓) แบบประเมินผลงานกลุ่ม 
๔) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 
212 
ชั่วโมงที่ ๗ พุทธประวัติ ตอนผจญมาร 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อ 
- รู้เรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติใน 
เรื่องใดบ้าง 
- ได้แง่คิดจากความรู้อย่างไร 
- ต้องการรู้พุทธประวัติใน 
เรื่องใดบ้าง อธิบายเหตุผล 
๓. ครูแจกใบงานเรื่องพุทธประวัติ 
๔. ช่วยกันเฉลยใบงาน 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. ศึกษาพุทธประวัติ 
- ตอนผจญมาร 
- ตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม 
๔. ทำ�ใบงาน เมื่อทำ�เสร็จแล้วให้จับคู่ 
กับเพื่อนอภิปรายคำ�ตอบ 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงานเรื่องพุทธประวัติ 
ชั่วโมงที่ ๘ พุทธประวัติ ตอนตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ครูชี้แนะ เพิ่มเติมความรู้ 
ตอบข้อสงสัย 
๓. ร่วมกันสรุปประเด็นสำ�คัญและ 
นำ�หลักธรรมไปประยุกต์ปฏิบัติใน 
การดำ�เนินชีวิต 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. แบ่งกลุ่มศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง 
การสั่งสอนธรรมของพระพุทธเจ้า 
๓. ทำ�ใบงาน เรื่อง การสั่งสอนธรรม 
ของพระพุทธเจ้า 
๔. ร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น 
ตอนตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม 
แล้วร่วมกันสรุปประเด็น 
๕. ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอผลงาน 
๖. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน 
แบบทดสอบ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
213 
ชั่วโมงที่ ๙ พุทธสาวก : พระสารีบุตร 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อพุทธ- 
สาวก สาวิกา ในหัวข้อ 
- ชื่อพุทธสาวก พุทธสาวิกา 
- ผลงานสำ�คัญ 
- คุณธรรมที่ควรนำ�ไปเป็น 
แบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต 
๓. อธิบายให้เข้าใจถึงพุทธสาวกที่ 
พระพุทธเจ้ายกย่อง พร้อมกับ 
แจกใบงาน 
๔. ครูชี้แนะ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 
๕. ช่วยกันสรุปผลงานสำ�คัญที่มีต่อ 
พระพุทธศาสนา และแนวทาง 
การปฏิบัติตามคุณธรรม 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของ 
พระสารีบุตร 
๔. ทำ�ใบงาน เรื่อง ประวัติพระสารีบุตร 
นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน 
ชั่วโมงที่ ๑๐ พุทธสาวก : พระโมคคัลลานะ 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อ 
พุทธสาวก สาวิกา ในหัวข้อ 
- ชื่อพุทธสาวก พุทธสาวิกา 
- ผลงานสำ�คัญ 
- คุณธรรมที่ควรนำ�ไปเป็น 
แบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและทำ� 
สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของ 
พระโมคคัลลานะ 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
214 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๓. อธิบายให้เข้าใจถึงพุทธสาวกที่ 
พระพุทธเจ้ายกย่อง พร้อมกับแจก 
ใบงาน 
๔. ครูชี้แนะ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 
๕. ช่วยกันสรุปผลงานสำ�คัญที่มีต่อ 
พระพุทธศาสนา และแนวทาง 
การปฏิบัติตามคุณธรรม 
๔. ทำ�ใบงานเรื่อง ประวัติ 
พระโมคคัลลานะ 
นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน 
ใบงาน 
ชั่วโมงที่ ๑๑ พุทธสาวก : พระเจ้าพิมพิสาร 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ครูซักถามนักเรียนถึงการปฏิบัติตน 
ตามหลักคุณธรรม มีผู้ใดนำ�ไป 
ปฏิบัติแล้ว ผลของการปฏิบัติเป็น 
อย่างไร และควรพัฒนาหรือ 
ปรับปรุงแก้ไขอย่างไร โดยครูช่วย 
ชี้แนะเพิ่มเติม 
๓. สนทนาเกี่ยวกับประวัติของ 
พระเจ้าพิมพิสารที่สอดคล้อง 
กับความประพฤติของบุคคล 
ในสังคมไทยปัจจุบัน 
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแง่คิดที่ 
ได้จากการศึกษาพระเจ้าพิมพิสาร 
มีคุณความดีต่อพระพุทธศาสนา 
อย่างไรบ้าง หลักคุณธรรมที่ 
สามารถ 
นำ�ไปเป็นหลักปฏิบัติในการดำ�เนิน 
ชีวิต พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม 
ศึกษาความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ 
กลุ่มที่ ๑, ๒ เรื่อง พระเจ้าพิมพิสาร 
กลุ่มที่ ๓, ๔ เรื่อง นางขุชชุตตรา 
๔. ให้กลุ่มที่ ๑, ๒ 
- ช่วยกันวิเคราะห์ถึงบทบาทสำ�คัญ 
ที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ- 
ศาสนา หรือเป็นแบบอย่างต่อ 
ชาวพุทธทั่วไป 
- ตั้งประเด็นคำ�ถามเชิงวิเคราะห์ 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 
215 
ชั่วโมงที่ ๑๒ พุทธสาวก : นางขุชชุตตรา 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ครูซักถามนักเรียนถึงการปฏิบัติตน 
ตามหลักคุณธรรมของนางขุชชุตตรา 
มีผู้ใดนำ�ไปปฏิบัติแล้ว ผลของการ 
ปฏิบัติเป็นอย่างไร และควรพัฒนา 
หรือปรับปรุงแก้ไขอย่างไร 
โดยครูช่วยชี้แนะเพิ่มเติม 
๓. สนทนาเกี่ยวกับประวัติของ 
นางขุชชุตตรา ที่สอดคล้องกับความ 
ประพฤติของบุคคลในสังคมไทย 
ปัจจุบันอย่างไรบ้าง 
๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปหลัก 
คุณธรรมที่สามารถนำ�ไปเป็น 
หลักปฏิบัติในการดำ�เนินชีวิต 
พร้อมตัวอย่างประกอบ 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. ให้กลุ่มที่ ๓, ๔ (แบ่งชั่วโมงที่แล้ว) 
ศึกษาความรู้ในเรื่องนางขุชชุตตรา 
- ช่วยกันวิเคราะห์ถึงบทบาทสำ�คัญ 
ที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ- 
ศาสนาหรือเป็นแบบอย่างต่อ 
ชาวพุทธทั่วไป 
- ตั้งประเด็นคำ�ถามเชิงวิเคราะห์ 
๔. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน 
ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
แบบทดสอบ 
ชั่วโมงที่ ๑๓ ชาวพุทธตัวอย่าง : พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท) 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 
216 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๒. ครูสนทนากับนักเรียนในหัวข้อ 
- ปัจจุบันนี้นักเรียนคิดว่าใครบ้างที่ 
ปฏิบัติตน สมควรเป็นชาวพุทธ 
ตัวอย่าง 
- ยกตัวอย่างการกระทำ�ที่จัดว่า 
สมควรเป็นชาวพุทธตัวอย่าง 
และแนวทางที่นักเรียนสามารถ 
ปฏิบัติตนตามแบบอย่างได้ 
๓. ครูตั้งคำ�ถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบ 
ความรู้ ความเข้าใจ อธิบายเพิ่มเติม 
๔. ช่วยกันสรุปแง่คิดที่ได้จากการศึกษา 
ประวัติของชาวพุทธตัวอย่าง 
๓. แบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่มแยกกันเป็น ๒ คู่ 
ช่วยกันศึกษาความรู้สรุปลงใน 
ใบงาน 
คู่ที่ ๑ พระมหาธรรมราชาลิไทยและ 
ทำ�ใบงาน 
คู่ที่ ๒ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า 
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 
และทำ�ใบงาน 
๔. นักเรียนคู่ที่ ๑ นำ�เสนอผลงานที่ได้ 
ศึกษาและสรุปลงในใบงาน อีกฝ่าย 
หนึ่งซักถามจนมีความเข้าใจดี 
๕. ช่วยกันวางแผนการนำ�หลัก 
คุณธรรมของพระมหาธรรมราชาลิไท 
ไปประยุกต์ใช้ปฏิบัติในชีวิต 
ประจำ�วัน 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงาน 
ชั่วโมงที่ ๑๔ ชาวพุทธตัวอย่าง : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส 
กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ 
๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 
๒. ครูสนทนากับนักเรียนในหัวข้อ 
- ยกตัวอย่างการกระทำ�ที่จัดว่า 
สมควรเป็นชาวพุทธตัวอย่าง และ 
แนวทางที่นักเรียนสามารถปฏิบัติ 
ตนตามแบบอย่างได้ 
๓. ครูตั้งคำ�ถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบ 
ความรู้ ความเข้าใจ อธิบายเพิ่มเติม 
๔. ช่วยกันสรุปแง่คิดที่ได้จากการศึกษา 
ประวัติของชาวพุทธตัวอย่าง 
๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ 
ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที 
๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน 
๓. นักเรียนคู่ที่ ๒ นำ�เสนอผลงานที่ได้ 
ศึกษาและสรุปลงในใบงาน เกี่ยวกับ 
ประวัติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า 
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส อีกฝ่าย 
หนึ่งซักถามจนมีความเข้าใจดี 
๔. ช่วยกันวางแผนการนำ�หลักคุณธรรม 
ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า 
กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไป 
ประยุกต์ใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำ�วัน 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
สื่อ Power Point 
หนังสือแบบเรียน 
ใบงานที่ ๒
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1montira
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนkhemmarat
 

