SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 33
Descargar para leer sin conexión
ความสาคัญของอาหารกับการทา CAPD

การทาการบาบัดทดแทนไตด้วยวิธีน้ ีจะทาให้สูญเสี ยสารอาหารได้แก่
 - โปรตีน วิตามินและเกลือแร่ ไปกับน้ ายาล้างช่องท้อง
 - การได้รับน้ ายาเข้าไปในช่องท้องทาให้รู้สึกแน่น กินอาหารได้
    น้อยลง
 - ผูป่วยบางรายขาดสังกะสี ทาให้ความรู้สึกในการรับรู้รสอาหาร
      ้
    เปลี่ยนไป กินอาหารไม่อร่ อย กินได้นอยลง ซึ่ งทั้งหมดเป็ น
                                         ้
    สาเหตุให้เกิดการขาดสารอาหารได้
               ่
 - กูลโคสที่อยูในน้ ายาที่ใช้ลางช่องท้องทาให้ได้รับพลังงานมาก
                              ้
   เกินไป ทาให้อวนหรื อมีน้ าตาลในเลือดสู งได้ หรื อแม้แต่การมี
                  ้
   ไขมันในเลือดโดยฌฉาะไตรกลีเซอไรด์
สารอาหารสาคัญสาหรับผูป่วยที่ทา CAPD
                          ้

โปรตีน
  พลังงาน
       โซเดียม
         โพแทสเซียม
           ฟอสฟอรัส
          นา้
• ต้ องการโปรตีน เพิมขึน ประมาณ 1.3-1.5 กรัม/นาหนักตัว1กก.
                    ่ ้                       ้

• EX. นายนพรัตน์ สู ง 175 cm. IBW 75 kg.

•     ดังนั้น นายนพรัตน์ ต้องการโปรตีน 75x1.5 =112 g.

•     112 =        16 ส่ วน
       7
High biological value Protein (HBV)




