SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 21
สารสนเทศเพื่อ
ประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 ระบบการทางานในอดีตมีการใช้ระบบสารสนเทศช่วยจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพไม่แน่นอน
ไม่มีความสะดวก และมีคามยุ่งยากในการใช้งาน ปัจจุบันจึงได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามา
ในการจัดการระบบสารสนเทศในองค์กรมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบสารสนเทศเพื่อ
สนับสนุนการตัดสินใจ
 ระบบสารสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนการรวบรวม
บันทึก ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน
คบคุมการทางาน และช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ
ที่มา: ฝ่ ายวิจัยและฐานข้อมูล AREA
 ระบบสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการทางานในทุกด้าน แต่ละด้าน
สามารถแบ่งประเภทได้หลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้งานในด้านนั้นๆ เช่น ระบบ
สารสนเทศที่ใช้ส่งเสริมการทางานในด้านอุตสาหกรรม สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
ระบบสารสนเทศการจัดการวัตถุดิบและระบบสารสนเทศการจัดการผลผลิต อย่างไนก็
ตาม การใช้งานระบบสารสนเทศทุกประเภทจะต้องมีองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
(Component of Information System) ซึ่งองค์ประกอบ
ของระบบสารสนเทศทุกส่วนจะมีผลต่อประสิทธิภาพของการใช้งานระบบสารสนเทศนั้นๆ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศแบ่งเป็ น 5 ส่วน ดังนี้
 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผลหรือ
สร้างสาระสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ CPU เครื่องพิมพ์
2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานตามความ
ต้องการของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
3. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) คือ ข้อเท็จจริง
ต่างๆทั้งที่ผ่านการประมวลผลและยังไม่ผ่านการประมวลผล อยู่ในรูปของ ตัวเลข
ตัวอักษร รูปภาพ ฯลฯ
4. บุคลากร (Peopleware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น
4 ระดับคือ นักวิเคราะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ ายปฏิบัติงานเครื่อง และผู้ใช้
 5. กระบวนการทางาน (Procedure) คือ ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้
สารสนเทศ ตามที่ต้องการ เช่น การสมัครสมาชิก การเข้ารหัส ฯลฯ
5.1 การนาเข้า (Input) เป็นการนาข้อมูลและสารสนเทศต่างๆที่ได้จากการ
รวบรวมเข้าสู่ระบบ
5.2 การประมวลผล(Process) เป็นการนาข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตาม
เงื่อนไขที่กาหนดโดยการเรียงลาดับ การคานวณ ฯลฯ
5.3 การแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล
มาแสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อส่งเสริมหรือช่วยในการตัดสินใจ
5.4 การจัดเก็บ (Storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งหมดที่
เกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสารสนเทศสามารถนามาใช้ได้ใหม่ในอนาคต
แผนผังแสดงการใช้งาน DSS ปรับปรุงเครื่องจักร
 จากแผนผังแสดงการใช้งาน DSS ปรับปรุงเครื่องจักรจะเห็นว่า การตัดสินใจที่
ถูกต้องนั้นจะต้องอาศัยข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจาก DSS รวมกับการวิเคราะห์และ
ทัศนคติของเจ้าของกิจการนั่นคือ ไม่มีข้อมูลที่ได้จาก DSS จะมีประสิทธิภาพมาก
เพียงใดก็ตาม ผลของการตัดสินใจก็ยังขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์และทัศนคติของเจ้าของ
กิจการหรือผู้ใช้ระบบสารสนเทศนั้นๆ
2. ประโยชน์ของ DSS เนื่องจาก DSS ให้ความสาคัญกับการนาสารสนเทศไป
ประกอบการตัดสินใจเพื่อปฏิบัติงานในขั้นต่างๆของกระบวนการทางาน ซึ่งไม่ใช่การ
รวบรวมและการแสดงข้อมูลที่ใช้งานประจาวันทั่วๆไป ทาให้ DSS มีประโยชน์ดังนี้
 2.1 ช่วยประมวลผลและนาเสนอข้อมูลแก่ผู้ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ
กระบวนการทางานและเป็นแนวทางในการตัดสินใจ
2.2 ช่วยประเมินทางเลือกในการตัดสินใจภายใต้เงื่อนไขของปัญหาแต่ละ
สถานการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะของสถานการณ์นั้นๆ
2.3 ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนและข้อมูลที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
2.4 ช่วยสร้างความยืดหยุ่น ความสมบูรณ์ และความสะดวกในการตัดสินใจ
 2.5 ช่วยเพิ่มพัฒนาการและความเข้าใจในศักยภาพการทางานของเทคโนโลยี
สารสนเทศที่ครอบคลุมมากกว่าการปฏิบัติงานทั่วๆไป