La actualidad más candente (20)

ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 

Destacado

การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
กำเนิดอยุธยา
กำเนิดอยุธยากำเนิดอยุธยา
กำเนิดอยุธยาkroobannakakok
 
ใบความรู้ หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4page
ใบความรู้  หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4pageใบความรู้  หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4page
ใบความรู้ หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาการก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาkroobannakakok
 
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1sompriaw aums
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2ParattakornDokrueankham
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 

Destacado (20)

การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
กำเนิดอยุธยา
กำเนิดอยุธยากำเนิดอยุธยา
กำเนิดอยุธยา
 
ทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกาทวีปแอฟริกา
ทวีปแอฟริกา
 
ใบความรู้ หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4page
ใบความรู้  หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4pageใบความรู้  หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4page
ใบความรู้ หลักธรรมพระพุทธศาสนา โอวาท3 ป.2+433+dltvsocp2+54soc p02f 31-4page
 
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยาการก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
การก่อตั้งอาณาจักรอยุธยา
 
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4pageใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
ใบความรู้ พระรัตนตรัย ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 26-4page
 
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4pageใบความรู้  ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
ใบความรู้ ศรัทธาในพระรัตนตรัย ป.2+432+dltvsocp2+54soc p02f 30-4page
 
หน่วยที่๑
หน่วยที่๑หน่วยที่๑
หน่วยที่๑
 
แผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนาแผนพระพุทธศาสนา
แผนพระพุทธศาสนา
 
ใบงานยุโรปที่ 4
ใบงานยุโรปที่ 4ใบงานยุโรปที่ 4
ใบงานยุโรปที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๒
 
แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1แผนอาเซียน ป.1
แผนอาเซียน ป.1
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2
ข้อสอบ O net สังคม ม.6 ชุด 2
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.2 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 

Similar a ม.2 ภาคเรียนที่ 1

13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai7515
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6Thanawut Rattanadon
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 

Similar a ม.2 ภาคเรียนที่ 1 (20)

ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-4page
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 

Más de นายสมหมาย ฉิมมาลี

Más de นายสมหมาย ฉิมมาลี (20)

ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2ใบงาน ม.3.2
ใบงาน ม.3.2
 
ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301ใบงาน ม.301
ใบงาน ม.301
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ใบงานม.3
ใบงานม.3ใบงานม.3
ใบงานม.3
 
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตยชุดการเรียนประชาธิปไตย
ชุดการเรียนประชาธิปไตย
 
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมืองชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
ชุดการเรียนรู้หน้าที่พลเมือง
 
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐิจพอเพียง
 
งานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคมงานนำเสนอครูสังคม
งานนำเสนอครูสังคม
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1บูรณาการอาเชียน ม.1
บูรณาการอาเชียน ม.1
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
ขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธีขั้นตอนศาสนพิธี
ขั้นตอนศาสนพิธี
 
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
3. ข้อสอบ o net สังคม (มัธยมต้น) (1)
 

