SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
การทางานแบบลาดับ
การทางานแบบลาดับ
ในการเขียนโปรแกรมนั้น หลังจากที่ผ่านขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหา
มาแล้ว ขั้นตอนต่อไปคือการเขียนผังงานและซูโดโค้ดอธิบาย
หลักการแก้ไขปัญหา ผู้ที่เขียนโปรแกรมจะต้องเปลี่ยนผังงานให้เป็น
การอธิบายขั้นตอนการทางานในลักษณะข้อความก่อน จากนั้นจึง
เปลี่ยนข้อความนั้น ๆ ให้เป็นซูโดโค้ดแล้วจึงเขียนเป็นโปรแกรม
คอมพิวเตอร์ลาดับต่อไป รูปแบบของโปรแกรมนั้นมีหลายรูปแบบ
สาหรับหัวข้อนี้จะกล่าวถึงรายละเอียดและตัวอย่างการทางานแบบ
ลาดับซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานในการเขียนโปรแกรมทั่ว ๆ ไป ลักษณะ
การทางานของโปรแกรมแบบลาดับนี้จะกระทาตามลาดับกิจกรรม
ก่อนหลัง โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงทิศทางไปในลักษณะอื่น
START
READ Base, HIGH
ANS = 0.5*Base*high
WRITE ANS
END
รูปแสดงตัวอย่างผังงานการหาพื้นที่สามเหลี่ยม
2006
2007
2008
2009
จากผังงานในรูปเป็นการทางานแบบลาดับ ถ้าหากเขียนเป็นคาอธิบาย
โปรแกรมในลักษณะของข้อความภาษาไทยจะเขียนได้ดังนี้
หาพื้นที่สามเหลี่ยม
เริ่มต้น
1. รับค่าฐาน Base, รับค่าส่วนสูง High
2. คานวณหาพื้นที่โดยใช้ตัวแปร ANS เท่ากับ 0.5*Base*High
3. แสดงค่าพื้นที่ ANS
จบ
ซึ่งจะเห็นว่าการทางานจะทางานเป็นลาดับต่อเนื่องกันไป ถ้าหากต้องการให้ค่า
ฐานของสามเหลี่ยมและส่วนสูงเป็นเลขจานวนเต็ม จะเขียนเป็นซูโดโค้ดที่ใช้คา
ภาษาอังกฤษได้ดังนี้
START
INT Base, High : INTEGER
INT ANS : REAL
READ Base, High
ANS = 0.5*Base*High
WRITE ANS
END
และจากซูโดโค้ดที่ได้นี้จะทาให้สามารถเขียนเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ได้ง่าย โดย
เปลี่ยนซูโดโค้ดแต่ละบรรทัดให้เป็นไปตามหลักการเขียนโปนแกรมภาษานั้น ๆ ตาม
ตัวอย่างต่อไป
#include<stdio.h>
#<conio.h>
main()
{
int Base, High; /*ประกาศตัวแปร Base และ High เป็นเลขจานวนเต็ม*/
float ANS; /*ประกาศตัวแปร ANS เป็นเลขทศนิยม*/
printf(“Input Base”);
scanf(“%d”,&Base); /*รับค่าความยาวฐาน*/
printf(“Input Base”);
scanf(“%d”,&Base); /*รับค่าความสูง*/
ANS = 0.5*Base*High; /*คานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม*/
printf(“ANS : %.2fn”,ANS); /*แสดงผลออกทางจอภาพเป็นทศนิยมสองตาแหน่ง*/
getch ();
return 0;
}
เมื่อคีย์โปรแกรมลงในโปรแกรม DEV – C++ แล้วทดลองแล้วรันโปรแกรมผลลัพธ์ที่
ได้จะเป็นดังรูป โดยคอมพิวเตอร์จะให้ป้อนค่าฐานและความสูงของสามเหลี่ยมเข้าไปทางอินพุต
จากนั้นจะแสดงผลเป็นพื้นที่ของสามเหลี่ยมออกมา โดยในตัวอย่างจะป้อนความยาวฐานเท่ากับ
17 และส่วนสูงเท่ากับ 12
ป้อนความยาวฐาน
และความสูง
วิธีทา จากที่โจทย์กาหนดสามารถวิเคราะห์ปัญหาได้หลายแบบ เช่น
