SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 10
Descargar para leer sin conexión
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 1
ลักษณะภาษาไทย
ความหมายของภาษา
คำาว่า “ ภาษา” เป็นคำาภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพท์หมาย
ถึง คำาพูดหรือถ้อยคำา ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการ
สื่อความหมายให้สามารถสื่อสารติดต่อทำาความเข้าใจกันโดยมี
ระเบียบของคำาและเสียงเป็นเครื่องกำาหนด ในพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ ความหมายของคำาว่าภาษา
คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำาความเข้าใจกันได้ คำาพูดถ้อยคำาที่
ใช้พูดจากัน
ภาษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1.ภาษาที่เป็นถ้อยคำา เรียกว่า “ วัจนภาษา” เป็นภาษาที่ใช้
คำาพูดโดยใช้เสียงที่เป็นถ้อยคำาสร้างความเข้าใจกัน นอกจาก
นั้นยังมีตัวหนังสือที่ใช้แทนคำาพูดตามหลักภาษาอีกด้วย
2.ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำา เรียกว่า “ อวัจนภาษา” เป็นภาษา
ที่ใช้สิ่งอื่นนอกเหนือจากคำาพูดและตัวหนังสือในการสื่อสาร
เช่น การพยักหน้า การโค้งคำานับ การสบตา การแสดงออกบน
ใบหน้าที่แสดงออกถึงความเต็มใจและไม่เต็มใจ อวัจนภาษาจึง
มีความสำาคัญเพื่อให้ วัจนภาษามีความชัดเจนสื่อสารได้
รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากท่าทางแล้วยังมีสัญลักษณ์ต่างๆ ที่มนุษย์
สร้างขึ้นมาใช้ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจ อีกด้วย
ความสำาคัญของภาษา
1.ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์
ติดต่อกันได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องช่วยที่ดี
ที่สุด
2.ภาษาช่วยให้มนุษย์มีความผูกพันต่อกัน เนื่องจากแต่ละ
ภาษาต่างก็มีระเบียบแบบแผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลงกันใน
แต่ละชาติแต่ละกลุ่มชน การพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่
ทำาให้คนรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน มีความผูกพันต่อกันในฐานะ
ที่เป็นชาติเดียวกัน
3.ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเป็นเครื่อง
แสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นๆของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถ
ศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของชนชาติต่างๆได้จาก
ศึกษาภาษาของชนชาตินั้นๆ
4.ภาษาเป็นศาสตร์จึงมีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษา
กฎเกณฑ์ในภาษาไว้ด้วย กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัว
เหมือนกฎวิทยาศาสตร์ แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 2
ของภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตาม
กาลสมัยตามความเห็นชอบของส่วนรวม
5.ภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา
กระบวนการใช้ภาษานั้น มีระดับและลีลา ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ
หลายด้าน เช่น บุคคล กาลเทศะ
ประเภทของเรื่อง ฯลฯ การที่จะเข้าใจภาษา และใช้ภาษาได้
ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้เข้าถึงรสของภาษาด้วย
องค์ประกอบของภาษา
ภาษาทุกภาษาย่อมมีองค์ประกอบของภาษา โดยทั่วไปจะมี
องค์ประกอบ 4 ประการ คือ
1.เสียง นักภาษาศาสตร์จะให้ความสำาคัญ
ของเสียงพูดมากกว่าตัวเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร
เพราะภาษาย่อมเกิดจากเสียงที่ใช้พูดกัน ส่วนภาษาเขียน
เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูด คำาที่ใช้พูดจากันจะ
ประกอบด้วยเสียงสระ เสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์
แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น บาลี สันสกฤต
เขมร อังกฤษ
2.พยางค์และคำา พยางค์เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมา
แต่ละครั้ง จะประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และ
เสียงวรรณยุกต์ จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้
พยางค์แต่ละพยางค์จะมีเสียงพยัญชนะต้น ซึ่งเป็นเสียงที่
อยู่หน้าเสียงสระ พยางค์ทุกพยางค์จะต้องมีเสียง
พยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ บางพยางค์ก็
อาจมีเสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วย เช่น
“ ปา” พยัญชนะต้น ได้แก่ เสียงพยัญชนะ /ป/
เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระ /อา/
เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียง /สามัญ/
