SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
By	
  KruPumBiO	
  


                                 คุณครูลองนําไปปรับนะคะ
พันธุศาสตร
1. ครอบครัวหนึ่งมีพอเปนโรคมนุษยหมาปา แมปกติ ลูกชายแตงงานกับหญิงที่เปนโรค
(heterozygous) ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับลูกของครอบครัวนี้
ก. ลูกชายทั้งหมดปกติ
ข. ลูกสาวทั้งหมดเปนโรค
ค. ลูกชายปกติ 50% เปนโรค 50%
ง. ลูกสาวปกติ 50% เปนโรค 50%

เฉลย
โรคมนุษยหมาปา เปนยีนเดนบนโครโมโซม X

       ชาย           ฟโนไทป          หญิง          ฟโนไทป
       XDY                โรค          XDXD             โรค
       X dY              ปกติ          XDXd             โรค
                                       X dX d          ปกติ

พอโรค         แมปกติ
XDY xx	
       X dX d

XDXd XDXd Xxd	
  Y       X dY

                      XdY x x	
   XDXd
                    ชายปกติ        หญิงเปนโรค(heterozygous)
XDXd            d d
               XX            D
                            XY             X dY
หญิงโรค        หญิงปกติ     ชายโรค         ชายปกติ
2	
   การออกขอสอบแนว PISA
	
  
การโคลนตัวออนมนุษย
         การทำโคลนนิ่ง นิวเคลียสของไขจะถูกดูดออกแลวแทนที่โดยการถายรหัสพันธุกรรม
จากเซลลรางกายของผูให จากนั้นไขที่ไดรับการเปลี่ยนนิวเคลียสแลวจะถูกกระตุนใหแบงตัว
และเจริญเติบโตเปนตัวออนได ตัวออนแตละตัวนั้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับผูให
ทุกประการ (1) ในตอนนี้นักวิทยาศาสตรชาวเกาหลีใตประสบความสําเร็จในการโคลนนิ่ง
ตัวออนของมนุษยจํานวน 30 เซลล โดยการผสมรหัสพันธุกรรมจากเซลลปกติของรางกาย
เขากับเซลลไขของผูบริจาคซึ่งเปนเพศหญิงโดยที่เซลลตัวออนที่ไดจากการโคลนนิ่ง
จะเจริญเติบโตตอไปเพื่อที่จะสรางสเต็มเซลล (Stem cells) ซึ่งเซลลเหลานี้สามารถที่จะ
แบงตัวสรางเนื้อเยื่อตางๆในรางกายของมนุษยได (2) (ปรับปรุงจาก:http://news.bbc.co.uk/
2/hi/science/nature/3480921.stm)


       (1) จากขอความขางตนจัดเปน ...................................
       จงเขียนวงกลมลอมรอบ คําวา “กฎ” หรือ “หลักการ” หรือ “ขอเท็จจริง” หรือ
“ความคิดเห็น”อยางใดอยางหนึ่ง
               กฎ
               หลักการ
               ขอเท็จจริง
               ความคิดเห็น


       (2) จากขอความขางตนจัดเปน ...................................
       จงเขียนวงกลมลอมรอบ คําวา “กฎ” หรือ “หลักการ” หรือ “ขอเท็จจริง” หรือ
“ความคิดเห็น”อยางใดอยางหนึ่ง
               กฎ
               หลักการ
               ขอเท็จจริง
               ความคิดเห็น
By	
  KruPumBiO	
  