ม.2 ภาคเรียนที่ 1

  • 1. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 187 วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส๒๒๑๐๑ ๑. จำĕนวน ๓ ชั่วโมง/สัปดาห์ จำĕนวน ๑.๕ หน่วยกิต ๒. หนังสือที่ใช้ในการเรียน – แบบเรียน สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม (สาระพระพุทธศาสนา, สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำĕเนินชีวิตในสังคม) ผู้แต่ง - สำĕนักพิมพ์ ใช้ประกอบทุกสำĕนักพิมพ์ ๓. ผู้เขียนคู่มือ ชื่อ นางศรีวรรณ ปานสง่า ตำĕแหน่ง ครูชำĕนาญการพิเศษ สถานที่ทำĕงาน โรงเรียนวังไกลกังวล อำĕเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๗๗๑๑๐ โทรศัพท์ ๐ ๓๒๕๒ ๒๓๔๗
  • 2. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 188 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม การเมือง การปกครองของไทย – กระบวนการในการตรากฎหมาย – กฎหมายครอบครัว – กฎหมายแพ่ง – กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ – เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงของ ระบอบการเมืองการปกครองของไทย – การเลือกรับข้อมูลข่าวสาร การเมืองการปกครองไทย ภูมิใจในวัฒนธรรม – ที่มาของวัฒนธรรมไทย – ลักษณะวัฒนธรรมไทย – ลักษณะวัฒนธรรมในภูมิภาคเอเชีย – ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรม – วัฒนธรรมในการสร้างความสัมพันธ์อันดี กฎหมายในชีวิตประจำ�วัน พลเมืองดี ตามวิถีประชาธิปไตย – พลเมืองดี – คุณลักษณะพลเมืองดี – การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี – สถาบันสังคม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิต ในสังคม
  • 3. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 189 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง พระพุทธ – หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่อง - ในวันมาฆบูชา - วันวิสาขบูชา - วันอัฏฐมีบูชา - วันอาสาฬหบูชา – วันธรรมสวนะและเทศกาลสำ�คัญ — ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน - วันธรรมสวนะ - วันเข้าพรรษา - วันออกพรรษา - วันเทโวโรหนะ – การเผยแพร่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน และการนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน – ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน – ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็น – รากฐานของวัฒนธรรม – เอกลักษณ์และมรดกของชาติ สรุป/วิเคราะห์พุทธประวัติ พระพุทธ พุทธประวัติ ประวัติและ ความสำ�คัญของ พระพุทธศาสนา ➧ ชาดก วันสำ�คัญ – การผจญมาร – การตรัสรู้ – การสั่งสอน มิตตวินทุกชาดก ราโชวาทชาดก ➧ ➧ ➧
  • 4. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 190 ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้ เรื่อง พระธรรม ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้) สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) – สวดมนต์แปลและแผ่เมตตา – รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและประโยชน์ ของการบริหารจิตและเจริญปัญญา – ฝึกการบริหารจิตและเจริญปัญญา ตามหลักสติปัฏฐานเน้นอานาปานสติ – นำ�วิธีการบริหารจิตและเจริญปัญญา ไปใช้ในชีวิตประจำ�วัน – พร้อมการเรียนรู้ด้วยวิธี คิดแบบโยนิโสมนสิการ ๒ วิธี – แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม – แบบอรรถธรรมสัมพันธ์ กมฺมุนา วตฺตตี โลโก – สัตว์โลกย่อมเป็นไปตามกรรม กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ – ทำ�ดีได้ดี ทำ�ชั่วได้ชั่ว สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย – การสั่งสอนบุญนำ�สุขมาให้ ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ – ผู้บูชาเขาย่อมได้รับการบูชาตอบ ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) ธรรมคุณ ๖ อริยสัจ ๔ พระธรรม พุทธศาสนสุภาษิต ศัพท์ทาง พระพุทธศาสนา – บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา –-ดรุณธรรม ๖ – กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ – กุศลกรรมบถ ๑๐ – สติปัฏฐาน ๔ – มงคล ๓๘ – ประพฤติธรรม – เว้นจากความชั่ว – เว้นจากการดื่มนํ้าเมา โครงสร้างชื่อคัมภีร์ และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก ➧ ➧ ➧ ➧ ➧ พระไตรปิฎก การบริหารจิต และเจริญปัญญา ➧ – ฌาน - ญาณ เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิฎก – จูฬกัมมวิภังคสูตร – ขันธ์ ๕ – อายตนะ – หลักกรรม – สมบัติ ๔ - วิบัติ ๔ – อกุศลกรรมบถ ๑๐ – อบายมุข ๖ – สุข ๒ – สามิสสุข – นิรามิสสุข
  • 5. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 191 – การทำ�บุญตักบาตร – การถวายภัตตาหาร สิ่งของที่ควรถวาย และสิ่งของต้องห้ามสำ�หรับพระภิกษุ – การถวายสังฆทาน/เครื่องสังฆทาน – การถวายผ้าอาบนํ้าฝน – การจัดเครื่องไทยธรรม/เครื่องไทยธรรม – การกรวดนํ้า – การทอดกฐิน ทอดผ้าป่า เข้าใจบทบาทของพระภิกษุ – ในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา การฝึกฝนบทบาทตนเอง – ในการช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนา การเข้าค่ายพุทธบุตร – การเข้าร่วมพิธีกรรม ทางพระพุทธศาสนา การเป็นลูกที่ดีตามหลัก ทิศเบื้องหน้าในทิศ ๖ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ – พระสงฆ์ ชาวพุทธ ตัวอย่าง พุทธสาวก พุทธสาวิกา หน้าที่ชาวพุทธ ศาสนพิธี ➧ ➧ ➧ ➧ ➧ มรรยาท ชาวพุทธ สัมมนา พระพุทธ- ศาสนา ➧ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส พระมหาธรรมราชาลิไท – พระสารีบุตร – พระโมคคัลลานะ – นางขุชชุตตรา – พระเจ้าพิมพิสาร การต้อนรับ (ปฏิสันถาร) – มรรยาทของผู้เป็นแขก – ฝึกปฏิบัติระเบียบพิธีปฏิบัติต่อ – พระภิกษุ การยืน การให้ที่นั่ง การเดินสวนทาง การสนทนา การรับสิ่งของ การแต่งกายไปวัด – การแต่งกายไปงานมงคล/งานอวมงคล ผังมโนทัศน์สาระการเรียนรู้เรื่อง พระสงฆ์ กับการพัฒนาชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
  • 6. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 192 รายวิชา สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง สาระศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานที่ ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำĕคัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ม. ๒/๒ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจอันดี กับประเทศเพื่อนบ้าน ม. ๒/๓ วิเคราะห์ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของ วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ ม. ๒/๔ อภิปรายความสำĕคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือกับการพัฒนาชุมชน และการ จัดระเบียบสังคม ม. ๒/๕ วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ม. ๒/๖ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำĕเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวกชาดกเรื่องเล่า และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำĕหนด ม. ๒/๗ อธิบายโครงสร้างของพระไตรปิฎกหรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ม. ๒/๘ อธิบายธรรมคุณและข้อธรรมสำĕคัญในกรอบอริยสัจ ๔ หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ กำĕหนด เห็นคุณค่าและนำĕไปพัฒนาแก้ปัญหาของชุมชนและสังคม ม. ๒/๙ เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำĕเนินชีวิตด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการคือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง ของศาสนาที่ตนนับถือ ม. ๒/๑๐ สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหารจิต และเจริญปัญญาด้วยอานาปานสติหรือตามแนวทางของศาสนาที่ ตนนับถือ ม. ๒/๑๑ วิเคราะห์และปฏิบัติตนตามหลักธรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อการดำĕรงตนอย่างเหมาะสม ใน กระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกและการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