ส่วนคำานั้นจะเป็นการนำาเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียง
วรรณยุกต์มาประกอบกัน ทำาให้เกิดเสียงและมีความหมาย
คำาจะประกอบด้วยคำาพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้
3.ประโยค ประโยค เป็นการนำาคำามาเรียงกันตาม
ลักษณะโครงสร้างของภาษาที่กำาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือ
ระบบทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษา และทำาให้ทราบ
หน้าที่ของคำา
4.ความหมาย ความหมายของคำามี 2 อย่าง คือ
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 3
(1) ความหมายตามตัวหรือความหมายนัยตรง เป็น
ความหมายตรงของคำานั้นๆ เป็นคำาที่ถูกกำาหนดและผู้ใช้
ภาษามีความเข้าใจตรงกัน เช่น
“ กิน” หมายถึง นำาอาหารเข้าปากเคี้ยวและกลืนลงไปในคอ
(2) ความหมายนัยประหวัดหรือความหมายเชิงอุปมา
เป็นความหมายเพิ่มจากความหมายนัยตรง เช่น
“ กินใจ” หมายถึง รู้สึกแหนงใจ
“ กินแรง” หมายถึง เอาเปรียบผู้อื่นในการทำางาน
ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย
ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นของตนเองและมี
ความแตกต่างจากภาษาอื่นที่นำามาใช้ในภาษาไทย การใช้
ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง จำาเป็นต้องรู้จักภาษาไทยให้ดีเพื่อ
ใช้ถ้อยคำาได้อย่างถูกต้องตามลักษณะภาษาไทย
ลักษณะสำาคัญของภาษาไทย มีดังต่อไปนี้
1.ภาษาไทยเป็นภาษาคำาโดด กล่าวคือ เป็นภาษาที่มี
คำาใช้โดยอิสระไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาเพื่อบอกเพศ
พจน์ กาล เมื่อต้องการแสดงเพศ พจน์ กาล จะใช้คำาอื่น
มาประกอบหรืออาศัยบริบท ดังนี้
1.1.การบอกเพศ คำาบางคำาอาจบ่งชี้เพศอยู่แล้ว เช่น
พ่อ หนุ่ม นาย พระ เณร ปู่ ลุง เขย เป็นเพศชาย ส่วนแม่
หญิง สาว ชี ย่า ป้า สะใภ้ เป็นเพศหญิง การบอกเพศนั้น
จะนำาคำามาประกอบเพื่อบอกเพศ เช่น ลูกเขย ลูกสะใภ้
แพทย์หญิง ช้างพลาย นางพยาบาล บุรุษพยาบาล เป็นต้น
1.2.การบอกพจน์ คำาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำา
เพื่อบอกจำานวน แต่จะใช้คำามาประกอบเพื่อบอกคำาที่เป็น
จำานวนหรือใช้คำาซำ้าเพื่อบอกจำานวน เช่น
เธอเป็น โสด บ้าน หลายหลังถูกไฟไหม้
ลูก มากจะยากจน เด็กๆ วิ่งเล่นอยู่หน้าบ้าน
1.3.การบอกกาล ได้แก่ การบอกเวลาในอดีต
ปัจจุบัน และอนาคต จะใช้คำามาประกอบคำากริยาโดยไม่มี
การเปลี่ยนคำากริยา เช่น
พ่อได้ไปหาคุณย่ามา แล้ว (บอกอดีตกาล)
เมื่อปีกลายนี้ฉันไปฝรั่งเศส (บอกอดีตกาล)
เขา กำาลังมาพอดี (บอกปัจจุบันกาล)
เดี๋ยวนี้เขายังอยู่ที่หัวหิน (บอกปัจจุบันกาล)
พรุ่งนี้ฉันจะไปหาเลย (บอกอนาคตกาล)
ตอนเย็นเธอมาหาฉันนะ (บอกอนาคตกาล)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 4
2.คำาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียวและมีความ
หมายสมบูรณ์ในตัวฟังแล้วเข้าใจได้ทันที เช่น
คำาเรียกเครือญาติ พ่อ แม่ ลูก พี่ น้อง ลุง อา น้า ปู่ ตา ย่า
ยาย
คำาเรียกสิ่งของ อ่าง ขวด ถ้วย จาน ชาม ไร่ นา บ้าน มีด
คำาเรียกชื่อสัตว์ หมา แมว หมู กา ไก่ งู วัว ควาย เสือ ลิง
คำาเรียกธรรมชาติ ดิน นำ้า ลม ไฟ ร้อน หนาว เย็น
คำาสรรพนาม ท่าน ผม เธอ เรา สู เจ้า อ้าย อี
คำากริยา ไป นั่ง นอน กิน เรียก
คำาลักษณนาม กำา ลำา ต้น ตัว อัน ใบ กิ่ง ลูก ดวง
คำาขยายหรือคำาวิเศษณ์ อ้วน ผอม ดี เลว สวย เก่า ใหม่
แพง ถูก
คำาบอกจำานวน อ้าย ยี่ สอง หนึ่ง พัน ร้อย แสน ล้าน มาก
น้อย
ข้อสังเกต
*คำาที่มีมากพยางค์มักไม่ใช่คำาไทยแท้ มักมาจากภาษาอื่น
**ภาษาไทยอาจมีคำามากพยางค์ได้โดยวิธีการปรับปรุงศัพท์
โดยนำาวิธีการลงอุปสรรคประกอบหน้าคำาอย่างภาษาที่มี
วิภัตติปัจจัย ความหมายยังคงเดิม แต่กลายเป็นคำามาก
พยางค์ เช่น ประเดี๋ยว ประท้วง อีกวิธีหนึ่งคือ การกลาย
เสียงซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของภาษา เช่น
มะม่วง กลายมาจาก หมากม่วง
3.คำาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมี 9 มาตรา คำาไทยจะสะกดตรงตามมาตรา
ตัวสะกดและไม่มีการันต์ เช่น
มาตราแม่กก ใช้ ก สะกด เช่น มาก จาก นก จิก รัก
มาตราแม่กด ใช้ ด สะกด เช่น กัด ตัด ลด ปิด พูด
มาตราแม่กบ ใช้ บ สะกด เช่น จับ จบ รับ พบ ลอบ
มาตราแม่กน ใช้ น สะกด เช่น ขึ้น อ้วน รุ่น นอน กิน
มาตราแม่กง ใช้ ง สะกด เช่น ลง ล่าง อ่าง จง พุ่ง แรง
มาตราแม่กม ใช้ ม สะกด เช่น ลาม ริม เรียม ซ้อม ยอม
มาตราแม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น ยาย โรย เลย รวย เฉย
มาตราแม่เกอว ใช้ ว สะกด เช่น ดาว เคียว ข้าว เรียว เร็ว
คำาที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด จะเป็นคำาที่