2.6 ช่วยนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น ตัวอักษร แผนภูมิ ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย
2.7 ช่วยในการตัดสินใจที่ต้องการความรวดเร็วสูง ส่งเสริมการกาหนดกลยุทธ์ใน
การแข่งขันทางธุรกิจในองค์กรต่างๆ
2.8 ช่วยส่งเสริมการทางานร่วมกันของบุคลากรในองค์กรด้วยการโต้ตอบแบบ
ทันที (Interactive)
 3. ส่วนประกอบของ DSS จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการตัดสินใจ
โดยตรง กล่าวคือ ส่วนประกอบที่ดีจะทาให้เกิดกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ
น่าเชื่อถือ แต่ถ้าส่วนประกอบไม่ดีก็จะทาให้กระบวนการทางานขาดประสิทธิภาพ
ส่วนประกอบของ DSS แบ่งเป็น 4 ส่วน
3.1 อุปกรณ์ เป็นส่วนประกอบที่รวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์
แบ่งตามบทบาทและหน้าที่ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
 – อุปกรณ์ประมวลผล ปัจจุบัน DSS สามารถใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ส่วน
บุคคลหรือพีซี
(PC : Personal Computer) ที่มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท DSS โดยเฉพาะหรือ
ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์พื้นฐานประเภท ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ
(Spreadsheet) หรือ ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล
(Database) ก็ได้
 – อุปกรณ์สื่อสาร เป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมการทางาน
ระยะไกลและการทางานเป็นกลุ่ม โดยเครือข่ายที่นิยมใช้ คือ เครือข่ายแลน (LAN :
Local Area Network) สาหรับองค์กรขนาดเล็กและเครือข่ายแมน
(MAN : Metropolitan Area Network) สาหรับองค์กร
ขนาดเล็ก ทาให้ต้องติดตั้งวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ (Video Conference)
เพิ่มในระบบเพื่อช่วยในการประชุมทางไกล (Teleconference) ของผู้ใช้งาน
– อุปกรณ์แสดงผล การใช้งาน DSSจาเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผลที่มีประสิทธิภาพ
และตอบสนองต่อรูปแบบของข้อมูลนั้นๆ เพื่อช่วยถ่ายทอดข้อมูลและสารสนเทศที่ชัดเจน
เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ที่มีความละเอียดสูงและสามารถแสดงผลในรูปแบบของมัลติมีเดีย
3.2 ระบบการทางานของ DSS มีลักษณะเป็นชุดคาสั่งเฉพาะที่สร้างและพัฒนาขึ้นใน
รูปแบบที่เตกต่างกันตามลักษณะขององค์กร แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
 – ฐานข้อมูล (Database) เป็นการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศเฉพาะการ
ทางานของ DSS ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยในการแสดงผล ณ
ขณะนั้นของระบบ
– ฐานแบบจาลอง (Model Base) เป็นการรวบรวมแบบจาลองทาง
คณิตศาสตร์และแบบจาลองการวิเคราะห์ปัญหาของระบบเพื่อช่วยในการประมวลผล
ข้อมูล
– ระบบชุดคาสั่ง (Software System) เป็นส่วนประกอบที่ช่วย
อานวยความสะดวกในการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้ฐานข้อมูล และฐานแบบจาลอง มักมี
รูปแบบของระบบชุดคาสั่งในลักษณะของหน้าต่างโปรแกรม
 3.3 ข้อมูล เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการทางานด้วย DSS โดย DSS จะ
เก็บข้อมูลไว้ที่ฐานข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผลในฐานแบบจาลองแล้วนาเสนอด้วยระบบ
ชุดคาสั่ง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะต้องมีปริมาณเพียงพอต่อการใช้งาน มีความถูกต้อง
ทันสมัย มีความยืดหยุ่น และสามารถนามาจัดและนาเสนอในรูปแบบเพื่อการวิเคราะห์ได้อย่าง
เหมาะสม
3.4 บุคลากร เป็นส่วนประกอบที่มีบทบาทต่อการกาหนดเป้าหมายและความต้องการ
การพัฒนา การออกแบบ และการใช้งาน DSS ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
– ผู้ใช้ (End – User) เป็นผู้นาเข้าข้อมูลและรับข้อมูลจาก DSS โดยไม่
เกี่ยวข้องกับการประมวลผลโดยตรงของระบบสารสนเทศ
– ผู้สนับสนุนระบบสารสนเทศ (DSS Support) เป็นผู้ควบคุม ดูแลรักษา
อุปกรณ์ และระบบการทางานให้มีความสมบูรณ์และสามารถประมวลผลได้เต็มประสิทธิภาพ
ตามความต้องการของผู้ใช้
ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 ระบบสารสนเทศที่ดีจะช่วยให้ผู้ใช้ในทุกระดับขององค์กรตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง ประเภท
ของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบ่งตามผู้ใช้งานเป็น 2 ประเภท คือระบบ
สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลและระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ
ตัดสินใจแบบกลุ่ม
บุคคล
แบบกลุ่ม
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล
 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล เป็นระบบสารสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้
ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอานาจในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศประเภท
นี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ระบบสารสนเทศของผู้บริหาร หรือ (EIS) (Executive
Information System ) ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการ
วิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ ส่วนใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบของ
รายงาน ตารางและกราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้เข้าใจง่ายและประหยัดเวลา เช่น บริษัทแห่ง
หนึ่งต้องการเปิดสาขาเพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ผู้บริหารจึงนาเข้าข้อมูลต่างๆ ของ
บริษัทไว้ในฐานข้อมูลของ EIS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้
 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล เป็นระบบสารสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้
ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอานาจในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศ
ประเภทนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ระบบสารสนเทศของผู้บริหาร หรือ (EIS)
(Executive Information System ) ซึ่งเป็นระบบ
สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ ส่วน
ใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบของรายงาน ตารางและกราฟ เพื่อสรุป
สารสนเทศให้เข้าใจง่ายและประหยัดเวลา เช่น บริษัทแห่งหนึ่งต้องการเปิดสาขาเพื่อ
จาหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ผู้บริหารจึงนาเข้าข้อมูลต่างๆ ของบริษัทไว้ในฐานข้อมูล
ของ EIS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้
ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม
 ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่มหรือ GDSS (group decision
support system) เป็นระบบสารสนเทศที่พฒนามาจากระบบสารสนเทศสนบสนุนการ
ตัดสินใจของบุคคลเรื่องจากการทางานภายในองค์กรมักใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ใช้ที่มีจานวนมากกว่า
1 คนในการตัดสินใจการแก้ปัญหา ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือในผลการตัดสินใจนั้น ๆ
การนา GDSS มาใช้ในองค์กรจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะการทางานจากการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้
ที่ผู้ใช้คนใดคนหนึ่งมาเก็บรวบรวมไว้ในระบบฐานข้อมูล บุคลากรทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการแสดง
ความคิดเห็นและส่งเสริมการตัดสินใจขององค์กร ตัวอย่างการใช้งาน GDSS เช่น บริษัทแห่งหนึ่ง
ต้องการปรับเปลี่ยนเวลาทางานของพนักงานบริษัท จึงมีการรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นของพนักงาน
ทุกคนไว้ในฐานข้อมูลของ GDSS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้ จากนั้นผู้บริหารหลาย ๆ
ฝ่ ายร่วมกันตัดสินใจว่าควรจะดาเนินการอย่างไร
 แผนผังแสดงการใช้งาน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลาการทางานของพนักงาน
 จากแผนผังแสดงการใช้งาน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลาการทางานของพนักงานจะเห็นได้ว่า
ผู้ใช้ GDSS มีจานานมากกว่า 1 คน ดังนั้น GDSS จึงต้องทางานบนเครือข่าย
คอมพิวเตอร์และมีอุปกรณ์ส่งเสริมการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มติดตั้งเพิ่มขึ้นในระบบสารสนเทศ
GDSS ทาให้เกิดประโยชน์ดังนี้
 1. เกิดความร่วมมือกันภายในองค์กรมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทุกคนในองค์กรสามารถแสดงความ
คิดเห็นหรือนาข้อมูลใน GDSS ได้
 2. ลดอคติต่อแหล่งที่มาของข้อมูลและช่วยกระตุ้นความคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจากผู้แสดงความ
คิดเห็นผ่านทาง GDSS ไม่จาเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง
 3. ลดปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจาก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลเดียว
เท่านั้น ข้อมูลที่นาเสนอไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน
 4. เพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของผลการตัดสินใจ เนื่องจากเป็นผลการตัดสินใจจากผู้ใช้
หลายคน
 ปัจจุบันมีการนา GDSS มาใช้งานอย่างหลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การประชุมทางไกล การ
สอบถามความคิดเห็น การลงคะแนนเสียง