การสูบบุหรี่ทําลายกระดูกวัยรุนหญิง

          นักวิจัยคนพบวา วัยรุนหญิงที่สูบบุหรี่จะสูญเสียแรธาตุจากกระดูกมากกวาวัยรุนหญิงที่ไม
สูบบุหรี่ โรคกระดุกพรุนคือการสูญเสียความหนาแนนของมวลกระดูก เนื่องจากแรแคลเซียม
ในกระดูกลดลง ปกติกระดูกของคนจะมีการสราง และการสลายอยูตลอดเวลา ในเด็กจะมีการสราง
มากกวาการสลาย ทําใหกระดูกของเด็กมีการเจริญเติบโต และแข็งแรงกระดูกจะใหญขึ้นจนกระทั่ง
อายุ 30 ป กระดูกจะเริ่มมีการสลายมากกวาการสรางทําใหเนื้อกระดูกเริ่มลดลง
        โรคกระดูกพรุนนี้พบไดในสตรีมากกวาบุรุษ เพราะมวลกระดูกของสตรีมีนอยกวาของบุรุษ
และเมื่อสตรีหมดประจําเดือนจะขาดฮอรโมนอีสโตรเจนที่ชวยทําใหแคลเซียมมาจับที่เนื้อกระดูก
ลดลง ทําใหกระดูกบางลง ๆ หลังหมดประจําเดือน
          Lorah Dorn และเพื่อนรวมงาน เชิญอาสาสมัครในการทดลอง 262 คน ที่มีสุขภาพดี
อายุระหวาง 11-17 ป ตอบคําถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการใชชีวิต 3 ปยอนหลัง จากนั้น
นําไปตรวจมวลกระดูก พบวาวัยรุนหญิงที่สูบบุหรี่จะมีการเจริญของมวลกระดูก อยางชาๆและมวล
กระดูกที่สะโพกลดลง ในขณะที่วัยรุนหญิงที่ไมสูบบุหรี่จะมีการเพิ่มมวลกระดูก และยังมีการพบวา
ในอายุ 19 ป ที่สูบบุหรี่ทุกวันจะมีมวลกระดูกลดลงอยางรวดเร็ว
          Kenneth Ward นักจิตวิทยาสุขภาพคลีนิค เสนอแนวคิดวาผลการวิจัยนาจะใหผลเดียวกัน
ในการวิจัยการสูบบุหรี่ของผูหญิงในวัยทํางานเพราะจากการศึกษางานวิจัยความหนาแนนของกระดูก
ผูใหญพบวา “การสูบบุหรี่มีแนวโนมเพิ่มความเสี่ยงของการแตกหักกระดูกสันหลังโดยรอยละ 13
และกระดูกสะโพกหักรอยละ 31”

(เขียนโดย Nathan Seppa วนที่ 5 ธันวาคม 2555 แหลงขอมูล http://www.sciencenews.org/
                        ั
view/generic/id/346875/description/Smoking_hurts_teen_girls_bones)

คําถามขอที่ 1 ขอใดสรุปไมถูกตอง
       1. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงมีผลตอกระดูกสันหลัง
       2. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงสงผลตอกระดูกมากกวาวัยรุนชาย
       3. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงมีแนวโนมเสี่ยงตอโรคขอสะโพกเสื่อม
       4. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงขัดขวางการสะสมแคลเซียมที่กระดูก

        เฉลยคําตอบ ขอ 4 เพราะเปนขอสรุปที่เกินจากขอมูลที่กําหนดให
        คะแนนเต็ม 1 คะแนน
        เกณฑการใหคะแนน      ตอบไดถูก 1 คะแนน
                              ตอบผิดได 0 คะแนน
4	
   การออกขอสอบแนว PISA
	
  

คำถามขอที่ 2 จงวงกลมลอมรอบคําวา “เกี่ยวของ” หรือไมเกี่ยวของ” และใหเหตุผลในการวิเคราะห
ขอมูล

                การวิเคราะหขอมูล                            “เกี่ยวของ” หรือ “ไมเกี่ยวของ”
วิตามินดี                                                            เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ
การเคลื่อนไหว                                                        เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ
ชวงเวลาที่สูบบุหรี่                                                 เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ
การสะสมแคลเซียม                                                      เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ

เฉลยคำตอบ เกี่ยวของ, เกี่ยวของ, ไมเกี่ยวของ, เกี่ยวของ

คะแนนเต็ม 1 คะแนน

เกณฑการใหคะแนน ตองตอบถูกทั้ง 4 ขอ จึงจะได 1 คะแนน

คําถามขอที่ 3 “บุหรี่จะสงผลตอกระดูกบริเวณสะโพก” จากขอความนี้ สามารถสรุปไดวา
บุหรี่มีผลตออาการขอกระดูกสะโพกเสื่อมไดหรือไม
          1. ได
          2. ไมได
          3. ไมแนใจ