เป็นภาษาอื่นที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย และบางคำายังมีการใช้
ตัวการันต์เพื่อไม่ต้องออกเสียงพยัญชนะตัวนั้นอีกด้วย เช่น
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 5
ภาษาบาลี มัจฉา อังคาร อัมพร ปัญญา
ภาษาสันสกฤต อาตมา สัปดาห์ พฤศจิกายน พรหม
ภาษาเขมร เสด็จ กังวล ขจร เผอิญ
ภาษาอังกฤษ ฟุต ก๊าซ ปอนด์ วัคซีน
4.ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ต่างกันทำาให้
ระดับเสียงต่างกันและคำาก็มีความหมายต่างกันด้วย การที่
ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ทำาให้ภาษาไทยมีลักษณะพิเศษ
คือ
4.1.ภาษาไทยขยายตัวทำาให้มีคำาใช้มากขึ้น เช่น
ขาว ข่าว ข้าว เสือ เสื่อ เสื้อ
4.2.ภาษาไทยมีระดับเสียงสูงตำ่า ทำาให้เกิดความ
ไพเราะ ดังเห็นได้ชัดในบทร้อยกรอง
4.3.ภาษาไทยมีพยัญชนะที่มีพื้นเสียงต่างกัน เป็น
อักษรสูง อักษรกลาง อักษรตำ่า และมีเสียง
วรรณยุกต์ต่างกัน เป็นเสียงสามัญ เอก โท ตรี และ
จัตวา เป็น 5 ระดับเสียง ทำาให้เลียนเสียงธรรมชาติ
ได้อย่างใกล้เคียง
5.การสร้างคำา คำาไทยเป็นคำาพยางค์เดียวจึงไม่พอใช้
ในภาษาไทย จึงต้องมีการยืมภาษาต่างประเทศมาใช้
แล้วยังมีการสร้างคำาใหม่ๆ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การ
ประสมคำา การซ้อนคำา การซำ้าคำา
การสมาส เป็นต้น
6.การเรียงลำาดับคำาในประโยค ภาษาไทยถือว่าการ
เรียงคำาในประโยคมีความสำาคัญมาก ถ้าเรียงคำาผิดที่ความ
หมายของประโยคจะเปลี่ยนแปลงไป เพราะตำาแหน่งของคำา
จะเป็นตัวระบุว่าคำานั้นมีหน้าที่และมีความหมายอย่างไร เช่น
คนไม่รักดี ไม่รักคนดี คนดีไม่รัก คนรักไม่ดี
พี่สาวให้เงินน้องใช้ น้องสาวให้เงินพี่ใช้
พี่ให้เงินน้องสาวใช้ น้องให้เงินพี่สาวใช้
7.คำาขยายในภาษาไทยจะเรียงหลังคำาที่ถูกขยาย
เสมอ เว้นแต่คำาที่แสดงจำานวนหรือปริมาณ จะวางไว้ข้าง
หน้าหรือข้างหลังคำาขยายก็ได้ เช่น
เขาเดิน เร็ว (คำาขยายอยู่หลังคำาถูกขยาย)
เขาสวมเสื้อ สีฟ้า (คำาขยายอยู่หลังคำาถูกขยาย)
เขามาคน เดียว (คำาบอกปริมาณอยู่หลังคำาที่ขยาย)
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 6
ยกเว้น มากหมอก็ มากความ (คำาบอกปริมาณอยู่หน้าคำาที่
ขยาย)
8.คำาไทยมีคำาลักษณนาม ซึ่งเป็นคำานามที่บอกลักษณะ
ของนามข้างหน้า ซึ่งคำาลักษณนาม
มีหลายชนิด ได้แก่
ลักษณนามบอกชนิด เช่น ขลุ่ย 2 เลา
ลักษณนามบอกอาการ เช่น บุหรี่ 3 มวน
ลักษณนามบอกหมวดหมู่ เช่น ทหาร 5 กอง
9.ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและมีจังหวะ
ในการพูด หากแบ่งวรรคตอนไม่ถูกต้องความหมายจะไม่
ชัดเจน หรือมีความหมายเปลี่ยนไป เช่น
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำาลึงทอง หมายความว่า นิ่ง
เสียดีกว่าพูด
พูดไปสองไพเบี้ย นิ่ง เสียตำาลึงทอง หมายความว่า ยิ่ง
นิ่งยิ่งเสียมาก
ไม่เจอกันนานนม เธอโตขึ้นเป็นกอง
ไม่เจอกันนาน นม เธอโตขึ้นเป็นกอง
ยานี้ดี กินแล้วแข็ง แรงไม่มี โรคภัยเบียดเบียน
ยานี้ดี กินแล้วแข็งแรง ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน
10.ภาษาไทยมีคำาบางคำาที่มีเสียงสัมพันธ์กับความ
หมาย
-คำาที่ประสมสระเอ มักจะมีความหมายไปในทางที่ไม่ตรง
เช่น เข เก เป๋ โซเซ
-คำาที่ประสมสระออ มี “ ม ” หรือ “ น ” สะกด จะมีความ
หมายไปในทางงอหรือโน้มเข้าหากัน เช่น งอนง้อ อ้อมค้อม
น้อม อ้อม ฯลฯ
11.ภาษาไทยมีความประณีต มีคำาที่มีความหมายหลัก
เหมือนกัน
แต่มีความหมายเฉพาะต่างกัน เช่น
-การทำาให้ขาดจากกัน มีคำาว่า ตัด หั่น แล่ เชือด เฉือน สับ
ฯ
-การทำาอาหารให้สุก มีคำาว่า ปิ้ง ย่าง ต้ม ตุ๋น ทอด ฯ
-บุพบทบอกสถานที่ (ที่ติดกัน) มีคำาว่า ใกล้ ชิด แนบ ข้างฯ
การเลือกใช้คำาในการเขียนหรือการพูดจะต้องเลือกให้ถูก
ถ้าเลือกผิด ความหมายก็จะเปลี่ยนไปด้วย
12. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับของคำา แบ่งเป็น
12.1 ราชาศัพท์ เป็นวัฒนธรรมมาแต่โบราณ ได้รับการยกย่องไป
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 7
ในนานาประเทศ ในเรื่องการคารวะผู้มีอาวุโส แสดงออกทั้งทาง
กิริยามารยาทและการใช้ภาษา บุคคลในสังคมย่อมต่างกันด้วยวัย
วุฒิ ลำาดับญาติ ลำาดับชั้นปกครอง
ภาษาไทยมีอัจฉริยลักษณะอย่างหนึ่งคือ การใช้คำาเหมาะแก่
บุคคล จนมีผู้กล่าวว่า “ คนไทยพูดกันแม้ไม่เห็นตัวก็ทราบได้ทันที
ว่าผู้พูด ผู้ฟัง เป็นหญิงหรือชาย เด็กหรือผู้ใหญ่ ” เพราะการใช้
ถ้อยคำา จะบ่งบอกไว้ชัดเจน เป็นความงดงามทั้งในทางภาษา
วัฒนธรรม และสังคม ในทางภาษาจะได้เห็นศิลปะของการใช้
ภาษา ในทางสังคมจะได้เห็นวัฒนธรรมขนบประเพณี
12.2 มีคำาบอกลักษณะโดยเฉพาะ ตัวอย่าง
ล้าง = ทำาให้สะอาด ชำาระด้วยนำ้า ใช้กับคนทั่ว ๆ ไป แต่เมื่อใช้กับ