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยThanawat Spdf Wongnang
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramrubtumproject.com
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพRapeepan Thawornwanchai
 
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google SitesDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มBenjamas Kamma
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1sasi SAsi
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfssuser3892ca
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศการสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศNittaya Wongyai
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)Khon Kaen University
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007KruJeabja
 

La actualidad más candente (20)

สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทยการเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
การเขียนรายงานโครงงานการใช้โปรแกรม Gsp ออกแบบลายไทย
 
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagramตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
ตัวอย่างงานบทที่ 3 DFD Diagram
 
5
55
5
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพแนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
แนวทางการพัฒนาซอฟต์แวร์คุณภาพ
 
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sitesการสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
การสร้างเว็บไซต์คลังความรู้ดิจิทัลด้วย Google Sites
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
ความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่ม
 
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอสื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
 
ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1ใบงาน หน่วยที่ 1
ใบงาน หน่วยที่ 1
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
mind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdfmind map สถิติศาสตร์.pdf
mind map สถิติศาสตร์.pdf
 
Digital economy plan
Digital economy plan Digital economy plan
Digital economy plan
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
การสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศการสืบค้นสารสนเทศ
การสืบค้นสารสนเทศ
 
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
แผนการเรียนรู้ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
 

Similar a ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจAssumption College Rayong
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจOtorito
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินKritsakorn Niyomthai
 
เรื่อง ระบบสารสนเทศ
เรื่อง ระบบสารสนเทศเรื่อง ระบบสารสนเทศ
เรื่อง ระบบสารสนเทศKasamesak Posing
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศDuangsuwun Lasadang
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ohmchen
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
วิชาคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์วิชาคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์surinporn
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจtee tee
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1nutty_npk
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Look-wa Airin
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ幽 霊
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศTimmy Printhong
 

Similar a ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ (20)

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
 
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสิน
 
เรื่อง ระบบสารสนเทศ
เรื่อง ระบบสารสนเทศเรื่อง ระบบสารสนเทศ
เรื่อง ระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ เรื่อง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ม.5/9
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
วิชาคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์วิชาคอมพิวเตอร์
วิชาคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
Dss pp
Dss ppDss pp
Dss pp
 
1
11
1
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 1-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ

  • 2. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ  ระบบการทางานในอดีตมีการใช้ระบบสารสนเทศช่วยจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพไม่แน่นอน ไม่มีความสะดวก และมีคามยุ่งยากในการใช้งาน ปัจจุบันจึงได้มีการนาคอมพิวเตอร์เข้ามา ในการจัดการระบบสารสนเทศในองค์กรมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบสารสนเทศเพื่อ สนับสนุนการตัดสินใจ  ระบบสารสนเทศ (Information Systems) คือ กระบวนการรวบรวม บันทึก ประมวลผลข้อมูลให้เป็นสารสนเทศ และแจกจ่ายสารสนเทศเพื่อใช้ในการวางแผน คบคุมการทางาน และช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ
  • 3. ที่มา: ฝ่ ายวิจัยและฐานข้อมูล AREA  ระบบสารสนเทศสามารถนามาประยุกต์ใช้เพื่อส่งเสริมการทางานในทุกด้าน แต่ละด้าน สามารถแบ่งประเภทได้หลายรูปแบบตามความต้องการของผู้ใช้งานในด้านนั้นๆ เช่น ระบบ สารสนเทศที่ใช้ส่งเสริมการทางานในด้านอุตสาหกรรม สามารถแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ระบบสารสนเทศการจัดการวัตถุดิบและระบบสารสนเทศการจัดการผลผลิต อย่างไนก็ ตาม การใช้งานระบบสารสนเทศทุกประเภทจะต้องมีองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ (Component of Information System) ซึ่งองค์ประกอบ ของระบบสารสนเทศทุกส่วนจะมีผลต่อประสิทธิภาพของการใช้งานระบบสารสนเทศนั้นๆ
  • 4. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศแบ่งเป็ น 5 ส่วน ดังนี้  1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) คือ อุปกรณ์อิเล็กโทรนิกส์ที่ใช้ประมวลผลหรือ สร้างสาระสนเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ CPU เครื่องพิมพ์ 2. ซอฟต์แวร์ (Software) คือ ชุดคาสั่งที่ทาให้คอมพิวเตอร์ทางานตามความ ต้องการของผู้ใช้ระบบสารสนเทศ 3. ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) คือ ข้อเท็จจริง ต่างๆทั้งที่ผ่านการประมวลผลและยังไม่ผ่านการประมวลผล อยู่ในรูปของ ตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ ฯลฯ 4. บุคลากร (Peopleware) คือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 4 ระดับคือ นักวิเคราะห์ระบบ โปรแกรมเมอร์ เจ้าหน้าที่ฝ่ ายปฏิบัติงานเครื่อง และผู้ใช้
  • 5.  5. กระบวนการทางาน (Procedure) คือ ขั้นตอนการทางานเพื่อให้ได้ สารสนเทศ ตามที่ต้องการ เช่น การสมัครสมาชิก การเข้ารหัส ฯลฯ 5.1 การนาเข้า (Input) เป็นการนาข้อมูลและสารสนเทศต่างๆที่ได้จากการ รวบรวมเข้าสู่ระบบ 5.2 การประมวลผล(Process) เป็นการนาข้อมูลที่ได้ไปประมวลผลตาม เงื่อนไขที่กาหนดโดยการเรียงลาดับ การคานวณ ฯลฯ 5.3 การแสดงผล (Output) เป็นการนาผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผล มาแสดงในรูปแบบที่ผู้ใช้ต้องการเพื่อส่งเสริมหรือช่วยในการตัดสินใจ 5.4 การจัดเก็บ (Storage) เป็นการจัดเก็บข้อมูลหรือสารสนเทศทั้งหมดที่ เกี่ยวกับระบบสารสนเทศเพื่อให้ผู้ใช้ระบบสารสนเทศสามารถนามาใช้ได้ใหม่ในอนาคต