Low biological value Protein (LBV)
ควรมีโปรตีน High biological value Protein (HBV)
 คือ ประกอบด้วย กรดอะมิโนจาเป็นครบถ้วนใน
 สัดส่วนที่เหมาะสม และควรได้รับอย่างน้อย 50%
 ของโปรตีนทั้งหมด ซึ่งจะช่วยให้มีการนากรดอะมิ
 โนทีไม่จาเป็นนามาใช้ได้อีก และจะลดการผลิต
       ่
 ยูเรียให้น้อยลง
ควรได้รับพลังงานตามสัดส่วนของ
 ร่างกายและกิจกรรม
 พลังงานจากข้าวและแป้ง
     ปริมาณจากัด เพราะมีโปรตีนอยู่
                                บ้าง
    และน้ายาCAPD มีกลูโคสอยู่แล้ว
       ต้องระวังเรื่องปริมาณข้าวแป้ง
     น้าตาล อย่าบริโภคมากไป
พลังงานจากไขมันควรเลือกชนิดของไขมัน
จากน้ามันราข้าว น้ามันถั่วลิสง น้ามันถั่วเหลือง
         และควรงดอาหารที่มโคเลสเตอรอสูง
                               ี
 และจากัดอาหารที่ทาให้เกิดปํญหาไตรกลีเซอ
                                   ไรด์สูงด้วย
จาเป็นต้องจากัดเกลือและน้าหรือไม่มี การสูญเสียน้าไป
   กับน้ายาล้าง
ช่องท้อง
จึงรับประทานได้ตามปกติ ถ้าสูญเสียมากจนปริมาณ
   โซเดียมในเลือดต่า
จาเป็นต้องกินอาหารที่มีรสเค็มเพิ่มขึ้น แต่หากมีความดัน
   โลหิตสูง บวม
ก็ควรจากัดอาหารที่มีรสเค็มจัด และจากัดปริมาณน้าด้วย
การจากัดโซเดียม
1. หลีกเลี่ยงอาหารสาเร็จรูปที่มีโซเดียมสูง
2. หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ผงฟู
3. หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่ผงชูรส
4. หลีกเลี่ยงอาหารหมักดอง
5. หลีกเลี่ยงเครื่องปรุงที่มรสเค็ม
                            ี
6. หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันบูด
7. ใช้เครืองเทศ มะนาว สมุนไพร ในการปรุงอาหาร
          ่
8. ความต้องการโซเดียมต่อวัน = 2,000 mg.
อาหารที่มีโซเดียมสูง
อาหารที่มีโซเดียมสูง(ต่อ)
อาหารที่มีโซเดียมสูง(ต่อ)
อาหารที่มีโซเดียมสูง(ต่อ)
โพแทสเซียม
     จาเป็นต้องจากัดผักผลไม้หรือไม่ การล้างไตทางช่องท้องจะสูญเสีย
โพแทสเซียมไปกับน้ายาล้างไต จึงจาเป็นต้องได้รับจากอาหรอย่าง
เพียงพอ ซึ่งจะทาให้ได้รับธาตุเหล็ก แคลเซียม วิตามินและใยอาหาร
เพิ่มขึ้นด้วย เพราะมีมากในผักสีเขียวเข้มเหมือนกัน
     ถ้าระดับของโพแทสเซียมสูงมากไป ซึ่งมักจะเป็นในช่วงแรกของการล้างไตทางช่อง
     ท้อง อาจต้องจากัดเพียงระยะเวลาสัน ๆ เท่านันไม่ควรนานมาก เพราะอาจทา
                                       ้          ้
     ให้โพแทสเซียมต่าจนมีอันตรายได้
ผักที่มีโพแทสเซียมสูง
ผักที่มีโพแทสเซียมสูง(ต่อ)
ผักที่มีโพแทสเซียมสูง(ต่อ)
ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง
ผลไม้ที่มีโพแทสเซียมสูง(ต่อ)
ฟอสฟอรัส
ผู้ที่รักษาด้วยการทา CAPD ยังจาเป็นต้องจากัดฟอสฟอรัสอยู่เพราะจะมี
ผลต่อการดูดซึมแคลเซียม ทาให้แคลเซียมในเลือดต่า
การควบคุมฟอสฟอรัส ป้องกันการเสี่ยงต่อการเกิดภาวะกระดูกพรุน
หักง่าย ปวดกระดูกและอาการคันใต้ผิวหนังได้
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง(ต่อ)
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง(ต่อ)
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง(ต่อ)
อาหารที่มีฟอสฟอรัสสูง(ต่อ)
ความสามารถในการขับน้าและปัสสาวะในผู้ป่วย
ไตวายจะลดลง ทาให้เกิดอาการบวม
ดื่มน้าได้ประมาณ 900-1,000 cc. + ปริมาณ
ของปัสสาวะทีขับถ่ายในแต่ละวัน ถ้าปัสสาวะได้
              ่
น้อยกว่า 500 ml/วัน ควรจากัดน้าให้เหลือ
750-1,000 ml/วัน
สรุป ผู้ป่วยควรปฏิบัติตัวในการรับประทานอาหารดังต่อไปนี้
     1. กินอาหรประเภทเนื้อสัตว์ไม่ติดมัน เช่น เนื้อหมูไก่ปลากุ้ง แต่ละมื้อประมาณ
4 ช้อนพูน
     2. กินข้าว ก๋วยเตี๋ยวในมื้อหลักมื้อละ 2-3 ทัพพี
     3. แบ่งอาหารเป็นมื้อเล็ก ๆ โดยกินวันละ 5-6 มื้อเพราะจะช่วยให้ไม่รู้สึกแน่น
ท้องเกินไป
     4. กินผักใบเขียว ผักหลากสี และผลไม้ทุกมื้อ
     5. ถ้าจะดื่มนมให้ดื่มได้1 แก้วต่อวันแต่ถ้าฟอสฟอรัสสูงให้งดดื่มนม
     6. เลี่ยงการเติมน้าตาลในอาหารเครื่องดื่มและไม่ดื่มน้าหวาน
 น้าอัดลม
สรุปต่อ
7. กินผลไม้ที่ไม่หวานจัดแทนขนมหวาน หลีกเลี่ยงการดื่มน้าผลไม้
8. กินอาหารที่มีไขมันน้อยและหลีกเลี่ยงไขมันอิ่มตัว เช่นเนย ครีม เนื้อสัตว์ติดมัน
    เครื่องในและอาหารใส่กะทิ
9. ผู้ป่วยที่อ้วนควรเลี่ยงอาหารทอดทุกชนิด เช่น ทอดมัน ข้าวเกรียบ มันทอด ปาท่องโก้
    ฯ
10. หลีกเลี่ยงอาหารฟาสฟู้ดที่มีไขมันและโคเลสเตอรอล
11. หลีกเลี่ยงการกินถั่วเมล็ดแห้ง เมล็ดแตงโม เมล็ดทานตะวัน เครืงในสัตว์ ไข่แดง ไข่
                                                                ่
    ปลา
12. ใช้น้ามันพืชพวกน้ามันถั่วเหลือง น้ามันราข้าว น้ามันข้าวโพดในการปรุงอาหาร
13. ควรงดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ด้วย
โปรตีน    ไม่ฟอก        ฟอกด้วยเครือง
                                         ่           ฟอกทางช่องท้อง