“ ผม ” ต้องใช้ สระผม เมื่อใช้กับ “ เสื้อผ้า ” ต้องใช้ ซักเสื้อผ้า
ความมีชื่อเสียง = ในทางดี “ ลือชาปรากฏ , ”โด่งดัง
ในทางไม่ดี = “อื้อฉาว , ”กระฉ่อน
12.3 ภาษาธรรมดากับภาษากวี คำาที่นำามาจากภาษาอื่นมีความ
หมายอย่างเดียวกับคำาไทย จะนำามาใช้ในคำาประพันธ์ เช่น
หญิง = สตรี กานดา กัลยา นงคราญ นงนุช นุชนาฏ นงพะงา
พนิต ยุพยง
เยาวเรศ บังอร อนงค์ ฯลฯ
อาทิตย์ = ตะวัน ไถง ทินกร ทิพากร ภาณุมาศ สุรีย์ รวิ อาภากร
สุริยัน
13. ภาษาไทยมีคำาพ้องเสียง พ้องรูป และพ้องความหรือ
คำาไวพจน์ แบ่งเป็น
13.1 คำาพ้องเสียง เช่น
1) กาน - ตัดให้เตียน
การณ์ – เหตุ
กาฬ - ดำา
กานต์ - เป็นที่รัก
กาล – เวลา
กานท์ – บทกลอน
การ - กิจ งาน ธุระ
2) สัน - สิ่งที่มีลักษณะนูนสูง เป็นแนวยาว , ส่วนหนาของ
มีดหรือขวานที่อยู่ตรงข้ามกับคม
สรร - เลือก คัด
สรรพ์ – ทั้งหมด
สรรค์ – สร้าง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 8
สันต์ - สงบ
สันทน์ – พูดจา
ศัลย์ - ลูกศร ของมีปลายแหลม ( เช่น ศัลยแพทย์ -
แพทย์ผ่าตัด)
สัณฑ์ - ที่รก ที่ทึบ
สัณห์ - ละมุนละม่อม สุภาพ นิ่มนวล
13.2 คำาพ้องรูป เช่น
1.) เรือนรก - เรือ-นรก = เรือที่ไม่ดี หรือที่มีการฆ่ากัน
เรือน-รก = เรือนรกรุงรัง
2.) เพลา - เพ-ลา = เวลา เพลา = เบา ๆ หรือ ตัก
3.) ตากลม - ตาก-ลม = นั่งเล่น ตา-กลม = นัยน์ตา-
กลม
4.) ขอบอกขอบใจ - ขอ-บอก-ขอบ-ใจ = บอกขอบใจ
ขอบ-อก-ขอบ-ใจ = คำาซ้อนเน้นความ
คำาพ้องรูป มีความสำาคัญในเรื่องการออกเสียง ถ้าออกเสียง
ผิดความหมายจะผิดพลาดตามไปด้วย
13.3 คำาพ้องความหรือคำาไวพจน์ คือคำาที่มีความหมายเหมือน
กัน เช่น
-นำ้า นที สายชล ธารา กระแสสินธุ์ คงคา ชลธี ชลธาร ชล
สินธุ์ อุทก
วาริน อาโป วารี
-ท้องฟ้า นภา ทิฆัมพร เวหา อัมพร คัคนานต์ วรัม
พร
โพยม คัคนางค์
-ช้าง กุญชร กรี คชสาร พลาย สาร หัตถี ไอยรา
-ม้า อาชา อาชาไนย สินธพ พาชี ดุรงค์ หัย อัศวะ
-พระจันทร์ รัชนีกร บุหลัน นิศากร ศศิธร รัชนี วราลี ตมิสา
ตารเกศ
14 . ภาษาไทยมักจะละคำาบางคำา (ส่วนมากเป็นภาษาพูด)
เช่น
1.) โต๊ะสองตัวนี้ของเธอ โต๊ะของเธอสองตัวนี้ ละคำาว่า
“ คือ ” หรือ “ เป็น ” สองตัวนี้โต๊ะของเธอ
2.) ฉันไปโรงเรียนเวลา 8.00 น. = ละคำาบุพบท “ ที่ ” หรือ
“ ถึง ”
15. ภาษาพูดมีคำาเสริมแสดงความสุภาพ ภาษาพูดมีคำาเสริมท้าย
ประโยค เช่น
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 9
-แสดงความสุภาพ เช่น เถิด ซิ นะจ๊ะ คะ ครับ ฯลฯ
-แสดงความไม่สุภาพ เช่น โว้ย ฯลฯ
-แสดงความรู้สึก เช่น นะจ๊ะ โอ้ โอ้ย เอ๊ะ ฯลฯ
16. การลงเสียงหนักเบาทำาให้หน้าที่ของคำาเปลี่ยนไป
การออกเสียงหนักเบายังอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน
ได้ เพราะทำาหน้าที่ผิดกัน เช่น
- ถ้ามัน เสีย ก็แก้ เสีย ให้ดี
“ เสีย ” คำาแรก เป็นคำากริยา ลงเสียงหนัก หมายถึง “ เสื่อม
คุณภาพ ”
“ เสีย ” คำาหลัง เป็นคำาวิเศษณ์ ออกเสียงเบา เสริมเพื่อเน้น
ความหมาย “ ให้เสร็จไป ”
ในการพูดจึงต้องระมัดระวังในการออกเสียงหนักเบาให้ถูก
ต้อง
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก
ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 9
-แสดงความสุภาพ เช่น เถิด ซิ นะจ๊ะ คะ ครับ ฯลฯ
-แสดงความไม่สุภาพ เช่น โว้ย ฯลฯ
-แสดงความรู้สึก เช่น นะจ๊ะ โอ้ โอ้ย เอ๊ะ ฯลฯ
16. การลงเสียงหนักเบาทำาให้หน้าที่ของคำาเปลี่ยนไป
การออกเสียงหนักเบายังอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน
ได้ เพราะทำาหน้าที่ผิดกัน เช่น
- ถ้ามัน เสีย ก็แก้ เสีย ให้ดี
“ เสีย ” คำาแรก เป็นคำากริยา ลงเสียงหนัก หมายถึง “ เสื่อม
คุณภาพ ”
“ เสีย ” คำาหลัง เป็นคำาวิเศษณ์ ออกเสียงเบา เสริมเพื่อเน้น
ความหมาย “ ให้เสร็จไป ”
ในการพูดจึงต้องระมัดระวังในการออกเสียงหนักเบาให้ถูก
ต้อง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยAj.Mallika Phongphaew
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2Aunop Nop
 

La actualidad más candente (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2พยางค์และคำ 2
พยางค์และคำ 2
 

Similar a ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยguestd57bc7
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยpinyada
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยพัน พัน
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 

Similar a ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย (20)

ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
thai Research
thai  Researchthai  Research
thai Research
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