  • 7. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ มาตรฐานที่ ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธำĕรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน 193 นับถือ ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อบุคคลต่างๆ ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำĕหนด ม. ๒/๒ มีมรรยาทของความเป็นศาสนิกชนที่ดีตามที่กำĕหนด ม. ๒/๓ วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธีและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ม. ๒/๔ อธิบายคำĕสอนที่เกี่ยวเนื่องกับวันสำĕคัญทางศาสนาและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ม. ๒/๕ อธิบายความแตกต่างของศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ เพื่อนำĕไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม มาตรฐานที่ ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธำĕรงรักษาประเพณีและ วัฒนธรรมไทย ดำĕรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ ม. ๒/๒ เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตน ตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย ม. ๒/๓ วิเคราะห์บทบาทความสำĕคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม ม. ๒/๔ อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาค เอเชีย เพื่อนำĕไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศ มาตรฐานที่ ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมอืงการปกครองในสงัคมปจัจบุนั ยดึมนั่ ศรทัธา และธĕำรงรกัษาไว้ ซงึ่การปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย ม. ๒/๒ วิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทางการเมืองการปกครองที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน w w w w w w w w
  • 8. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 194 รายวิชา สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง โครงสร้าง รายวิชา หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา (ชั่วโมง) นํ้าหนัก คะแนน ๑ ประวัติและ ความสำĕคัญ ของพระพุทธ ศาสนา ส ๑.๑ ม. ๒/๑ - ๖ พระพุทธศาสนาเผยแผ่จาก ประเทศอินเดียเข้าสู่ดินแดน สุวรรณภูมิ ช่วยเสริมสร้าง ความเข้าใจอันดีระหว่าง ประเทศ สำĕหรับประเทศไทย ถือเป็นรากฐานของวัฒนธรรม เอกลักษณ์และมรดกของชาติ ๖ ๕ ๒ พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชน ตัวอย่าง ส ๑.๑ ม. ๒/๕ - ๖ การวิเคราะห์พุทธประวัติ ประวัติของพระสาวก สาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่างทำĕให้ได้ ข้อคิดและคุณธรรมเป็น แบบอย่างเพื่อนำĕไปใช้ในการ ดำĕเนินชีวิตได้ ๘ ๕ ๓ หลักธรรม ทางพระพุทธ- ศาสนา ส ๑.๑ ม. ๒/๘, ๒/๑๑ พระไตรปิฎกเป็นคัมภีร์ที่บรรจุ หลักธรรมคำĕสอนของ พระพุทธศาสนา อริยสัจ ๔ เป็นหลักสำĕคัญในการ ดำĕเนินชีวิตที่นำĕไปสู่ความ พ้นทุกข์ พุทธศาสนสุภาษิต เป็นส่วนหนึ่งของหลักธรรม ทางพระพุทธศาสนา ย่อมส่ง ผลดีต่อความสงบเรียบร้อยของ สังคม ๘ ๕
  • 9. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 195 หน่วย ที่ ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา (ชั่วโมง) นํ้าหนัก คะแนน ๔ การบริหารจิต และการเจริญ ปัญญา ส ๑.๒ ม. ๒/๙ - ๑๐ การสวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร จิตและเจริญปัญญาด้วยอานา- ปานสติและวิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเร้าคุณธรรมและวิธีคิด แบบอรรถสัมพันธ์เป็นส่วน สำĕคัญของการพัฒนาจิตเพื่อการ ดำĕเนินชีวิตอย่างถูกต้อง ๔ ๕ ๕ มรรยาทหน้าที่ ชาวพุทธและ วันสำĕคัญทาง พระพุทธ- ศาสนา ส ๑.๒ ม. ๒/๑ - ๕ ชาวพุทธควรปฏิบัติตน อย่างเหมาะสมในวันสำĕคัญทาง พระพุทธศาสนาและเข้าร่วมใน พิธีกรรมเพื่อเป็นการสืบทอด พระพุทธศาสนา ๑๐ ๑๐ สอบกลางภาคเรียน ๒๐ ๖ กฎหมายใน ชีวิตประจำĕวัน ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ส ๒.๒ ม. ๒/๑ กฎหมายเป็นเครื่องควบคุม ความประพฤติ เพื่อการอยู่ ร่วมกันในสังคมอย่างสงบสุข ๔ ๕ ๗ พลเมืองดี ตามวิถี ประชาธิปไตย ส ๒.๑ ม. ๒/๒ - ๓ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย โดยสถาบัน ทางสังคมมีบทบาทต่อความ สงบเรียบร้อยและการพัฒนา ประเทศให้เจริญก้าวหน้าอย่าง มั่นคง ๔ ๑๐
  • 10. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง หน่วย ที่ 196 ชื่อหน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำ�คัญ เวลา (ชั่วโมง) นํ้าหนัก คะแนน ๘ การเมืองการ ปกครองไทย ส ๒.๒ ม. ๒/๒ ประเทศไทยปกครองด้วย ระบอบประชาธิปไตย มี เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลง ตลอด ประชาชนจะต้องรู้จัก เลือกรับข้อมูลข่าวสารเพื่อนำĕมา วิเคราะห์เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เพื่อติดตามข่าวสารและความ เคลื่อนไหวทางการเมือง ๒ ๕ ๙ ภูมิใจใน วัฒนธรรม ส ๒.๑ ม. ๒/๔ วัฒนธรรมช่วยสร้างความเข้าใจ อันดีระหว่างกัน ชาติไทยเป็น ชาติที่มีประเพณีวัฒนธรรมที่ เป็นเอกลักษณ์ในแต่ละภูมิภาค ที่สร้างชื่อเสียงให้กับประเทศ ไทย เราจึงต้องอนุรักษ์และ ส่งเสริมประเพณีและ วัฒนธรรมไทยให้คงอยู่ตลอดไป ๗ ๑๐ สอบปลายภาค ๒๐
  • 11. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 197 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม ๑ ๑๖ พ.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ - ชี้แจงแนะนำĕสาระการเรียนรู้ - ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง - ทดสอบก่อนเรียน - สมุดจดบันทึก - หนังสือเรียน - ใบงาน ๒ ๒๑ พ.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ พระพุทธศาสนาในประเทศพม่า อินโดนีเซีย ลาว ใบงานที่ ๑ ๓ ๒๒ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พระพุทธศาสนาในประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย สิงคโปร์ ส ๑.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒, ๓ ๔ ๒๓ พ.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา (หลักความเมตตา, หลักความเป็นกลาง, หลักมิตรภาพ, หลักสันติภาพ, หลักความไม่ประมาท) ส ๑.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๔ ๕ ๒๘ พ.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา ต่อสังคมไทย - รากฐานของวัฒนธรรม - เอกลักษณ์และมรดกของชาติ ส ๑.๑ ม. ๒/๒ ๖ ๒๙ พ.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ความสำĕคัญของพระพุทธศาสนา กับการพัฒนาชุมชนและการ จัดระเบียบสังคม ส ๑.๑ ม. ๒/๓ ๗ ๓๐ พ.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ พุทธประวัติตอนการผจญมาร ส ๑.๑ ม. ๒/๔ ใบงานที่ ๕ วันจันทร์ที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๕๕ หยุดวันวิสาขบูชา ๘ ๕ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พุทธประวัติตอนการตรัสรู้และ สั่งสอนธรรม ส ๑.๑ ม. ๒/๕ ใบงานที่ ๖ ๙ ๖ มิ.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ พุทธสาวก : พระสารีบุตร ส ๑.๑ ม.๒/๖ ใบงานที่ ๗