ข้อมูลอินพุต กาหนดค่าข้อมูลโดยตรงหรือรับจากคีย์บอร์ด
ข้อมูลเอาต์พุต ต้องเป็นเลขจานวนเต็มเนื่องจากข้อมูลทั้งสี่ค่าเป็นจานวนเต็ม
วิธีการประมวลผล ประกาศตัวแปรขึ้นมา 4 ตัว สาหรับเก็บจานวนเต็ม
เก็บตัวเลขในตัวแปร
นาตัวเลขทั้งสี่ค่ามารวมกันแล้วเก็บไว้ในตัวแปร
จากโจทย์ถ้าหากมีการรับข้อมูลก็ต้องประกาศตัวแปรสาหรับเก็บข้อมูล
และโจทย์บอกว่าหาผลรวมของเลขจานวนเต็ม ดังนั้นตัวแปรควรเป็นตัวแปรที่
เก็บเลขจานวนเต็ม
จงเขียนโปรแกรมหา
ค่าผลรวมของตัวเลข
จานวนเต็ม 4 ค่า
วิธีที่ 1 ถ้าหากเป็นการกาหนดค่าข้อมูลโดยตรงจะเขียนผังงานและโปรแกรมภาษาซีได้ดังนี้
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
main()
{
int x1, x2, x3, x4, SUM;
x1 = 32;
x2 = 14;
x3 = 25;
x4 = 10;
SUM = x1 + x2 + x3 + x4;
printf(“SUM = %dn”,SUM);
getch ();
return 0;
}
รูปแสดงเปรียบเทียบผังงานและโปรแกรมภาษาซี
START
x1 = 32
x2 = 14
x3 = 25
x4 = 10
SUM = x1 + x2 + x3 + x4
WRITE SUM
END
ประกาศตัวแปร
เก็บจานวนเต็ม
และผลรวม
สัญลักษณ์ของผัง
งานแสดงข้อมูล
ทางจอภาพ
วิธีที่ 2 ถ้าหากต้องการให้กาหนดข้อมูลเพื่อหาผลรวมทันทีก็ทาได้โดยไม่ต้องประกาศตัวแปร สามารถ
เขียนผังงานและโปรแกรมได้ดังรูปด้านล่าง วิธีนี้จะทาให้โปรแกรมใช้หน่วยความจาของคอมพิวเตอร์
น้อยลงด้วย เนื่องจากการประกาศตัวแปรหนึ่งตัวสาหรับเก็บเลขจานวนเต็มคอมพิวเตอร์ต้องจอง
หน่วยความจาให้กับตัวแปรนั้นจานวน 4 ไบต์ (สาหรับ DEV-C++)
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
main()
{
int SUM;
SUM = x1 + x2 + x3 + x4;
printf(“SUM = %dn”,SUM);
getch ();
return 0;
}
รูปแสดงการประมวลผลข้อมูลโดยตรงโดยไม่ต้องมีตัวแปรทุกตัว
START
SUM = x1 + x2 + x3 + x4
END
WRITE SUM
วิธีที่ 3 ถ้าหากต้องการรับข้อมูลทางแป้นพิมพ์ทีละตัวก็ทาได้ โดยจะต้องประกาศตัวแปรสาหรับรับข้อมูล
ทางแป้นพิมพ์ด้วย และการรับข้อมูลตัวเลขแต่ละตัวจะต้องใช้ฟังก์ชัน scanf() ดังผังงานและโปรแกรม
ในรูป #include<stdio.h>
#include<conio.h>
main()
{
int x1, x2, x3, x4, SUM;
scanf(“%d”&x1);
scanf(“%d”&x1);
scanf(“%d”&x1);
scanf(“%d”&x1);
SUM = x1 + x2 + x3 + x4;
printf(“SUM = %dn”,SUM);
getch ();
return 0;
}
รูปแสดงผังงานและโปรแกรมสาหรับรับข้อมูลเข้าไปทีละค่า
WRITE SUM
START
SUM = x1 + x2 + x3 + x4
END
READ x1
READ x2
READ x3
READ x4
สัญลักษณ์การรับ
ข้อมูลทางคีย์บอร์ด
การแสดงลาดับการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ของนิพจน์ต่างๆ
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
int main ()
{
int a, b, c, d, e;
a = (3+4)*5;
b = 3 + 4 *5;
c = (2 + 7)*4%10;
d = 2 + 7*4%10;
e = 10 + 2 *8/4*3-5;
printf(“3+4)*5=%dn”,a);