นุกูล
นุกูลนุกูล
นุกูล
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทยคำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
คำบาลี สันสกฤตในภาษาไทย
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 

Más de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์

Más de ห้องเรียน ภาษาไทยออนไลน์ (20)

ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืมใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
ใบความรู้เรื่องระบบคำยืม
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้ใบความรู้ เรื่อง  ภาษิตใต้
ใบความรู้ เรื่อง ภาษิตใต้
 
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
ใบความรู้ การแต่งคำประพันธ์ประเภทฉันท์
 
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสายพฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
พฤติกรรมมาโรงเรียนสาย
 
คู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpressคู่มือวิธีใช้Wordpress
คู่มือวิธีใช้Wordpress
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
การโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจการโน้มน้าวใจ
การโน้มน้าวใจ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทยใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
ใบความรู้การสร้างคำในภาษาไทย
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารคกระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
กระบวนเรือพยุหยาตราชลมารค
 
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการแบบเขียนรายงานทางวิชาการ
แบบเขียนรายงานทางวิชาการ
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 

ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 1 ลักษณะภาษาไทย ความหมายของภาษา คำาว่า “ ภาษา” เป็นคำาภาษาสันสฤต แปลตามรูปศัพท์หมาย ถึง คำาพูดหรือถ้อยคำา ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการ สื่อความหมายให้สามารถสื่อสารติดต่อทำาความเข้าใจกันโดยมี ระเบียบของคำาและเสียงเป็นเครื่องกำาหนด ในพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ให้ ความหมายของคำาว่าภาษา คือ เสียงหรือกิริยาอาการที่ทำาความเข้าใจกันได้ คำาพูดถ้อยคำาที่ ใช้พูดจากัน ภาษา แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1.ภาษาที่เป็นถ้อยคำา เรียกว่า “ วัจนภาษา” เป็นภาษาที่ใช้ คำาพูดโดยใช้เสียงที่เป็นถ้อยคำาสร้างความเข้าใจกัน นอกจาก นั้นยังมีตัวหนังสือที่ใช้แทนคำาพูดตามหลักภาษาอีกด้วย 2.ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำา เรียกว่า “ อวัจนภาษา” เป็นภาษา ที่ใช้สิ่งอื่นนอกเหนือจากคำาพูดและตัวหนังสือในการสื่อสาร เช่น การพยักหน้า การโค้งคำานับ การสบตา การแสดงออกบน ใบหน้าที่แสดงออกถึงความเต็มใจและไม่เต็มใจ อวัจนภาษาจึง มีความสำาคัญเพื่อให้ วัจนภาษามีความชัดเจนสื่อสารได้ รวดเร็วยิ่งขึ้น นอกจากท่าทางแล้วยังมีสัญลักษณ์ต่างๆ ที่มนุษย์ สร้างขึ้นมาใช้ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจ อีกด้วย ความสำาคัญของภาษา 1.ภาษาเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารของมนุษย์ มนุษย์ ติดต่อกันได้ เข้าใจกันได้ก็ด้วยอาศัยภาษาเป็นเครื่องช่วยที่ดี ที่สุด 2.ภาษาช่วยให้มนุษย์มีความผูกพันต่อกัน เนื่องจากแต่ละ ภาษาต่างก็มีระเบียบแบบแผนของตน ซึ่งเป็นที่ตกลงกันใน แต่ละชาติแต่ละกลุ่มชน การพูดภาษาเดียวกันจึงเป็นสิ่งที่ ทำาให้คนรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน มีความผูกพันต่อกันในฐานะ ที่เป็นชาติเดียวกัน 3.ภาษาเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของมนุษย์ และเป็นเครื่อง แสดงให้เห็นวัฒนธรรมส่วนอื่นๆของมนุษย์ด้วย เราจึงสามารถ ศึกษาวัฒนธรรมตลอดจนเอกลักษณ์ของชนชาติต่างๆได้จาก ศึกษาภาษาของชนชาตินั้นๆ 4.ภาษาเป็นศาสตร์จึงมีระบบกฎเกณฑ์ ผู้ใช้ภาษาต้องรักษา กฎเกณฑ์ในภาษาไว้ด้วย กฎเกณฑ์ในภาษานั้นไม่ตายตัว เหมือนกฎวิทยาศาสตร์ แต่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมชาติ
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 2 ของภาษา เพราะเป็นสิ่งที่มนุษย์ตั้งขึ้น จึงเปลี่ยนแปลงไปตาม กาลสมัยตามความเห็นชอบของส่วนรวม 5.ภาษาเป็นศิลปะ มีความงดงามในกระบวนการใช้ภาษา กระบวนการใช้ภาษานั้น มีระดับและลีลา ขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ หลายด้าน เช่น บุคคล กาลเทศะ ประเภทของเรื่อง ฯลฯ การที่จะเข้าใจภาษา และใช้ภาษาได้ ดีจะต้องมีความสนใจศึกษาสังเกตให้เข้าถึงรสของภาษาด้วย องค์ประกอบของภาษา ภาษาทุกภาษาย่อมมีองค์ประกอบของภาษา โดยทั่วไปจะมี องค์ประกอบ 4 ประการ คือ 1.เสียง นักภาษาศาสตร์จะให้ความสำาคัญ ของเสียงพูดมากกว่าตัวเขียนที่เป็นลายลักษณ์อักษร เพราะภาษาย่อมเกิดจากเสียงที่ใช้พูดกัน ส่วนภาษาเขียน เป็นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงพูด คำาที่ใช้พูดจากันจะ ประกอบด้วยเสียงสระ เสียงพยัญชนะและเสียงวรรณยุกต์ แต่บางภาษาก็ไม่มีเสียงวรรณยุกต์ เช่น บาลี สันสกฤต เขมร อังกฤษ 2.พยางค์และคำา พยางค์เป็นกลุ่มเสียงที่เปล่งออกมา แต่ละครั้ง จะประกอบด้วย เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และ เสียงวรรณยุกต์ จะมีความหมายหรือไม่มีความหมายก็ได้ พยางค์แต่ละพยางค์จะมีเสียงพยัญชนะต้น ซึ่งเป็นเสียงที่ อยู่หน้าเสียงสระ พยางค์ทุกพยางค์จะต้องมีเสียง พยัญชนะต้น เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต์ บางพยางค์ก็ อาจมีเสียงพยัญชนะสะกดประกอบอยู่ด้วย เช่น “ ปา” พยัญชนะต้น ได้แก่ เสียงพยัญชนะ /ป/ เสียงสระ ได้แก่ เสียงสระ /อา/ เสียงวรรณยุกต์ ได้แก่ เสียง /สามัญ/ ส่วนคำานั้นจะเป็นการนำาเสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียง วรรณยุกต์มาประกอบกัน ทำาให้เกิดเสียงและมีความหมาย คำาจะประกอบด้วยคำาพยางค์เดียวหรือหลายพยางค์ก็ได้ 3.ประโยค ประโยค เป็นการนำาคำามาเรียงกันตาม ลักษณะโครงสร้างของภาษาที่กำาหนดเป็นกฎเกณฑ์หรือ ระบบทางไวยากรณ์ของแต่ละภาษา และทำาให้ทราบ หน้าที่ของคำา 4.ความหมาย ความหมายของคำามี 2 อย่าง คือ
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 3 (1) ความหมายตามตัวหรือความหมายนัยตรง เป็น ความหมายตรงของคำานั้นๆ เป็นคำาที่ถูกกำาหนดและผู้ใช้ ภาษามีความเข้าใจตรงกัน เช่น “ กิน” หมายถึง นำาอาหารเข้าปากเคี้ยวและกลืนลงไปในคอ (2) ความหมายนัยประหวัดหรือความหมายเชิงอุปมา เป็นความหมายเพิ่มจากความหมายนัยตรง เช่น “ กินใจ” หมายถึง รู้สึกแหนงใจ “ กินแรง” หมายถึง เอาเปรียบผู้อื่นในการทำางาน ลักษณะเฉพาะของภาษาไทย ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีลักษณะเป็นของตนเองและมี ความแตกต่างจากภาษาอื่นที่นำามาใช้ในภาษาไทย การใช้ ภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง จำาเป็นต้องรู้จักภาษาไทยให้ดีเพื่อ ใช้ถ้อยคำาได้อย่างถูกต้องตามลักษณะภาษาไทย ลักษณะสำาคัญของภาษาไทย มีดังต่อไปนี้ 1.ภาษาไทยเป็นภาษาคำาโดด กล่าวคือ เป็นภาษาที่มี คำาใช้โดยอิสระไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำาเพื่อบอกเพศ พจน์ กาล เมื่อต้องการแสดงเพศ พจน์ กาล จะใช้คำาอื่น มาประกอบหรืออาศัยบริบท ดังนี้ 1.1.การบอกเพศ คำาบางคำาอาจบ่งชี้เพศอยู่แล้ว เช่น พ่อ หนุ่ม นาย พระ เณร ปู่ ลุง เขย เป็นเพศชาย ส่วนแม่ หญิง สาว ชี ย่า ป้า สะใภ้ เป็นเพศหญิง การบอกเพศนั้น จะนำาคำามาประกอบเพื่อบอกเพศ เช่น ลูกเขย ลูกสะใภ้ แพทย์หญิง ช้างพลาย นางพยาบาล บุรุษพยาบาล เป็นต้น 1.2.การบอกพจน์ คำาไทยไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปคำา เพื่อบอกจำานวน แต่จะใช้คำามาประกอบเพื่อบอกคำาที่เป็น จำานวนหรือใช้คำาซำ้าเพื่อบอกจำานวน เช่น เธอเป็น โสด บ้าน หลายหลังถูกไฟไหม้ ลูก มากจะยากจน เด็กๆ วิ่งเล่นอยู่หน้าบ้าน 1.3.การบอกกาล ได้แก่ การบอกเวลาในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จะใช้คำามาประกอบคำากริยาโดยไม่มี การเปลี่ยนคำากริยา เช่น พ่อได้ไปหาคุณย่ามา แล้ว (บอกอดีตกาล) เมื่อปีกลายนี้ฉันไปฝรั่งเศส (บอกอดีตกาล) เขา กำาลังมาพอดี (บอกปัจจุบันกาล) เดี๋ยวนี้เขายังอยู่ที่หัวหิน (บอกปัจจุบันกาล) พรุ่งนี้ฉันจะไปหาเลย (บอกอนาคตกาล) ตอนเย็นเธอมาหาฉันนะ (บอกอนาคตกาล)
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 4 2.คำาไทยแท้ส่วนมากมีพยางค์เดียวและมีความ หมายสมบูรณ์ในตัวฟังแล้วเข้าใจได้ทันที เช่น คำาเรียกเครือญาติ พ่อ แม่ ลูก พี่ น้อง ลุง อา น้า ปู่ ตา ย่า ยาย คำาเรียกสิ่งของ อ่าง ขวด ถ้วย จาน ชาม ไร่ นา บ้าน มีด คำาเรียกชื่อสัตว์ หมา แมว หมู กา ไก่ งู วัว ควาย เสือ ลิง คำาเรียกธรรมชาติ ดิน นำ้า ลม ไฟ ร้อน หนาว เย็น คำาสรรพนาม ท่าน ผม เธอ เรา สู เจ้า อ้าย อี คำากริยา ไป นั่ง นอน กิน เรียก คำาลักษณนาม กำา ลำา ต้น ตัว อัน ใบ กิ่ง ลูก ดวง คำาขยายหรือคำาวิเศษณ์ อ้วน ผอม ดี เลว สวย เก่า ใหม่ แพง ถูก คำาบอกจำานวน อ้าย ยี่ สอง หนึ่ง พัน ร้อย แสน ล้าน มาก น้อย ข้อสังเกต *คำาที่มีมากพยางค์มักไม่ใช่คำาไทยแท้ มักมาจากภาษาอื่น **ภาษาไทยอาจมีคำามากพยางค์ได้โดยวิธีการปรับปรุงศัพท์ โดยนำาวิธีการลงอุปสรรคประกอบหน้าคำาอย่างภาษาที่มี วิภัตติปัจจัย ความหมายยังคงเดิม แต่กลายเป็นคำามาก พยางค์ เช่น ประเดี๋ยว ประท้วง อีกวิธีหนึ่งคือ การกลาย เสียงซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติของภาษา เช่น มะม่วง กลายมาจาก หมากม่วง 3.