  • 6. แผนผังแสดงการใช้งาน DSS ปรับปรุงเครื่องจักร  จากแผนผังแสดงการใช้งาน DSS ปรับปรุงเครื่องจักรจะเห็นว่า การตัดสินใจที่ ถูกต้องนั้นจะต้องอาศัยข้อมูลที่มีประสิทธิภาพจาก DSS รวมกับการวิเคราะห์และ ทัศนคติของเจ้าของกิจการนั่นคือ ไม่มีข้อมูลที่ได้จาก DSS จะมีประสิทธิภาพมาก เพียงใดก็ตาม ผลของการตัดสินใจก็ยังขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์และทัศนคติของเจ้าของ กิจการหรือผู้ใช้ระบบสารสนเทศนั้นๆ 2. ประโยชน์ของ DSS เนื่องจาก DSS ให้ความสาคัญกับการนาสารสนเทศไป ประกอบการตัดสินใจเพื่อปฏิบัติงานในขั้นต่างๆของกระบวนการทางาน ซึ่งไม่ใช่การ รวบรวมและการแสดงข้อมูลที่ใช้งานประจาวันทั่วๆไป ทาให้ DSS มีประโยชน์ดังนี้
  • 7.  2.1 ช่วยประมวลผลและนาเสนอข้อมูลแก่ผู้ใช้เพื่อสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับ กระบวนการทางานและเป็นแนวทางในการตัดสินใจ 2.2 ช่วยประเมินทางเลือกในการตัดสินใจภายใต้เงื่อนไขของปัญหาแต่ละ สถานการณ์ที่มีลักษณะเฉพาะของสถานการณ์นั้นๆ 2.3 ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจในปัญหาที่มีความสลับซับซ้อนและข้อมูลที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา 2.4 ช่วยสร้างความยืดหยุ่น ความสมบูรณ์ และความสะดวกในการตัดสินใจ
  • 8.  2.5 ช่วยเพิ่มพัฒนาการและความเข้าใจในศักยภาพการทางานของเทคโนโลยี สารสนเทศที่ครอบคลุมมากกว่าการปฏิบัติงานทั่วๆไป 2.6 ช่วยนาเสนอข้อมูลในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น ตัวอักษร แผนภูมิ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว มัลติมีเดีย 2.7 ช่วยในการตัดสินใจที่ต้องการความรวดเร็วสูง ส่งเสริมการกาหนดกลยุทธ์ใน การแข่งขันทางธุรกิจในองค์กรต่างๆ 2.8 ช่วยส่งเสริมการทางานร่วมกันของบุคลากรในองค์กรด้วยการโต้ตอบแบบ ทันที (Interactive)
  • 9.  3. ส่วนประกอบของ DSS จะมีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการตัดสินใจ โดยตรง กล่าวคือ ส่วนประกอบที่ดีจะทาให้เกิดกระบวนการทางานที่มีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ แต่ถ้าส่วนประกอบไม่ดีก็จะทาให้กระบวนการทางานขาดประสิทธิภาพ ส่วนประกอบของ DSS แบ่งเป็น 4 ส่วน 3.1 อุปกรณ์ เป็นส่วนประกอบที่รวมฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ของคอมพิวเตอร์ แบ่งตามบทบาทและหน้าที่ได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
  • 10.  – อุปกรณ์ประมวลผล ปัจจุบัน DSS สามารถใช้งานด้วยคอมพิวเตอร์ส่วน บุคคลหรือพีซี (PC : Personal Computer) ที่มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่าย คอมพิวเตอร์ซึ่งสามารถติดตั้งซอฟต์แวร์ประเภท DSS โดยเฉพาะหรือ ประยุกต์ใช้ซอฟต์แวร์พื้นฐานประเภท ซอฟต์แวร์ตารางคานวณ (Spreadsheet) หรือ ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (Database) ก็ได้
  • 11.  – อุปกรณ์สื่อสาร เป็นการใช้ประโยชน์จากเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อส่งเสริมการทางาน ระยะไกลและการทางานเป็นกลุ่ม โดยเครือข่ายที่นิยมใช้ คือ เครือข่ายแลน (LAN : Local Area Network) สาหรับองค์กรขนาดเล็กและเครือข่ายแมน (MAN : Metropolitan Area Network) สาหรับองค์กร ขนาดเล็ก ทาให้ต้องติดตั้งวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ (Video Conference) เพิ่มในระบบเพื่อช่วยในการประชุมทางไกล (Teleconference) ของผู้ใช้งาน – อุปกรณ์แสดงผล การใช้งาน DSSจาเป็นต้องมีอุปกรณ์แสดงผลที่มีประสิทธิภาพ และตอบสนองต่อรูปแบบของข้อมูลนั้นๆ เพื่อช่วยถ่ายทอดข้อมูลและสารสนเทศที่ชัดเจน เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ที่มีความละเอียดสูงและสามารถแสดงผลในรูปแบบของมัลติมีเดีย 3.2 ระบบการทางานของ DSS มีลักษณะเป็นชุดคาสั่งเฉพาะที่สร้างและพัฒนาขึ้นใน รูปแบบที่เตกต่างกันตามลักษณะขององค์กร แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