เหตุผล
          1. เพราะขอกระดูกเสื่อมเกี่ยวของกับการสะสมแคลเซียม
          2. เพราะกระดูกพรุนเปนปจจัยหลักของอาการกระดูกเสื่อม
          3. เพราะอาการกระดูกหักอาจจะสงผลตอการเสื่อมของกระดูก
          4. เพราะกระดูกพรุนเกิดขึ้นกับกระดูกแข็ง กระดูกเสื่อมเกิดขึ้นกับกระดูกออน
          5. เพราะกระดูกบางเปนเพียงปจจัยหนึ่งที่คาดวาจะสงผลตออาการกระดูกเสื่อม
          6. เพราะการเสื่อมของขอสะโพกเกี่ยวของอายุของกระดูกตามสภาพโครงสรางของรางกาย

เฉลยคำตอบ ไมได เพราะ 2 (เหตุผลกระดูกเสื่อมเกิดที่กระดูกออนซึ่งสวนประกอบหลัก
ของกระดูกออนคือน้ําและโปรตีน ที่จะทําใหกระดูกออนมีความยืดหยุน ทนตอแรงกระแทก
และเสียดสี แตเมื่อใชไปนานๆ ก็จะเกิดการเสื่อมและสึกหรอ แตการสูบบุหรี่มีผลตอการสะสมมวล
ของกระดูกแข็ง)
By	
  KruPumBiO	
  


คําถามขอที่ 4 การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิง นอกจากจะสงผลตอภาวะกระดูกพรุนแลว หากยังมี
การสูบบุหรี่อยางตอเนื่อง ในที่สุดจะสงผลตอระบบกระดูกอยางไร

เขียนคําตอบ...........................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................
.

ระดับคะแนน                               ลักษณะของคําตอบ
     0     ตอบนอกเหนือจากประเด็นที่กําหนด หรือไมตอบ
     1     คําตอบอางถึง การสะสมแคลเซียมลดลง กระดูกบาง กระดูกหัก
           มวลกระดูกลดลงอยางรวดเร็ว แตไมอางถึงภาวะการเดินไมไดหรืออัมพาต
     2     คําตอบอางถึงการเกิดผลกระทบที่กระดูกสะโพกและกระดูกสันหลังหัก
           ที่สงผลตออาการอัมพาตทําใหไมสามารถเคลื่อนไหวรางกายได

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมPhajon Kamta
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนKanlayaratKotaboot
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่อง
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่องP6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่อง
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่องKhunnawang Khunnawang
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มAena_Ka
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์Kittayaporn Changpan
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนatunya2530
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2Khunnawang Khunnawang
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6Khunnawang Khunnawang
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 

La actualidad más candente (20)

แบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรมแบบประเมินกิจกรรม
แบบประเมินกิจกรรม
 
ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2ข้อสอบพลศึกษาป.2
ข้อสอบพลศึกษาป.2
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
ม.5 เทอม 1 หน่วย 1
 
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3แบบทดสอบ การเขียน ป.3
แบบทดสอบ การเขียน ป.3
 
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ใบงานคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่อง
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่องP6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่อง
P6 แบบทดสอบคิดคำนวณคล่อง
 
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็มแบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
แบบฝึกหัดการคูณจำนวนเต็ม
 
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์วิธีการทางประวัคิศาสตร์
วิธีการทางประวัคิศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วนข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
ข้อสอบคณิตศาสตร์เรื่อง การบวก การลบ การคูณ การหารเศษส่วน
 
แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2แบบทดสอบสูตรคูณP2
แบบทดสอบสูตรคูณP2
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
แบบทดสอบสูตรคูณP3 6
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 

Similar a แนวข้อสอบ Pisa

พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxSunnyStrong
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2Kobchai Khamboonruang
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50Weerachat Martluplao
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯnampeungnsc
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีSuwicha Tapiaseub
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50wayosaru01
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50yyyim
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50chugafull
 
....
........
....MM AK
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 

Similar a แนวข้อสอบ Pisa (20)

Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54Conc bio กสพท54
Conc bio กสพท54
 
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptxพื้นฐานชีวิต 33.pptx
พื้นฐานชีวิต 33.pptx
 
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไขกรณีศึกษาไต (Ns)  แก้ไข
กรณีศึกษาไต (Ns) แก้ไข
 
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
พัฒนาการของพฤติกรรมมนุษย์ Present2
 
In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]In side-100 story-001-248[1][19]
In side-100 story-001-248[1][19]
 