คำาไทยแท้มีตัวสะกดตรงตามมาตราตัวสะกด มาตราตัวสะกดมี 9 มาตรา คำาไทยจะสะกดตรงตามมาตรา ตัวสะกดและไม่มีการันต์ เช่น มาตราแม่กก ใช้ ก สะกด เช่น มาก จาก นก จิก รัก มาตราแม่กด ใช้ ด สะกด เช่น กัด ตัด ลด ปิด พูด มาตราแม่กบ ใช้ บ สะกด เช่น จับ จบ รับ พบ ลอบ มาตราแม่กน ใช้ น สะกด เช่น ขึ้น อ้วน รุ่น นอน กิน มาตราแม่กง ใช้ ง สะกด เช่น ลง ล่าง อ่าง จง พุ่ง แรง มาตราแม่กม ใช้ ม สะกด เช่น ลาม ริม เรียม ซ้อม ยอม มาตราแม่เกย ใช้ ย สะกด เช่น ยาย โรย เลย รวย เฉย มาตราแม่เกอว ใช้ ว สะกด เช่น ดาว เคียว ข้าว เรียว เร็ว คำาที่มีมาตราตัวสะกดไม่ตรงตามมาตราตัวสะกด จะเป็นคำาที่ เป็นภาษาอื่นที่ยืมมาใช้ในภาษาไทย และบางคำายังมีการใช้ ตัวการันต์เพื่อไม่ต้องออกเสียงพยัญชนะตัวนั้นอีกด้วย เช่น
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 5 ภาษาบาลี มัจฉา อังคาร อัมพร ปัญญา ภาษาสันสกฤต อาตมา สัปดาห์ พฤศจิกายน พรหม ภาษาเขมร เสด็จ กังวล ขจร เผอิญ ภาษาอังกฤษ ฟุต ก๊าซ ปอนด์ วัคซีน 4.ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ต่างกันทำาให้ ระดับเสียงต่างกันและคำาก็มีความหมายต่างกันด้วย การที่ ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต์ทำาให้ภาษาไทยมีลักษณะพิเศษ คือ 4.1.ภาษาไทยขยายตัวทำาให้มีคำาใช้มากขึ้น เช่น ขาว ข่าว ข้าว เสือ เสื่อ เสื้อ 4.2.ภาษาไทยมีระดับเสียงสูงตำ่า ทำาให้เกิดความ ไพเราะ ดังเห็นได้ชัดในบทร้อยกรอง 4.3.ภาษาไทยมีพยัญชนะที่มีพื้นเสียงต่างกัน เป็น อักษรสูง อักษรกลาง อักษรตำ่า และมีเสียง วรรณยุกต์ต่างกัน เป็นเสียงสามัญ เอก โท ตรี และ จัตวา เป็น 5 ระดับเสียง ทำาให้เลียนเสียงธรรมชาติ ได้อย่างใกล้เคียง 5.การสร้างคำา คำาไทยเป็นคำาพยางค์เดียวจึงไม่พอใช้ ในภาษาไทย จึงต้องมีการยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ แล้วยังมีการสร้างคำาใหม่ๆ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น การ ประสมคำา การซ้อนคำา การซำ้าคำา การสมาส เป็นต้น 6.การเรียงลำาดับคำาในประโยค ภาษาไทยถือว่าการ เรียงคำาในประโยคมีความสำาคัญมาก ถ้าเรียงคำาผิดที่ความ หมายของประโยคจะเปลี่ยนแปลงไป เพราะตำาแหน่งของคำา จะเป็นตัวระบุว่าคำานั้นมีหน้าที่และมีความหมายอย่างไร เช่น คนไม่รักดี ไม่รักคนดี คนดีไม่รัก คนรักไม่ดี พี่สาวให้เงินน้องใช้ น้องสาวให้เงินพี่ใช้ พี่ให้เงินน้องสาวใช้ น้องให้เงินพี่สาวใช้ 7.คำาขยายในภาษาไทยจะเรียงหลังคำาที่ถูกขยาย เสมอ เว้นแต่คำาที่แสดงจำานวนหรือปริมาณ จะวางไว้ข้าง หน้าหรือข้างหลังคำาขยายก็ได้ เช่น เขาเดิน เร็ว (คำาขยายอยู่หลังคำาถูกขยาย) เขาสวมเสื้อ สีฟ้า (คำาขยายอยู่หลังคำาถูกขยาย) เขามาคน เดียว (คำาบอกปริมาณอยู่หลังคำาที่ขยาย)
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 6 ยกเว้น มากหมอก็ มากความ (คำาบอกปริมาณอยู่หน้าคำาที่ ขยาย) 8.คำาไทยมีคำาลักษณนาม ซึ่งเป็นคำานามที่บอกลักษณะ ของนามข้างหน้า ซึ่งคำาลักษณนาม มีหลายชนิด ได้แก่ ลักษณนามบอกชนิด เช่น ขลุ่ย 2 เลา ลักษณนามบอกอาการ เช่น บุหรี่ 3 มวน ลักษณนามบอกหมวดหมู่ เช่น ทหาร 5 กอง 9.ภาษาไทยมีวรรคตอนในการเขียนและมีจังหวะ ในการพูด หากแบ่งวรรคตอนไม่ถูกต้องความหมายจะไม่ ชัดเจน หรือมีความหมายเปลี่ยนไป เช่น พูดไปสองไพเบี้ย นิ่งเสียตำาลึงทอง หมายความว่า นิ่ง เสียดีกว่าพูด พูดไปสองไพเบี้ย นิ่ง เสียตำาลึงทอง หมายความว่า ยิ่ง นิ่งยิ่งเสียมาก ไม่เจอกันนานนม เธอโตขึ้นเป็นกอง ไม่เจอกันนาน นม เธอโตขึ้นเป็นกอง ยานี้ดี กินแล้วแข็ง แรงไม่มี โรคภัยเบียดเบียน ยานี้ดี กินแล้วแข็งแรง ไม่มีโรคภัยเบียดเบียน 10.ภาษาไทยมีคำาบางคำาที่มีเสียงสัมพันธ์กับความ หมาย -คำาที่ประสมสระเอ มักจะมีความหมายไปในทางที่ไม่ตรง เช่น เข เก เป๋ โซเซ -คำาที่ประสมสระออ มี “ ม ” หรือ “ น ” สะกด จะมีความ หมายไปในทางงอหรือโน้มเข้าหากัน เช่น งอนง้อ อ้อมค้อม น้อม อ้อม ฯลฯ 11.ภาษาไทยมีความประณีต มีคำาที่มีความหมายหลัก เหมือนกัน แต่มีความหมายเฉพาะต่างกัน เช่น -การทำาให้ขาดจากกัน มีคำาว่า ตัด หั่น แล่ เชือด เฉือน สับ ฯ -การทำาอาหารให้สุก มีคำาว่า ปิ้ง ย่าง ต้ม ตุ๋น ทอด ฯ -บุพบทบอกสถานที่ (ที่ติดกัน) มีคำาว่า ใกล้ ชิด แนบ ข้างฯ การเลือกใช้คำาในการเขียนหรือการพูดจะต้องเลือกให้ถูก ถ้าเลือกผิด ความหมายก็จะเปลี่ยนไปด้วย 12. ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับของคำา แบ่งเป็น 12.1 ราชาศัพท์ เป็นวัฒนธรรมมาแต่โบราณ ได้รับการยกย่องไป