  • 12. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 198 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๑๐ ๑๑ มิ.ย. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ พุทธสาวก : พระโมคคัลนานะ ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ๑๑ ๑๒ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พุทธสาวก : พระเจ้าพิมพิสาร ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ๑๒ ๑๓ มิ.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ พุทธสาวก : นางขุชชุตรา ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ๑๓ ๑๘ มิ.ย. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ ชาวพุทธตัวอย่าง : พระมหาธรรม- ราชาที่ ๑ (ลิไท) ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๘ ๑๔ ๑๙ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ ชาวพุทธตัวอย่าง : สมเด็จ พระมหาสมณเจ้า กรมพระยา วชิรญาณวโรรส ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๙ ๑๕ ๒๐ มิ.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ชาดก : มิตตวินทุกชาดก เห็นกงจักรเป็นดอกบัว ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ใบงานที่ ๑๐ ๑๖ ๒๕ มิ.ย. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ ชาดก : ราโชวาทชาดก ส ๑.๑ ม. ๒/๖ ๑๗ ๒๖ มิ.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ พระไตรปิฎก ส ๑.๑ ม. ๒/๗ ใบงานที่ ๑๑ ๑๘ ๒๗ มิ.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ โครงสร้างของพระไตรปิฎก ส ๑.๑ ม. ๒/๗ ๑๙ ๒ ก.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ หลักพระรัตนตรัย (ธรรมคุณ ๖) ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๒ ๒๐ ๓ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ หลักอริยสัจ ๔ ๑. ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้ป ๒. สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) - หลักกรรม (สมบัติ ๔, วิบัติ ๔) - อกุศลกรรมบถ ๑๐ - อบายมุข ๖ ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๓
  • 13. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 199 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๒๑ ๔ ก.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ๓. นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) - สุข ๒ (สามิส, นิรามิส) ๔. มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ) - บุพพนิมิตของมัชฌิมาปฏิปทา - ดรุณธรรม ๖ - กุลจิรัฏฐิติธรรม ๔ - กุศลกรรมบถ ๑๐ - สติปัฏฐาน ๔ - มงคล ๓๘ (ประพฤติธรรม, เว้นจากความชั่ว, เว้นจากการดื่มนํ้าเมา ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ๒๒ ๙ ก.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ พุทธศาสนสุภาษิต ส ๑.๑ ม. ๒/๘ ใบงานที่ ๑๔ ๒๓ ๑๐ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ การบริหารจิตตามหลักอานาปานสติ ส ๑.๑ ม. ๒/๙ ใบความรู้ที่ ๑ ๒๔ ๑๑ ก.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ การเจริญปัญญาโดยการคิดแบบ โยนิโสมนสิการ ส ๑.๑ ม. ๒/๙ ใบความรู้ที่ ๒ ๒๕ ๑๖ ก.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ การสวดมนต์แปลและแผ่เมตตา ส ๑.๑ ม. ๒/๑๐ ๒๖ ๑๗ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ สัมมนาพระพุทธศาสนากับสังคมไทย ส ๑.๑ ม. ๒/๑๑ ใบงานที่ ๑๕ ๒๗ ๑๘ ก.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ทิศเบื้องต้น (ลูกที่ดีตามหลักทิศ ๖) ส ๑.๒ ม. ๒/๑ ๒๘ ๒๓ ก.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ มรรยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๑๖ ๒๙ ๒๔ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ มรรยาทชาวพุทธ ส ๑.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๑๗
  • 14. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 200 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๓๐ ๒๕ ก.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม. ๒/๓ ใบงานที่ ๑๘ ๓๑ ๓๐ ก.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ ศาสนพิธี ส ๑.๒ ม. ๒/๓ ๓๒ ๓๑ ก.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา และ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๒ ม. ๒/๔ ใบงานที่ ๑๙ ๓๓ ๑ ส.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ วันอัฏฐมีบูชา วันธรรมสวนะ และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๒ ม. ๒/๔ วันพฤหัสบดีที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันอาสาฬหบูชา วันศุกร์ที่ ๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดวันเข้าพรรษา ๓๔ ๖ ส.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ วันอาสาฬหบูชา วันเข้าพรรษา และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๒ ม. ๒/๔ ๓๕ ๗ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ วันออกพรรษา วันเทโวโรหนะ และหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ส ๑.๒ ม. ๒/๔ ๓๖ ๘ ส.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ หลักธรรมในการอยู่ร่วมกัน ส ๑.๑ ม. ๒/๕ วันจันทร์ที่ ๑๓ สิงหาคม ๒๕๕๕ หยุดชดเชยวันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำ�เนินชีวิตในสังคม ๓๗ ๑๔ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ กระบวนการในการตรากฎหมาย ส ๒.๒ ม. ๒/๑ ๓๘ ๑๕ ส.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ กฎหมายครอบครัว ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๐ - ๒๑ ๓๙ ๒๐ ส.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๐ กฎหมายแพ่ง ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๒ ๔๐ ๒๑ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ กฎหมายชุมชนและประเทศชาติ ส ๒.๑ ม. ๒/๑ ใบงานที่ ๒๓
  • 15. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 201 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๔๑ ๒๒ ส.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย ส ๒.๑ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๒๔ ๔๒ ๒๗ ส.ค. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดี ส ๒.๑ ม. ๒/๒ ๔๓ ๒๘ ส.ค. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ สถาบันทางสังคม ส ๒.๑ ม. ๒/๓ ใบงานที่ ๒๕ ๔๔ ๒๙ ส.ค. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ สถาบันทางสังคม ส ๒.๑ ม. ๒/๓ ๔๕ ๓ ก.ย. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลง ของระบอบการเมืองการปกครอง ของไทย ส ๒.๒ ม. ๒/๒ ใบงานที่ ๒๖ ๔๖ ๔ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ การเลือกรับข้อมูลข่าวสารการเมือง การปกครองไทย ส ๒.๒ ม. ๒/๒ ๔๗ ๕ ก.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ที่มาของวัฒนธรรมไทย ส ๒.๑ ม. ๒/๔ ๔๘ ๑๐ ก.ย. ๕๕ ๑๐.๒๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ ลักษณะวัฒนธรรมไทย - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับ พระมหากษัตริย์ ส ๒.๑ ม. ๒/๔ ๔๙ ๑๑ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา - วัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับอาชีพ ส ๒.๑ ม. ๒/๔ ๕๐ ๑๒ ก.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ลักษณะวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชีย - วัฒนธรรมจีน ส ๒.๑ ม. ๒/๔ ๕๑ ๑๗ ก.ย. ๕๕ ๑๐.๓๐ - ๑๑.๓๐ น. ๑ - วัฒนธรรมอินเดีย - วัฒนธรรมอิสลาม ส ๒.๑ ม. ๒/๔ ๕๒ ๑๘ ก.ย. ๕๕ ๐๘.๓๐ - ๐๙.๓๐ น. ๑ - วัฒนธรรมญี่ปุ่น - วัฒนธรรมเวียดนาม ส ๒.๑ ม. ๒/๔