ข้อสอบ
ข้อสอบข้อสอบ
ข้อสอบ
 
06 art50
06 art5006 art50
06 art50
 
2550_06
2550_062550_06
2550_06
 
06
0606
06
 
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
ข้อสอบ Onet สุข พลศึกษา และการงานพื้นฐานอาชีพ 50
 
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
06 วิชาสุขศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ
 
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยีข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ข้อสอบ O-net 51 วิชา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
 
การงานน
การงานนการงานน
การงานน
 
สุขะ 50
สุขะ 50สุขะ 50
สุขะ 50
 
พละ51
พละ51พละ51
พละ51
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
สุข 50
สุข 50สุข 50
สุข 50
 
....
........
....
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
April wellnesmag
April wellnesmagApril wellnesmag
April wellnesmag
 

Más de กมลรัตน์ ฉิมพาลี

Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษากมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Más de กมลรัตน์ ฉิมพาลี (20)

Classroom observation day1
Classroom observation day1Classroom observation day1
Classroom observation day1
 
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
Foldable interactive book สำหรับคำย่อในภาษาอังกฤษ
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบโอเน็ต นม6
 
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบเอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
เอกสารประกอบการอบรมวิเคราะห์ข้อสอบ
 
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
TPR card กิจกรรมสอนคำศัพท์วิทยาศาสตร์
 
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
ชีพจรและความดันชีววิทยากับการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา
 
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือดโครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
โครงการศึกษาและพัฒนากิจกรรมสะเต็มศึกษา เรื่องชีพจรและความดันเลือด
 
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
แกมจิ๊กซอกล้องจุลทรรศน์
 
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคมหลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
หลักฐานเอกสารการดำเนินงาน PLC โรงเรียนถนนหักพิทยาคม
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกลเล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
เล่มที่ 5 กิจกรรม STEM และมือกล
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังการเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
เทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืชเทคนิคการจำ Division พืช
เทคนิคการจำ Division พืช
 
เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1 เซลล์พืช 1
เซลล์พืช 1
 
เม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาวเม็ดเลือดขาว
เม็ดเลือดขาว
 
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศการออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
การออกแบบโปสเตอร์ รางวัลระดับประเทศ
 
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆPoster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
Poster the trash เพราะขยะไม่ใช่เรื่องเล่นๆ
 