  • 12.  – ฐานข้อมูล (Database) เป็นการจัดเก็บข้อมูลและสารสนเทศเฉพาะการ ทางานของ DSS ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งจะช่วยในการแสดงผล ณ ขณะนั้นของระบบ – ฐานแบบจาลอง (Model Base) เป็นการรวบรวมแบบจาลองทาง คณิตศาสตร์และแบบจาลองการวิเคราะห์ปัญหาของระบบเพื่อช่วยในการประมวลผล ข้อมูล – ระบบชุดคาสั่ง (Software System) เป็นส่วนประกอบที่ช่วย อานวยความสะดวกในการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้ฐานข้อมูล และฐานแบบจาลอง มักมี รูปแบบของระบบชุดคาสั่งในลักษณะของหน้าต่างโปรแกรม
  • 13.  3.3 ข้อมูล เป็นองค์ประกอบพื้นฐานของการทางานด้วย DSS โดย DSS จะ เก็บข้อมูลไว้ที่ฐานข้อมูลเพื่อนาไปประมวลผลในฐานแบบจาลองแล้วนาเสนอด้วยระบบ ชุดคาสั่ง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวจะต้องมีปริมาณเพียงพอต่อการใช้งาน มีความถูกต้อง ทันสมัย มีความยืดหยุ่น และสามารถนามาจัดและนาเสนอในรูปแบบเพื่อการวิเคราะห์ได้อย่าง เหมาะสม 3.4 บุคลากร เป็นส่วนประกอบที่มีบทบาทต่อการกาหนดเป้าหมายและความต้องการ การพัฒนา การออกแบบ และการใช้งาน DSS ซึ่งแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ – ผู้ใช้ (End – User) เป็นผู้นาเข้าข้อมูลและรับข้อมูลจาก DSS โดยไม่ เกี่ยวข้องกับการประมวลผลโดยตรงของระบบสารสนเทศ – ผู้สนับสนุนระบบสารสนเทศ (DSS Support) เป็นผู้ควบคุม ดูแลรักษา อุปกรณ์ และระบบการทางานให้มีความสมบูรณ์และสามารถประมวลผลได้เต็มประสิทธิภาพ ตามความต้องการของผู้ใช้
  • 14. ประเภทของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ  ระบบสารสนเทศที่ดีจะช่วยให้ผู้ใช้ในทุกระดับขององค์กรตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง ประเภท ของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจแบ่งตามผู้ใช้งานเป็น 2 ประเภท คือระบบ สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคลและระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการ ตัดสินใจแบบกลุ่ม
  • 17. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล  ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล เป็นระบบสารสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้ ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอานาจในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศประเภท นี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ระบบสารสนเทศของผู้บริหาร หรือ (EIS) (Executive Information System ) ซึ่งเป็นระบบสารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการ วิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ ส่วนใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบของ รายงาน ตารางและกราฟ เพื่อสรุปสารสนเทศให้เข้าใจง่ายและประหยัดเวลา เช่น บริษัทแห่ง หนึ่งต้องการเปิดสาขาเพื่อจาหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ผู้บริหารจึงนาเข้าข้อมูลต่างๆ ของ บริษัทไว้ในฐานข้อมูลของ EIS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้