  • 16. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง กำ�หนดการเรียนรู้รายชั่วโมง และสิ่งที่โรงเรียนปลายทางต้องเตรียม 202 รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑ จำ�นวน ๑.๕ หน่วยกิต เวลา ๕๓ ชั่วโมง ครั้งที่ วัน/เดือน/ปี เวลา จำ�นวน ชั่วโมง เรื่องที่สอน มาตรฐาน การเรียนรู้ข้อที่ สิ่งที่ ร.ร.ปลายทาง ต้องเตรียม (ครู/นักเรียน) ๕๓ ๑๙ ก.ย. ๕๕ ๑๒.๓๐ - ๑๓.๓๐ น. ๑ ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ของวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรม ของประเทศในเอเชีย ส ๒.๑ ม. ๒/๔
  • 17. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 203 ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำ�คัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๒/๑ อธิบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ม. ๒/๒ วเิคราะหค์วามสำ�คัญของพระพทุธศาสนาหรอืศาสนาทีต่นนบัถือ ที่ชว่ยเสรมิสรา้งความเข้าใจ อันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน ม. ๒/๓ วิเคราะห์ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่เป็นรากฐานของ วัฒนธรรม เอกลักษณ์ของชาติและมรดกของชาติ ม. ๒/๔ อภิปรายความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ กับการพัฒนาชุมชนและ การจัดระเบียบสังคม ๒. สาระสำ�คัญ/ความคิดรวบยอด พระพุทธเจ้าได้ตรัสร้หูลักธรรมท่เีป็นความจริงอันประเสริฐแล้วได้ประกาศเผยแผ่พระพุทธศาสนาในชมพูทวีป โดยมีพุทธสาวกเป็นผู้สืบทอดและเผยแผ่พระพุทธศาสนาไปยังภูมิภาคต่างๆ ในโลก เริ่มเผยแผ่จากอินเดียสู่ดินแดนอื่น โดยการนำ�ของพระสมณทูตในรัชสมัยของพระเจ้าอโศกมหาราช สำ�หรับดินแดนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้มี พระโสณเถระ พระอุตตรเถระ และพระมหินทเถระ นำ�พระพุทธศาสนามาเผยแผ่ทำ�ให้มีการนับถือพระพุทธศาสนาอย่าง กว้างขวางและสืบทอดต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน สังคมไทย ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาจึงไม่เพียงแต่มีอิทธิพลต่อ ด้านจิตใจเท่านั้น แต่ยังมีความสำ�คัญต่อการเป็นรากฐานของวัฒนธรรมและการเป็นเอกลักษณ์และมรดกของชาติอีกด้วย ๓. สาระการเรียนรู้ ๑. การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ๒. การนับถือพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน ๓. ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา - พระพุทธศาสนาช่วยสร้างความเข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน - พระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐานของวัฒนธรรมไทย - พระพุทธศาสนาเป็นเอกลักษณ์และมรดกของสังคมไทย หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ ประวัติและความสำ�คัญ ของพระพุทธศาสนา เวลา ๖ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
  • 18. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน 204 ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำ�งาน รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงาน ๗. การวัดผลประเมินผล ๑. วิธีการวัดและประเมินผล ๑) ตรวจแบบทดสอบ ๒) ตรวจใบงาน ๓) ประเมินผลงานกลุ่ม ๔) ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ๒. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบ ๒) แบบประเมินใบงาน ๓) แบบประเมินผลงานกลุ่ม ๔) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ชี้แจงแนะนำ�สาระการเรียนรู้ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ครูพูดคุยกับนักเรียนเกี่ยวกับ วิธีการเรียนการสอน เนื้อหา การวัดผล ประเมินผล ๓. ร่วมกันสรุป ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. สุ่มออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อ วิถีชีวิตของนักเรียนหรือไม่อย่างไร แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ สื่อ Power Point
  • 19. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 205 ชั่วโมงที่ ๒ การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศพม่า อินโดนีเซีย และลาว กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ให้นักเรียนดูภาพพิธีกรรมในวัน สำ�คัญทางพระพุทธศาสนาใน ประเทศเพื่อนบ้านแล้วอภิปรายใน ประเด็นดังนี้ - เป็นภาพกิจกรรมเกี่ยวกับอะไร - เป็นภาพชาวพุทธในประเทศใด - เป็นภาพที่แสดงถึงความศรัทธา ต่อพระพุทธศาสนาอย่างไร และมีผลต่อสังคมนั้นอย่างไร ๓. อธิบายลักษณะการเผยแผ่พระพุทธ ศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน ๔. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน ครูอธิบายทำ�ความเข้าใจ ๕. ร่วมกันสรุป ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. สุ่มออกมาอภิปรายหน้าชั้นเรียน แล้วช่วยกันสรุป ๔. แบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ ๘ คน แต่ละกลุ่มจับคู่กัน ศึกษาการ เผยแผ่พระพุทธศาสนา การนับถือ พระพุทธศาสนาของประเทศ เพื่อนบ้านในปัจจุบัน และทำ�ใบงาน คู่ที่ ๑ เผยแผ่เข้าสู่ประเทศพม่า อินโดนีเซีย และลาว คู่ที่ ๒ เผยแผ่เข้าสู่ประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ สิงคโปร์ ๕. คู่ที่ ๑ อภิปรายผลการศึกษาและ นำ�เสนอผลการเรียนรู้จากใบงาน พร้อมซักถามข้อสงสัย ๖. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบก่อน-หลังเรียน ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ สื่อ Power Point แผนที่ทวีปเอเชีย หนังสือแบบเรียน ใบงานที่ ๑ ใบงานที่ ๒ ใบงานที่ ๓ แบบทดสอบ
  • 20. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 206 ชั่วโมงที่ ๓ การเผยแผ่พระพุทธศาสนา เข้าสู่ประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน ครูช่วยอธิบายทำ�ความเข้าใจ ตอบข้อสงสัย ๓. ช่วยชี้แนะเพิ่มเติม ๔. สรุปโดยสุ่มถามคำ�ถามกลุ่ม เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจ ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. คู่ที่ ๓ อภิปรายผลการศึกษาและ นำ�เสนอผลการเรียนรู้เรื่อง การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ ประเทศกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และสิงคโปร์ และการนับถือพระพุทธศาสนา ของประเทศเพื่อนบ้านในปัจจุบัน อภิปรายผลการศึกษา และนำ�เสนอ ผลการเรียนรู้จากใบงาน พร้อมซักถามข้อสงสัย ๓. ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ของใบงาน ๔. ตัวแทนกลุ่มอธิบายความรู้เรื่องที่ ตนศึกษาและทำ�ใบงานโดยให้เพื่อน ซักถามข้อสงสัย ๕. นำ�ข่าวเกี่ยวกับสถานการณ์หรือ กิจกรรมเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาใน ประเทศเพื่อนบ้านมาเล่าสู่กันฟัง และให้ทุกคนร่วมกันอภิปรายถึง ผลดีหรือผลเสียของกิจกรรมหรือ เหตุการณ์ที่นำ�เสนอ ๖. ทำ�แบบทดสอบหลังการเรียน สื่อ Power Point ข่าว หนังสือพิมพ์ แบบทดสอบหลังเรียน