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 7 ในนานาประเทศ ในเรื่องการคารวะผู้มีอาวุโส แสดงออกทั้งทาง กิริยามารยาทและการใช้ภาษา บุคคลในสังคมย่อมต่างกันด้วยวัย วุฒิ ลำาดับญาติ ลำาดับชั้นปกครอง ภาษาไทยมีอัจฉริยลักษณะอย่างหนึ่งคือ การใช้คำาเหมาะแก่ บุคคล จนมีผู้กล่าวว่า “ คนไทยพูดกันแม้ไม่เห็นตัวก็ทราบได้ทันที ว่าผู้พูด ผู้ฟัง เป็นหญิงหรือชาย เด็กหรือผู้ใหญ่ ” เพราะการใช้ ถ้อยคำา จะบ่งบอกไว้ชัดเจน เป็นความงดงามทั้งในทางภาษา วัฒนธรรม และสังคม ในทางภาษาจะได้เห็นศิลปะของการใช้ ภาษา ในทางสังคมจะได้เห็นวัฒนธรรมขนบประเพณี 12.2 มีคำาบอกลักษณะโดยเฉพาะ ตัวอย่าง ล้าง = ทำาให้สะอาด ชำาระด้วยนำ้า ใช้กับคนทั่ว ๆ ไป แต่เมื่อใช้กับ “ ผม ” ต้องใช้ สระผม เมื่อใช้กับ “ เสื้อผ้า ” ต้องใช้ ซักเสื้อผ้า ความมีชื่อเสียง = ในทางดี “ ลือชาปรากฏ , ”โด่งดัง ในทางไม่ดี = “อื้อฉาว , ”กระฉ่อน 12.3 ภาษาธรรมดากับภาษากวี คำาที่นำามาจากภาษาอื่นมีความ หมายอย่างเดียวกับคำาไทย จะนำามาใช้ในคำาประพันธ์ เช่น หญิง = สตรี กานดา กัลยา นงคราญ นงนุช นุชนาฏ นงพะงา พนิต ยุพยง เยาวเรศ บังอร อนงค์ ฯลฯ อาทิตย์ = ตะวัน ไถง ทินกร ทิพากร ภาณุมาศ สุรีย์ รวิ อาภากร สุริยัน 13. ภาษาไทยมีคำาพ้องเสียง พ้องรูป และพ้องความหรือ คำาไวพจน์ แบ่งเป็น 13.1 คำาพ้องเสียง เช่น 1) กาน - ตัดให้เตียน การณ์ – เหตุ กาฬ - ดำา กานต์ - เป็นที่รัก กาล – เวลา กานท์ – บทกลอน การ - กิจ งาน ธุระ 2) สัน - สิ่งที่มีลักษณะนูนสูง เป็นแนวยาว , ส่วนหนาของ มีดหรือขวานที่อยู่ตรงข้ามกับคม สรร - เลือก คัด สรรพ์ – ทั้งหมด สรรค์ – สร้าง
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 8 สันต์ - สงบ สันทน์ – พูดจา ศัลย์ - ลูกศร ของมีปลายแหลม ( เช่น ศัลยแพทย์ - แพทย์ผ่าตัด) สัณฑ์ - ที่รก ที่ทึบ สัณห์ - ละมุนละม่อม สุภาพ นิ่มนวล 13.2 คำาพ้องรูป เช่น 1.) เรือนรก - เรือ-นรก = เรือที่ไม่ดี หรือที่มีการฆ่ากัน เรือน-รก = เรือนรกรุงรัง 2.) เพลา - เพ-ลา = เวลา เพลา = เบา ๆ หรือ ตัก 3.) ตากลม - ตาก-ลม = นั่งเล่น ตา-กลม = นัยน์ตา- กลม 4.) ขอบอกขอบใจ - ขอ-บอก-ขอบ-ใจ = บอกขอบใจ ขอบ-อก-ขอบ-ใจ = คำาซ้อนเน้นความ คำาพ้องรูป มีความสำาคัญในเรื่องการออกเสียง ถ้าออกเสียง ผิดความหมายจะผิดพลาดตามไปด้วย 13.3 คำาพ้องความหรือคำาไวพจน์ คือคำาที่มีความหมายเหมือน กัน เช่น -นำ้า นที สายชล ธารา กระแสสินธุ์ คงคา ชลธี ชลธาร ชล สินธุ์ อุทก วาริน อาโป วารี -ท้องฟ้า นภา ทิฆัมพร เวหา อัมพร คัคนานต์ วรัม พร โพยม คัคนางค์ -ช้าง กุญชร กรี คชสาร พลาย สาร หัตถี ไอยรา -ม้า อาชา อาชาไนย สินธพ พาชี ดุรงค์ หัย อัศวะ -พระจันทร์ รัชนีกร บุหลัน นิศากร ศศิธร รัชนี วราลี ตมิสา ตารเกศ 14 . ภาษาไทยมักจะละคำาบางคำา (ส่วนมากเป็นภาษาพูด) เช่น 1.) โต๊ะสองตัวนี้ของเธอ โต๊ะของเธอสองตัวนี้ ละคำาว่า “ คือ ” หรือ “ เป็น ” สองตัวนี้โต๊ะของเธอ 2.) ฉันไปโรงเรียนเวลา 8.00 น. = ละคำาบุพบท “ ที่ ” หรือ “ ถึง ” 15. ภาษาพูดมีคำาเสริมแสดงความสุภาพ ภาษาพูดมีคำาเสริมท้าย ประโยค เช่น
  • 9. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 9 -แสดงความสุภาพ เช่น เถิด ซิ นะจ๊ะ คะ ครับ ฯลฯ -แสดงความไม่สุภาพ เช่น โว้ย ฯลฯ -แสดงความรู้สึก เช่น นะจ๊ะ โอ้ โอ้ย เอ๊ะ ฯลฯ 16. การลงเสียงหนักเบาทำาให้หน้าที่ของคำาเปลี่ยนไป การออกเสียงหนักเบายังอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน ได้ เพราะทำาหน้าที่ผิดกัน เช่น - ถ้ามัน เสีย ก็แก้ เสีย ให้ดี “ เสีย ” คำาแรก เป็นคำากริยา ลงเสียงหนัก หมายถึง “ เสื่อม คุณภาพ ” “ เสีย ” คำาหลัง เป็นคำาวิเศษณ์ ออกเสียงเบา เสริมเพื่อเน้น ความหมาย “ ให้เสร็จไป ” ในการพูดจึงต้องระมัดระวังในการออกเสียงหนักเบาให้ถูก ต้อง
  • 10. เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ลักษณะภาษาไทย วิชา หลัก ภาษาไทย ท 30203 ชั้น ม.5 หน้าที่ 9 -แสดงความสุภาพ เช่น เถิด ซิ นะจ๊ะ คะ ครับ ฯลฯ -แสดงความไม่สุภาพ เช่น โว้ย ฯลฯ -แสดงความรู้สึก เช่น นะจ๊ะ โอ้ โอ้ย เอ๊ะ ฯลฯ 16. การลงเสียงหนักเบาทำาให้หน้าที่ของคำาเปลี่ยนไป การออกเสียงหนักเบายังอาจแยกให้เห็นความหมายที่แตกต่างกัน ได้ เพราะทำาหน้าที่ผิดกัน เช่น - ถ้ามัน เสีย ก็แก้ เสีย ให้ดี “ เสีย ” คำาแรก เป็นคำากริยา ลงเสียงหนัก หมายถึง “ เสื่อม คุณภาพ ” “ เสีย ” คำาหลัง เป็นคำาวิเศษณ์ ออกเสียงเบา เสริมเพื่อเน้น ความหมาย “ ให้เสร็จไป ” ในการพูดจึงต้องระมัดระวังในการออกเสียงหนักเบาให้ถูก ต้อง