  • 18.  ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจของบุคคล เป็นระบบสารสนเทศที่มีผู้ใช้หรือผู้ ตัดสินใจเพียงคนเดียว ดังนั้นผู้ใช้จึงต้องมีอานาจในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศ ประเภทนี้มีอีกชื่อหนึ่งว่า ระบบสารสนเทศของผู้บริหาร หรือ (EIS) (Executive Information System ) ซึ่งเป็นระบบ สารสนเทศที่ช่วยสนับสนุนการวิเคราะห์ปัญหา ศึกษาแนวโน้มของเรื่องที่สนใจ ส่วน ใหญ่จะนาเสนอสารสนเทศในรูปแบบของรายงาน ตารางและกราฟ เพื่อสรุป สารสนเทศให้เข้าใจง่ายและประหยัดเวลา เช่น บริษัทแห่งหนึ่งต้องการเปิดสาขาเพื่อ จาหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น ผู้บริหารจึงนาเข้าข้อมูลต่างๆ ของบริษัทไว้ในฐานข้อมูล ของ EIS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้
  • 19. ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่ม  ระบบสารสนเทศสนับสนุนการตัดสินใจแบบกลุ่มหรือ GDSS (group decision support system) เป็นระบบสารสนเทศที่พฒนามาจากระบบสารสนเทศสนบสนุนการ ตัดสินใจของบุคคลเรื่องจากการทางานภายในองค์กรมักใช้การวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ใช้ที่มีจานวนมากกว่า 1 คนในการตัดสินใจการแก้ปัญหา ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือในผลการตัดสินใจนั้น ๆ การนา GDSS มาใช้ในองค์กรจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงลักษณะการทางานจากการเก็บรวบรวมข้อมูลไว้ ที่ผู้ใช้คนใดคนหนึ่งมาเก็บรวบรวมไว้ในระบบฐานข้อมูล บุคลากรทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วมในการแสดง ความคิดเห็นและส่งเสริมการตัดสินใจขององค์กร ตัวอย่างการใช้งาน GDSS เช่น บริษัทแห่งหนึ่ง ต้องการปรับเปลี่ยนเวลาทางานของพนักงานบริษัท จึงมีการรวบรวมข้อมูลและความคิดเห็นของพนักงาน ทุกคนไว้ในฐานข้อมูลของ GDSS เพื่อประมวลผลตามแบบจาลองที่สร้างไว้ จากนั้นผู้บริหารหลาย ๆ ฝ่ ายร่วมกันตัดสินใจว่าควรจะดาเนินการอย่างไร  แผนผังแสดงการใช้งาน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลาการทางานของพนักงาน
  • 20.
  • 21.  จากแผนผังแสดงการใช้งาน GDSS เพื่อปรับเปลี่ยนเวลาการทางานของพนักงานจะเห็นได้ว่า ผู้ใช้ GDSS มีจานานมากกว่า 1 คน ดังนั้น GDSS จึงต้องทางานบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์และมีอุปกรณ์ส่งเสริมการทางานร่วมกันเป็นกลุ่มติดตั้งเพิ่มขึ้นในระบบสารสนเทศ GDSS ทาให้เกิดประโยชน์ดังนี้  1. เกิดความร่วมมือกันภายในองค์กรมากยิ่งขึ้น เนื่องจากทุกคนในองค์กรสามารถแสดงความ คิดเห็นหรือนาข้อมูลใน GDSS ได้  2. ลดอคติต่อแหล่งที่มาของข้อมูลและช่วยกระตุ้นความคิดเห็นใหม่ ๆ เนื่องจากผู้แสดงความ คิดเห็นผ่านทาง GDSS ไม่จาเป็นต้องแสดงข้อมูลของตนเอง  3. ลดปัญหาความขัดแย้งของข้อมูล เนื่องจาก GDSS จะรวบรวมข้อมูลจากฐานข้อมูลเดียว เท่านั้น ข้อมูลที่นาเสนอไปยังผู้ใช้ทุกคนจึงเป็นข้อมูลเดียวกัน  4. เพิ่มประสิทธิภาพและความน่าเชื่อถือของผลการตัดสินใจ เนื่องจากเป็นผลการตัดสินใจจากผู้ใช้ หลายคน  ปัจจุบันมีการนา GDSS มาใช้งานอย่างหลากหลายมากยิ่งขึ้น เช่น การประชุมทางไกล การ สอบถามความคิดเห็น การลงคะแนนเสียง