printf(“3 + 4 *5 =%dn”,b);
การแสดงลาดับการประมวลผลทางคณิตศาสตร์ของนิพจน์ต่างๆ
printf(“(2 + 7)*4%10 =%dn”,c);
printf(“2 + 7*4%10 =%dn”,d);
printf(“10 + 2 *8/4*3-5 =%dn”,e);
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์ที่ได้
โปรแกรมคานวณหาผลลัพธ์จากการหาร
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
int main ()
{
int a, b;
float c;
a = 20;
b = 6;
c = 6;
printf(“20/6 = %dn”,a/b); /*หารเอาเฉพาะส่วน*/
printf(“20%6 = %dn”,a%b); /*หารเอาเฉพาะเศษ*/
printf(“20/6 = %fn”,a/c); /*หารเอาทั้งเศษและส่วน*/
printf(“20%6 = %15fn”,a%c); /*แสดงผลโดยจองพื้นที่ 15 ช่อง*/
printf(“20%6 = %.2fn”,a%c); /*แสดงผลทศนิยม 2 ตาแหน่ง*/
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์ที่ได้
ร้านขายผลไม้แห่งหนึ่ง หากยอดซื้อเกิน 200 บาทจะลดราคาให้ 5% และถ้ายอดขายเกิน 400
บาท จะลดราคาให้ 10 % จงเขียนโปรแกรมให้ผู้ใช้ป้อนน้าหนักของผลไม้ที่ซื้อเป็นกิโลกรัม
จากนั้นให้โปรแกรมแจ้งราคาที่ต้องชาระออกมา
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
int main ()
{
int Price;
int Sale;
printf("Enter Price= ");
scanf("%d",&Price);
if(Price <= 200)
{
Sale = Price;
printf ("nnSale = %d", Sale);
}
else
if(Price <= 400)
{
Sale = (Price * 95)/100;
printf ("nnSale = %d", Sale);
}
else
if (Price > 400)
{
Sale = (Price * 90)/100;
printf ("nnSale = %d", Sale);
}
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์ที่ได้
เมื่อซื้อสินค้า 200 บาท
เมื่อซื้อสินค้าเกิน 200 บาท จะลดราคาให้ 5%
ตั้งใจ
เรียน
กัน
หน่อย
เมื่อซื้อสินค้าเกิน 400 บาท จะลดราคาให้ 10%
โปรแกรมคานวณค่าโทรศัพท์
ถ้าคิดค่าโทรศัพท์ดังนี้
นาทีแรก 3 บาท
นาทีที่ 2 – 2.50 บาท
นาทีที่ 3 – 1.50 บาท
นาทีที่ 4 – 1 บาท
นาทีที่ 5 เป็นต้นไป – 0.25 บาท
ถ้าโทรศัพท์ 7 นาทีจะเสียค่าโทรเป็นเงินกี่บาท
#include<stdio.h>
#include<conio.h>
int main ()
{
float Price;
int Minute;
printf("Enter Minute= ");
scanf("%d",&Minute);
if(Minute <= 1)
{
Price = 3;
printf ("nnPrice = %f", Price);
}
else
if(Minute <= 2)
{
Price = 5.50;
printf ("nnPrice = %f", Price);
}
else
if(Minute <= 3)
{
Price = 7;
printf ("nnPrice = %f", Price);
}
else
if(Minute <= 4)
{
Price = 8;
printf ("nnPrice = %f", Price);
}
else
if(Minute > 5)
{
Price = ((Minute - 4) * 0.25) + 8;
printf ("nnPrice = %f", Price);
}
getch ();
return 0;
}
ผลลัพธ์ที่ได้ เมื่อโทรศัพท์เป็นเวลา 7 นาที
ที่มา : คู่มืออบรมครูวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นด้วยภาษา C บริษทซัคเซสมีเดีย
คู่มือเรียนเขียนโปรแกรมภาษา สานักพิมพ์ IDC PREMIER