โปรตีน            0.4-0.6           1-1.2                   1.2-1.5
                                  (g/kg/d)
พลังงาน            25-40           35-40                     35-45

                                 (Kcal/Kg/d
โซเดียม           1-3(g/d)        2-3(g/d)                  3-4(g/d)

โพแทสเซียม       <2.73(g/d)                    2-3(g/d)


ฟอสฟอรัส           12-15           12-15                  12-15
                                 (mg/gprot.)
น้า            500cc+ปริมาณ                    2-3 L/d
                  ปัสสาวะ
Present.อาหารโรคไตcapd

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังCAPD AngThong
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังUtai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองCAPD AngThong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุSiwaporn Khureerung
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงRachanont Hiranwong
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรKamol Khositrangsikun
 

La actualidad más candente (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรังการใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
การใช้ยาในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวานคู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
คู่มือการดูแลตนเอง โรคเบาหวาน
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังคู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
คู่มือผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรัง
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุแนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
แนวทางเวชปฏิบัติการป้องกันประเมินภาวะหกล้มในผู้สูงอายุ
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากรรูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
รูปแบบการจัดการ Ckd clinic และ แนวทางการพัฒนาบุคลากร
 

Destacado

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559Kamol Khositrangsikun
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง CkdTuang Thidarat Apinya
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตCAPD AngThong
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd finalCAPD AngThong
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานUtai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตTuang Thidarat Apinya
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebookค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร EbookWan Ngamwongwan
 

Destacado (18)

อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckdคู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
คู่มือปฏิบัติการเพื่อดำเนินงานลดโรคไตเรื้อรัง Ckd
 
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไตหนังสือความรู้เรื่องโรคไต
หนังสือความรู้เรื่องโรคไต
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
อาหารทางสาย27เมษา55 (2)
 
ผักสดปลอด..
ผักสดปลอด..ผักสดปลอด..
ผักสดปลอด..
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebookค่าพลังงานในอาหาร Ebook
ค่าพลังงานในอาหาร Ebook
 
ปริมาณการตักอาหาร1
ปริมาณการตักอาหาร1ปริมาณการตักอาหาร1
ปริมาณการตักอาหาร1
 

Similar a Present.อาหารโรคไตcapd

ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติPostharvest Technology Innovation Center
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptพรพจน์ แสงแก้ว
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1CAPD AngThong
 
555โรคเบาหวาน
555โรคเบาหวาน555โรคเบาหวาน
555โรคเบาหวานNarada_merry
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารWilailak Luck
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2dumrongsuk
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายNett Parachai
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01vora kun
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน24LIFEYES
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 

Similar a Present.อาหารโรคไตcapd (20)

รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรารู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
รู้ทันอาหารกับหัวใจของเรา
 
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
ใยอาหารจากพืช: ยาลดความอ้วนจากธรรมชาติ
 
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.pptลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
ลดหวาน มัน เค็ม ลดอ้วนลดโรค.ppt
 
ผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพผลไม้ต่อสุขภาพ
ผลไม้ต่อสุขภาพ
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
555โรคเบาหวาน
555โรคเบาหวาน555โรคเบาหวาน
555โรคเบาหวาน
 
การบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหารการบริโภคอาหาร
การบริโภคอาหาร
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
C-Moocy
C-MoocyC-Moocy
C-Moocy
 
Dm
DmDm
Dm
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
โรคหัวใจ และหลอดเลือด 2
 
การแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกายการแปลผลการตรวจร่างกาย
การแปลผลการตรวจร่างกาย
 
Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01Diabete Mellitus 01
Diabete Mellitus 01
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน2
 
Weight Control Meal Program
Weight Control Meal ProgramWeight Control Meal Program
Weight Control Meal Program
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
Food
Food Food
Food
 
Bio physics period2
Bio physics period2Bio physics period2
Bio physics period2
 

Present.อาหารโรคไตcapd