  • 21. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 207 ชั่วโมงที่ ๔ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนา กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ให้นักเรียนดูภาพแล้วอภิปรายแล้ว ร่วมกันสรุป ๓. สนทนาผลการศึกษาและทำ�ใบงาน ครูอธิบายทำ�ความเข้าใจ ๔. ร่วมกันสรุปทุกคนปฏิบัติตาม หลักการของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาที่ตนนับถือ ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. คิดจินตนาการว่าตนเองเป็น สมาชิกในสังคมของชาวพุทธ - มีการดำ�เนินชีวิตอย่างไร - ทำ�ไมจึงอยู่กันอย่างมีความสุข โดยให้ร่วมกันเขียนผังมโนทัศน์ บนกระดานหน้าชั้นเรียน ๔. บอกความสำ�คัญและเขียน บรรยายภาพที่ดู ๕. ศึกษาความสำ�คัญของ พระพุทธศาสนา ๖. ทำ�ใบงานความสำ�คัญของ พระพุทธศาสนา ๗. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน ภาพพิธีกรรมทางศาสนาพุทธ จิตรกรรมฝาผนัง สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน แบบทดสอบหลังเรียน ชั่วโมงที่ ๕ ความสำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับความ สำ�คัญของพระพุทธศาสนาต่อ สังคมไทยโดยใช้คำ�ถามดังนี้ - พระพุทธศาสนาเป็นรากฐานของ วัฒนธรรมไทยอย่างไร ๓. คณะครูนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ ผลที่ได้รับจากการสัมมนาพระพุทธ ศาสนา โดยเขียนลงเป็นแผนผัง ความคิด ๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุป ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ช่วยกันวิเคราะห์และนำ�เสนอ ๓. ทำ�ใบงานเรื่อง ความสำ�คัญของ พระพุทธศาสนาที่เป็นรากฐาน ของวัฒนธรรมไทย โดยทุกคนสรุป ประเด็นสำ�คัญ ๔. ช่วยกันวิเคราะห์และตอบคำ�ถาม สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน
  • 22. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 208 ชั่วโมงที่ ๖ พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบสังคม กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการ สัมมนา พระพุทธศาสนากับการแก้ ปัญหาและการพัฒนา นำ�ไปใช้ใน ชีวิตประจำ�วันอย่างไรบ้างและได้รับ ผลอย่างไร ๓. ครูและนักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ผล ที่ได้รับจากการสัมมนาพระพุทธ- ศาสนา โดยเขียนลงเป็นแผนผัง ความคิด ๔. ร่วมกันวิเคราะห์ว่าในปัจจุบันสังคม มีปัญหาวุ่นวายหลายด้านด้วยกัน เราจะนำ�พระพุทธศาสนามาช่วย จัดระเบียบสังคมอย่างไร เพื่อให้เกิด ความสงบและสันติสุขในสังคม ๕. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปการนำ� พระพุทธศาสนากับการจัดระเบียบ สังคมจะช่วยทำ�ให้บ้านเมืองสงบ มีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ช่วยกันวิเคราะห์และนำ�เสนอ ๓. ทำ�ใบงานเรื่อง ผลจากการสัมมนา พระพุทธศาสนา โดยทุกคนสรุป ประเด็นสำ�คัญที่ได้จากการสัมมนา ๔. ช่วยกันสรุปความจำ�เป็นของการ สัมมนาพระพุทธศาสนา ๕. ช่วยกันวิเคราะห์และตอบคำ�ถาม สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน ๙. สื่อการเรียนรู้ สื่อ / แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ ๒ ๒. ใบงาน ๓. ภาพกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เช่น ภาพการประกอบพิธีกรรมในวันสำ�คัญทางพระพุทธ- ศาสนา ภาพประเพณีสำ�คัญที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนาของประเทศเพื่อนบ้าน เป็นต้น ๔. ภาพและเนื้อหาข่าวการร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย และประเทศเพื่อนบ้าน เช่น การประชุมผู้นำ�ทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น
  • 23. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 209 ๕. แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.aksorn.com/Lib/s/soc_01 www.geocities.com/Athens/Agora/3232 ๑๐. เกณฑ์การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน ประเด็น การประเมิน ระดับคุณภาพ ๔ (ดีมาก) ๓ (ดี) ๒ (พอใช้) ๑ (ปรับปรุง) วิเคราะห์ความสำ�คัญ ของพระพุทธศาสนา ในประเทศเพื่อนบ้าน เขียนอธิบายได้ อย่างเป็นกระบวน การ ถูกต้อง ครบ ถ้วน มีรายละเอียด มากและชัดเจน เขียนอธิบายได้อย่าง เป็นกระบวนการ ถูกต้อง ครบถ้วน มี รายละเอียดมาก แต่ขาดความชัดเจน เขียนอธิบายได้อย่าง เป็นกระบวนการ ถูกต้อง ครบถ้วน แต่มีรายละเอียด น้อย เขียนอธิบายได้อย่าง เป็นกระบวนการ ถูกต้องเป็นบางส่วน และมีรายละเอียด น้อย ตระหนักในความ สำ�คัญของพระพุทธ ศาสนา กระตือรือร้นใน การปฏิบัติตาม หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนา ได้ด้วยตนเองอย่าง สมํ่าเสมอและ ชักชวนให้ผู้อื่น ปฏิบัติตาม กระตือรือร้นใน การปฏิบัติตาม หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาได้ ด้วยตนเองอย่าง สมํ่าเสมอ กระตือรือร้นใน การปฏิบัติตาม หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาได้ ด้วยตนเองเป็น บางครั้ง กระตือรือร้นใน การปฏิบัติตาม หลักธรรมทาง พระพุทธศาสนาได้ แต่ต้องมีผู้อื่น แนะนำ� หรือ ได้รับคำ�สั่งให้ทำ� w w w w w w w w
  • 24. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด 210 มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสำ�คัญ ศาสนา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน นับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู่ร่วมกันอย่าง สันติสุข ตัวชี้วัด ม. ๒/๕ วิเคราะห์พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กำ�หนด ม. ๒/๖ วิเคราะห์และประพฤติตนตามแบบอย่างการดำ�เนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่าและศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำ�หนด ๒. สาระสำ�คัญ/ความคิดรวบยอด พระพุทธเจ้าเป็นบุคคลผู้เพียบพร้อมด้วยความดีงาม พระองค์ทรงมีความเพียรพยายามแสวงหาความจริงอัน ประเสริฐ เพื่อช่วยบุคคลที่ตกอยู่ในความทุกข์ทั้งปวงได้หลุดพ้นโดยมีพุทธสาวก พุทธสาวิกานำ�มาเผยแผ่แก่มวลมนุษย์ การศึกษาถึงพระจริยาวัตรของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและชาดกเรื่องมิตตวินทุกชาดก และราโชวาทชาดกนั้นจะทำ�ให้ได้ แนวคดิเปน็คตเิตอืนใจใหร้จู้กัการยบัยงั้เกยี่วกบัการประพฤตตินใหอ้ยใู่นหลกัธรรม ยอ่มทำ�ใหเ้กดิความศรทัธาและสามารถ นำ�ไปประยุกต์ปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะสม ในสังคมปัจจุบันได้ ๓. สาระการเรียนรู้ พุทธประวัติ ๑) ผจญมาร ๒) การตรัสรู้และสั่งสอนธรรม ประวัติพุทธสาวก พุทธสาวิกา ๑) พระสารีบุตร ๒) พระโมคคัลลานะ ๓) นางขุชชุตตรา ๔) พระเจ้าพิมพิสาร หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ พุทธประวัติของพระสาวก ชาวพุทธตัวอย่าง เวลา ๘ ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา สังคม ศาสนา และวัฒนธรรม รหัสวิชา ส๒๒๑๐๑
  • 25. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 211 ชาวพุทธตัวอย่าง ๑) ประวัติพระมหาธรรมราชาลิไทย ๒) ประวัติสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ชาดก ๑) มิตตวินทุกชาดก ๒) ราโชวาทชาดก ๔. สมรรถนะสำ�คัญของผู้เรียน ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำ�กระบวนการต่างๆ ไปใช้ในการดำ�เนินชีวิต ประจำ�วัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำ�งานและการอยู่ร่วมกันในสังคม ๕. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำ�งาน รักความเป็นไทย มี จิตสาธารณะ ๖. ชิ้นงาน/ภาระงาน ใบงาน ๗. การวัดผลประเมินผล ๑. วิธีการวัดและประเมินผล ๑) ตรวจแบบทดสอบ ๒) ตรวจใบงาน ๓) ประเมินผลงานกลุ่ม ๔) ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล ๒. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑) แบบทดสอบ ๒) แบบประเมินใบงาน ๓) แบบประเมินผลงานกลุ่ม ๔) แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล
  • 26. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง ๘. กิจกรรมการเรียนรู้ 212 ชั่วโมงที่ ๗ พุทธประวัติ ตอนผจญมาร กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อ - รู้เรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติใน เรื่องใดบ้าง - ได้แง่คิดจากความรู้อย่างไร - ต้องการรู้พุทธประวัติใน เรื่องใดบ้าง อธิบายเหตุผล ๓. ครูแจกใบงานเรื่องพุทธประวัติ ๔. ช่วยกันเฉลยใบงาน ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ศึกษาพุทธประวัติ - ตอนผจญมาร - ตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม ๔. ทำ�ใบงาน เมื่อทำ�เสร็จแล้วให้จับคู่ กับเพื่อนอภิปรายคำ�ตอบ แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงานเรื่องพุทธประวัติ ชั่วโมงที่ ๘ พุทธประวัติ ตอนตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ครูชี้แนะ เพิ่มเติมความรู้ ตอบข้อสงสัย ๓. ร่วมกันสรุปประเด็นสำ�คัญและ นำ�หลักธรรมไปประยุกต์ปฏิบัติใน การดำ�เนินชีวิต ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. แบ่งกลุ่มศึกษาความรู้เกี่ยวกับเรื่อง การสั่งสอนธรรมของพระพุทธเจ้า ๓. ทำ�ใบงาน เรื่อง การสั่งสอนธรรม ของพระพุทธเจ้า ๔. ร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็น ตอนตรัสรู้และการสั่งสอนธรรม แล้วร่วมกันสรุปประเด็น ๕. ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอผลงาน ๖. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน แบบทดสอบ
  • 27. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 213 ชั่วโมงที่ ๙ พุทธสาวก : พระสารีบุตร กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อพุทธ- สาวก สาวิกา ในหัวข้อ - ชื่อพุทธสาวก พุทธสาวิกา - ผลงานสำ�คัญ - คุณธรรมที่ควรนำ�ไปเป็น แบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต ๓. อธิบายให้เข้าใจถึงพุทธสาวกที่ พระพุทธเจ้ายกย่อง พร้อมกับ แจกใบงาน ๔. ครูชี้แนะ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ๕. ช่วยกันสรุปผลงานสำ�คัญที่มีต่อ พระพุทธศาสนา และแนวทาง การปฏิบัติตามคุณธรรม ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของ พระสารีบุตร ๔. ทำ�ใบงาน เรื่อง ประวัติพระสารีบุตร นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน ชั่วโมงที่ ๑๐ พุทธสาวก : พระโมคคัลลานะ กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. สนทนากับนักเรียนในหัวข้อ พุทธสาวก สาวิกา ในหัวข้อ - ชื่อพุทธสาวก พุทธสาวิกา - ผลงานสำ�คัญ - คุณธรรมที่ควรนำ�ไปเป็น แบบอย่างในการดำ�เนินชีวิต ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและทำ� สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของ พระโมคคัลลานะ แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน
  • 28. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 214 กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๓. อธิบายให้เข้าใจถึงพุทธสาวกที่ พระพุทธเจ้ายกย่อง พร้อมกับแจก ใบงาน ๔. ครูชี้แนะ ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ๕. ช่วยกันสรุปผลงานสำ�คัญที่มีต่อ พระพุทธศาสนา และแนวทาง การปฏิบัติตามคุณธรรม ๔. ทำ�ใบงานเรื่อง ประวัติ พระโมคคัลลานะ นำ�เสนอหน้าชั้นเรียน ใบงาน ชั่วโมงที่ ๑๑ พุทธสาวก : พระเจ้าพิมพิสาร กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ครูซักถามนักเรียนถึงการปฏิบัติตน ตามหลักคุณธรรม มีผู้ใดนำ�ไป ปฏิบัติแล้ว ผลของการปฏิบัติเป็น อย่างไร และควรพัฒนาหรือ ปรับปรุงแก้ไขอย่างไร โดยครูช่วย ชี้แนะเพิ่มเติม ๓. สนทนาเกี่ยวกับประวัติของ พระเจ้าพิมพิสารที่สอดคล้อง กับความประพฤติของบุคคล ในสังคมไทยปัจจุบัน ๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปแง่คิดที่ ได้จากการศึกษาพระเจ้าพิมพิสาร มีคุณความดีต่อพระพุทธศาสนา อย่างไรบ้าง หลักคุณธรรมที่ สามารถ นำ�ไปเป็นหลักปฏิบัติในการดำ�เนิน ชีวิต พร้อมยกตัวอย่างประกอบ ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. แบ่งนักเรียนเป็น ๔ กลุ่ม ศึกษาความรู้ในเรื่องต่อไปนี้ กลุ่มที่ ๑, ๒ เรื่อง พระเจ้าพิมพิสาร กลุ่มที่ ๓, ๔ เรื่อง นางขุชชุตตรา ๔. ให้กลุ่มที่ ๑, ๒ - ช่วยกันวิเคราะห์ถึงบทบาทสำ�คัญ ที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ- ศาสนา หรือเป็นแบบอย่างต่อ ชาวพุทธทั่วไป - ตั้งประเด็นคำ�ถามเชิงวิเคราะห์ แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงาน
  • 29. ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๕ 215 ชั่วโมงที่ ๑๒ พุทธสาวก : นางขุชชุตตรา กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ครูซักถามนักเรียนถึงการปฏิบัติตน ตามหลักคุณธรรมของนางขุชชุตตรา มีผู้ใดนำ�ไปปฏิบัติแล้ว ผลของการ ปฏิบัติเป็นอย่างไร และควรพัฒนา หรือปรับปรุงแก้ไขอย่างไร โดยครูช่วยชี้แนะเพิ่มเติม ๓. สนทนาเกี่ยวกับประวัติของ นางขุชชุตตรา ที่สอดคล้องกับความ ประพฤติของบุคคลในสังคมไทย ปัจจุบันอย่างไรบ้าง ๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปหลัก คุณธรรมที่สามารถนำ�ไปเป็น หลักปฏิบัติในการดำ�เนินชีวิต พร้อมตัวอย่างประกอบ ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ให้กลุ่มที่ ๓, ๔ (แบ่งชั่วโมงที่แล้ว) ศึกษาความรู้ในเรื่องนางขุชชุตตรา - ช่วยกันวิเคราะห์ถึงบทบาทสำ�คัญ ที่เป็นประโยชน์ต่อพระพุทธ- ศาสนาหรือเป็นแบบอย่างต่อ ชาวพุทธทั่วไป - ตั้งประเด็นคำ�ถามเชิงวิเคราะห์ ๔. ทำ�แบบทดสอบหลังเรียน ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน แบบทดสอบ ชั่วโมงที่ ๑๓ ชาวพุทธตัวอย่าง : พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (ลิไท) กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point
  • 30. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 216 กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๒. ครูสนทนากับนักเรียนในหัวข้อ - ปัจจุบันนี้นักเรียนคิดว่าใครบ้างที่ ปฏิบัติตน สมควรเป็นชาวพุทธ ตัวอย่าง - ยกตัวอย่างการกระทำ�ที่จัดว่า สมควรเป็นชาวพุทธตัวอย่าง และแนวทางที่นักเรียนสามารถ ปฏิบัติตนตามแบบอย่างได้ ๓. ครูตั้งคำ�ถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบ ความรู้ ความเข้าใจ อธิบายเพิ่มเติม ๔. ช่วยกันสรุปแง่คิดที่ได้จากการศึกษา ประวัติของชาวพุทธตัวอย่าง ๓. แบ่งกลุ่ม ๔ กลุ่มแยกกันเป็น ๒ คู่ ช่วยกันศึกษาความรู้สรุปลงใน ใบงาน คู่ที่ ๑ พระมหาธรรมราชาลิไทยและ ทำ�ใบงาน คู่ที่ ๒ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส และทำ�ใบงาน ๔. นักเรียนคู่ที่ ๑ นำ�เสนอผลงานที่ได้ ศึกษาและสรุปลงในใบงาน อีกฝ่าย หนึ่งซักถามจนมีความเข้าใจดี ๕. ช่วยกันวางแผนการนำ�หลัก คุณธรรมของพระมหาธรรมราชาลิไท ไปประยุกต์ใช้ปฏิบัติในชีวิต ประจำ�วัน หนังสือแบบเรียน ใบงาน ชั่วโมงที่ ๑๔ ชาวพุทธตัวอย่าง : สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส กิจกรรมครู กิจกรรมนักเรียน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ ๑. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ๒. ครูสนทนากับนักเรียนในหัวข้อ - ยกตัวอย่างการกระทำ�ที่จัดว่า สมควรเป็นชาวพุทธตัวอย่าง และ แนวทางที่นักเรียนสามารถปฏิบัติ ตนตามแบบอย่างได้ ๓. ครูตั้งคำ�ถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบ ความรู้ ความเข้าใจ อธิบายเพิ่มเติม ๔. ช่วยกันสรุปแง่คิดที่ได้จากการศึกษา ประวัติของชาวพุทธตัวอย่าง ๑. สวดมนต์บูชาพระรัตนตรัยและ ทำ�สมาธิก่อนเรียน ๕ นาที ๒. ทำ�แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. นักเรียนคู่ที่ ๒ นำ�เสนอผลงานที่ได้ ศึกษาและสรุปลงในใบงาน เกี่ยวกับ ประวัติของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส อีกฝ่าย หนึ่งซักถามจนมีความเข้าใจดี ๔. ช่วยกันวางแผนการนำ�หลักคุณธรรม ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส ไป ประยุกต์ใช้ปฏิบัติในชีวิตประจำ�วัน แบบทดสอบก่อนเรียน สื่อ Power Point หนังสือแบบเรียน ใบงานที่ ๒