More Related Content

What's hot

กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานKanchana Theugcharoon
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-25552 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555อภิญญา คำเหลือ
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1Ja Phenpitcha
 

What's hot (10)

3.6 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
3.6 การเขียนโปรแกรมคำนวณ3.6 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
3.6 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานกลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน3.7 การเขียนผังงาน
3.7 การเขียนผังงาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-25552 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555
2 การรับข้อมูลและการแสดงผลข้อมูล 8-10-2555
 
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนโปรแกรมแนวคิดในการเขียนโปรแกรม
แนวคิดในการเขียนโปรแกรม
 
งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13งานทำ Blog บทที่ 13
งานทำ Blog บทที่ 13
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
Learn 3
Learn 3Learn 3
Learn 3
 
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
คลาสและการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องต้น 1
 

Viewers also liked

Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3
Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3
Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3matedivliss
 
Deus nos quer vivos
Deus nos quer vivosDeus nos quer vivos
Deus nos quer vivosAmadeu Wolff
 
Geografia Brasileira nos EUA!
Geografia Brasileira nos EUA!Geografia Brasileira nos EUA!
Geografia Brasileira nos EUA!Move to Junk
 
Siemens servo screen_390_service_manual
Siemens servo screen_390_service_manualSiemens servo screen_390_service_manual
Siemens servo screen_390_service_manualRuderocker Billy
 
Coração desperto
Coração despertoCoração desperto
Coração despertoAmadeu Wolff
 
Projeto6ass 090526180054-phpapp02
Projeto6ass 090526180054-phpapp02Projeto6ass 090526180054-phpapp02
Projeto6ass 090526180054-phpapp02Michel Boaventura
 
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)BeMyApp
 
Traduccion de contratos legales
Traduccion de contratos legalesTraduccion de contratos legales
Traduccion de contratos legalesPedro Mendoza
 
Échanges entre dev et designer
Échanges entre dev et designerÉchanges entre dev et designer
Échanges entre dev et designerBeMyApp
 

Viewers also liked (20)

3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6งานทำ Blog บทที่ 6
งานทำ Blog บทที่ 6
 
Unidad 1.1
Unidad 1.1Unidad 1.1
Unidad 1.1
 
Git + git hub
Git + git hubGit + git hub
Git + git hub
 
Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3
Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3
Septiembre09 aguilar amat_fernandez_margarita3
 
Deus nos quer vivos
Deus nos quer vivosDeus nos quer vivos
Deus nos quer vivos
 
Healthcare - Sector Profile
Healthcare - Sector ProfileHealthcare - Sector Profile
Healthcare - Sector Profile
 
El test de la familia
El test de la familiaEl test de la familia
El test de la familia
 
Refuerzo 6
Refuerzo 6Refuerzo 6
Refuerzo 6
 
Kochi marathon 2010
Kochi marathon 2010Kochi marathon 2010
Kochi marathon 2010
 
Cookbook #6 :Integrated Marketing for Jewellery brands
Cookbook #6 :Integrated Marketing for Jewellery brandsCookbook #6 :Integrated Marketing for Jewellery brands
Cookbook #6 :Integrated Marketing for Jewellery brands
 
Geografia Brasileira nos EUA!
Geografia Brasileira nos EUA!Geografia Brasileira nos EUA!
Geografia Brasileira nos EUA!
 