แนวข้อสอบ Pisa

  • 1. By  KruPumBiO   คุณครูลองนําไปปรับนะคะ พันธุศาสตร 1. ครอบครัวหนึ่งมีพอเปนโรคมนุษยหมาปา แมปกติ ลูกชายแตงงานกับหญิงที่เปนโรค (heterozygous) ขอใดไมถูกตองเกี่ยวกับลูกของครอบครัวนี้ ก. ลูกชายทั้งหมดปกติ ข. ลูกสาวทั้งหมดเปนโรค ค. ลูกชายปกติ 50% เปนโรค 50% ง. ลูกสาวปกติ 50% เปนโรค 50% เฉลย โรคมนุษยหมาปา เปนยีนเดนบนโครโมโซม X ชาย ฟโนไทป หญิง ฟโนไทป XDY โรค XDXD โรค X dY ปกติ XDXd โรค X dX d ปกติ พอโรค แมปกติ XDY xx   X dX d XDXd XDXd Xxd  Y X dY XdY x x   XDXd ชายปกติ หญิงเปนโรค(heterozygous) XDXd d d XX D XY X dY หญิงโรค หญิงปกติ ชายโรค ชายปกติ
  • 2. 2   การออกขอสอบแนว PISA   การโคลนตัวออนมนุษย การทำโคลนนิ่ง นิวเคลียสของไขจะถูกดูดออกแลวแทนที่โดยการถายรหัสพันธุกรรม จากเซลลรางกายของผูให จากนั้นไขที่ไดรับการเปลี่ยนนิวเคลียสแลวจะถูกกระตุนใหแบงตัว และเจริญเติบโตเปนตัวออนได ตัวออนแตละตัวนั้นมีลักษณะทางพันธุกรรมเหมือนกับผูให ทุกประการ (1) ในตอนนี้นักวิทยาศาสตรชาวเกาหลีใตประสบความสําเร็จในการโคลนนิ่ง ตัวออนของมนุษยจํานวน 30 เซลล โดยการผสมรหัสพันธุกรรมจากเซลลปกติของรางกาย เขากับเซลลไขของผูบริจาคซึ่งเปนเพศหญิงโดยที่เซลลตัวออนที่ไดจากการโคลนนิ่ง จะเจริญเติบโตตอไปเพื่อที่จะสรางสเต็มเซลล (Stem cells) ซึ่งเซลลเหลานี้สามารถที่จะ แบงตัวสรางเนื้อเยื่อตางๆในรางกายของมนุษยได (2) (ปรับปรุงจาก:http://news.bbc.co.uk/ 2/hi/science/nature/3480921.stm) (1) จากขอความขางตนจัดเปน ................................... จงเขียนวงกลมลอมรอบ คําวา “กฎ” หรือ “หลักการ” หรือ “ขอเท็จจริง” หรือ “ความคิดเห็น”อยางใดอยางหนึ่ง กฎ หลักการ ขอเท็จจริง ความคิดเห็น (2) จากขอความขางตนจัดเปน ................................... จงเขียนวงกลมลอมรอบ คําวา “กฎ” หรือ “หลักการ” หรือ “ขอเท็จจริง” หรือ “ความคิดเห็น”อยางใดอยางหนึ่ง กฎ หลักการ ขอเท็จจริง ความคิดเห็น
  • 3. By  KruPumBiO   การสูบบุหรี่ทําลายกระดูกวัยรุนหญิง นักวิจัยคนพบวา วัยรุนหญิงที่สูบบุหรี่จะสูญเสียแรธาตุจากกระดูกมากกวาวัยรุนหญิงที่ไม สูบบุหรี่ โรคกระดุกพรุนคือการสูญเสียความหนาแนนของมวลกระดูก เนื่องจากแรแคลเซียม ในกระดูกลดลง ปกติกระดูกของคนจะมีการสราง และการสลายอยูตลอดเวลา ในเด็กจะมีการสราง มากกวาการสลาย ทําใหกระดูกของเด็กมีการเจริญเติบโต และแข็งแรงกระดูกจะใหญขึ้นจนกระทั่ง อายุ 30 ป กระดูกจะเริ่มมีการสลายมากกวาการสรางทําใหเนื้อกระดูกเริ่มลดลง โรคกระดูกพรุนนี้พบไดในสตรีมากกวาบุรุษ เพราะมวลกระดูกของสตรีมีนอยกวาของบุรุษ และเมื่อสตรีหมดประจําเดือนจะขาดฮอรโมนอีสโตรเจนที่ชวยทําใหแคลเซียมมาจับที่เนื้อกระดูก ลดลง ทําใหกระดูกบางลง ๆ หลังหมดประจําเดือน Lorah Dorn และเพื่อนรวมงาน เชิญอาสาสมัครในการทดลอง 262 คน ที่มีสุขภาพดี อายุระหวาง 11-17 ป ตอบคําถามเกี่ยวกับการบริโภคอาหารและการใชชีวิต 3 ปยอนหลัง จากนั้น นําไปตรวจมวลกระดูก พบวาวัยรุนหญิงที่สูบบุหรี่จะมีการเจริญของมวลกระดูก อยางชาๆและมวล กระดูกที่สะโพกลดลง ในขณะที่วัยรุนหญิงที่ไมสูบบุหรี่จะมีการเพิ่มมวลกระดูก และยังมีการพบวา ในอายุ 19 ป ที่สูบบุหรี่ทุกวันจะมีมวลกระดูกลดลงอยางรวดเร็ว Kenneth Ward นักจิตวิทยาสุขภาพคลีนิค เสนอแนวคิดวาผลการวิจัยนาจะใหผลเดียวกัน ในการวิจัยการสูบบุหรี่ของผูหญิงในวัยทํางานเพราะจากการศึกษางานวิจัยความหนาแนนของกระดูก ผูใหญพบวา “การสูบบุหรี่มีแนวโนมเพิ่มความเสี่ยงของการแตกหักกระดูกสันหลังโดยรอยละ 13 และกระดูกสะโพกหักรอยละ 31” (เขียนโดย Nathan Seppa วนที่ 5 ธันวาคม 2555 แหลงขอมูล http://www.sciencenews.org/ ั view/generic/id/346875/description/Smoking_hurts_teen_girls_bones) คําถามขอที่ 1 ขอใดสรุปไมถูกตอง 1. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงมีผลตอกระดูกสันหลัง 2. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงสงผลตอกระดูกมากกวาวัยรุนชาย 3. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงมีแนวโนมเสี่ยงตอโรคขอสะโพกเสื่อม 4. การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิงขัดขวางการสะสมแคลเซียมที่กระดูก เฉลยคําตอบ ขอ 4 เพราะเปนขอสรุปที่เกินจากขอมูลที่กําหนดให คะแนนเต็ม 1 คะแนน เกณฑการใหคะแนน ตอบไดถูก 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน
  • 4. 4   การออกขอสอบแนว PISA   คำถามขอที่ 2 จงวงกลมลอมรอบคําวา “เกี่ยวของ” หรือไมเกี่ยวของ” และใหเหตุผลในการวิเคราะห ขอมูล การวิเคราะหขอมูล “เกี่ยวของ” หรือ “ไมเกี่ยวของ” วิตามินดี เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ การเคลื่อนไหว เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ ชวงเวลาที่สูบบุหรี่ เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ การสะสมแคลเซียม เกี่ยวของ/ไมเกี่ยวของ เฉลยคำตอบ เกี่ยวของ, เกี่ยวของ, ไมเกี่ยวของ, เกี่ยวของ คะแนนเต็ม 1 คะแนน เกณฑการใหคะแนน ตองตอบถูกทั้ง 4 ขอ จึงจะได 1 คะแนน คําถามขอที่ 3 “บุหรี่จะสงผลตอกระดูกบริเวณสะโพก” จากขอความนี้ สามารถสรุปไดวา บุหรี่มีผลตออาการขอกระดูกสะโพกเสื่อมไดหรือไม 1. ได 2. ไมได 3. ไมแนใจ เหตุผล 1. เพราะขอกระดูกเสื่อมเกี่ยวของกับการสะสมแคลเซียม 2. เพราะกระดูกพรุนเปนปจจัยหลักของอาการกระดูกเสื่อม 3. เพราะอาการกระดูกหักอาจจะสงผลตอการเสื่อมของกระดูก 4. เพราะกระดูกพรุนเกิดขึ้นกับกระดูกแข็ง กระดูกเสื่อมเกิดขึ้นกับกระดูกออน 5. เพราะกระดูกบางเปนเพียงปจจัยหนึ่งที่คาดวาจะสงผลตออาการกระดูกเสื่อม 6. เพราะการเสื่อมของขอสะโพกเกี่ยวของอายุของกระดูกตามสภาพโครงสรางของรางกาย เฉลยคำตอบ ไมได เพราะ 2 (เหตุผลกระดูกเสื่อมเกิดที่กระดูกออนซึ่งสวนประกอบหลัก ของกระดูกออนคือน้ําและโปรตีน ที่จะทําใหกระดูกออนมีความยืดหยุน ทนตอแรงกระแทก และเสียดสี แตเมื่อใชไปนานๆ ก็จะเกิดการเสื่อมและสึกหรอ แตการสูบบุหรี่มีผลตอการสะสมมวล ของกระดูกแข็ง)
  • 5. By  KruPumBiO   คําถามขอที่ 4 การสูบบุหรี่ในวัยรุนหญิง นอกจากจะสงผลตอภาวะกระดูกพรุนแลว หากยังมี การสูบบุหรี่อยางตอเนื่อง ในที่สุดจะสงผลตอระบบกระดูกอยางไร เขียนคําตอบ........................................................................................................................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ . ระดับคะแนน ลักษณะของคําตอบ 0 ตอบนอกเหนือจากประเด็นที่กําหนด หรือไมตอบ 1 คําตอบอางถึง การสะสมแคลเซียมลดลง กระดูกบาง กระดูกหัก มวลกระดูกลดลงอยางรวดเร็ว แตไมอางถึงภาวะการเดินไมไดหรืออัมพาต 2 คําตอบอางถึงการเกิดผลกระทบที่กระดูกสะโพกและกระดูกสันหลังหัก ที่สงผลตออาการอัมพาตทําใหไมสามารถเคลื่อนไหวรางกายได