Siemens servo screen_390_service_manual
Siemens servo screen_390_service_manualSiemens servo screen_390_service_manual
Siemens servo screen_390_service_manual
 
Coração desperto
Coração despertoCoração desperto
Coração desperto
 
Projeto6ass 090526180054-phpapp02
Projeto6ass 090526180054-phpapp02Projeto6ass 090526180054-phpapp02
Projeto6ass 090526180054-phpapp02
 
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)
Meetup unity#5 dungeonoftheendless (1)
 
Traduccion de contratos legales
Traduccion de contratos legalesTraduccion de contratos legales
Traduccion de contratos legales
 
Casanova idea book
Casanova idea bookCasanova idea book
Casanova idea book
 
O livro dos dias
O livro dos diasO livro dos dias
O livro dos dias
 
Échanges entre dev et designer
Échanges entre dev et designerÉchanges entre dev et designer
Échanges entre dev et designer
 

Similar to 3.8 การทำงานแบบลำดับ

โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานchanamanee Tiya
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซีmansuang1978
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซีmansuang1978
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีNattapon
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C ProgrammingWarawut
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซีmansuang1978
 
The project schedule and budget
The project schedule and budgetThe project schedule and budget
The project schedule and budgettumetr1
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน Kanchana Theugcharoon
 

Similar to 3.8 การทำงานแบบลำดับ (20)

3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ3.8 การทำงานตามลำดับ
3.8 การทำงานตามลำดับ
 
3.8 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
3.8 การเขียนโปรแกรมคำนวณ3.8 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
3.8 การเขียนโปรแกรมคำนวณ
 
Pbl2
Pbl2Pbl2
Pbl2
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี1. ประวัติภาษาซี
1. ประวัติภาษาซี
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี4.ฟังก์ชันในภาษาซี
4.ฟังก์ชันในภาษาซี
 
Know 1 1
Know 1 1Know 1 1
Know 1 1
 
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
ใบความรู้ที่ 1 ความรู้พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
C Programming
C ProgrammingC Programming
C Programming
 
1 test
1  test1  test
1 test
 
2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี2. โครงสร้างภาษาซี
2. โครงสร้างภาษาซี
 
The project schedule and budget
The project schedule and budgetThe project schedule and budget
The project schedule and budget
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
C slide
C slideC slide
C slide
 
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐานโปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
กลุ่มที่ 6 โปรแกรมย่อยและฟังก์ชันมาตรฐาน
 

More from รัสนา สิงหปรีชา

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบรัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกรัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์รัสนา สิงหปรีชา
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้รัสนา สิงหปรีชา
 

More from รัสนา สิงหปรีชา (20)

บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบบทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
บทที่ 6-การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีความรับผิดชอบ
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
3.1 การทำงานขั้นพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
3.1 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้บทที่ 2  ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
บทที่ 2 ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล3.3. ชนิดของข้อมูล
3.3. ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1คู่มือนักเรียน 3.1
คู่มือนักเรียน 3.1
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
3.4 ตัวดำเนินการและนิพจน์
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี3.1 โครงสร้างของภาษาซี
3.1 โครงสร้างของภาษาซี
 
3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล3.3 ชนิดของข้อมูล
3.3 ชนิดของข้อมูล
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
คู่มือครู
คู่มือครูคู่มือครู
คู่มือครู
 

3.8 การทำงานแบบลำดับ