SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 8
Descargar para leer sin conexión
หากเรามีอาการ จาม คันจมูก คันตา คันหูและลาคอ ตาแดง มีน้ ามูกใส ๆ ไหลออกมาบ่อย ๆ รู ้สึกจมูก
                               ตัน และมีน้ าตาไหล นอกจากนี้โรคภูมิแพ้อาจทาให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดศรี ษะ และปวด
                               บริ เวณคาง และหน้าผาก อาการเหล่านี ้คืออาการภูมิแพ้ เกิดจากระบบภูมิค้ มกันของร่างกายตอบสนองต่อสาร
                                                                                                          ุ
                               ทัวไปที่เป็ นสารอันตราย จึงกระตุ้นให้ เซลล์ปล่อยสารฮิสทามีน ทาให้ จาม หายใจขัดมีผื่นคัน อาเจียน บางครัง
                                 ่                                                                                                   ้
                               รุนแรงถึงขันช็อก หมดสติ ถูกปิ ดกันทางเดินอากาศหายใจจนทาให้ หวใจหยุดทางานได้ สารก่อภูมิแพ้ เช่น
                                            ้                          ้                                ั
                               อาหาร ละอองเกสรสารเคมี ความเครี ยด สัตว์ พักผ่อนไม่เพียงพอ การทานอาหารที่หลากหลายครบทุกหมู่
                               จะช่วยบรรเทาอาการภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ส่วนใหญ่เมื่อหลีกเลี่ยงจากสิ่ งที่แพ้ และรับประทานยาแก้แพ้ก็จะสามารถ
                               ควบคุมอาการของโรคภูมิแพ้ได้ การรักษาโรคภูมิแพ้เบื้องต้นสาหรับผูที่มีอาการคัดจมูกมากอาจจะต้องให้ยาลด
                                                                                                      ้
                               อาการคัดจมูก ( Decongestant) สาหรับผูท่ีมีอาการเรื้ อรังอาจจะต้องใช้ยาหยอดจมูก steroid
                                                                         ้




โรคภูมแพ้ คือโรคที่เกิดจากการที่ร่างกายมีการตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติไวผิดปกติ ทั้งที่คนทัวไปไม่เกิดอาการผิดปกติเมื่อสัมผัส
      ิ                                                                                         ่
สารต่างๆเหล่านั้น สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายได้หลายทางทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆซึ่งมีอาการแตกต่างกันดังนี้

     สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางเดินหายใจ ตั้งแต่ จมูก คอ หลอดลมลงไปถึงปอด ทาให้เกิดอาการเป็ นหวัด คัดจมูก น้ ามูกไหล จาม
      เรี ยกว่าโรคแพ้อากาศ ผูป่วยจะมีอาการคันคอ เจ็บคอ ไอมาก หากมีอาการหลอดลมตีบตัน หายใจลาบากเรี ยกว่าโรคหอบหื ด
                               ้
     สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางผิวหนัง ทาให้เกิดผื่นคันอักเสบ เป็ นลมพิษ มีน้ าเหลืองไหล เป็ นตุ่มพุพองที่ผวหนัง เรี ยกว่า “โรคผื่น
                                                                                                                   ิ
      แพ้”
     สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางเดินอาหาร ทาให้เกิดอาการคันปาก คันคอ มีผื่นคันที่ผวหนัง เป็ นลมพิษ ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสี ย
                                                                                             ิ
                  ่
      อาหารไม่ยอย คลื่นไส้ อาเจียน มีแผลร้อนในในปาก เรี ยกว่า “โรคแพ้อาหาร”
     สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางตา ทาให้คนตา แสบตา ตาแดง น้ าตาไหล ตาสูแสงไม่ได้ เยือบุตาแดงบวมและอักเสบ เรี ยก “โรคภูมิแพ้
                                                ั                                 ้            ่
      ที่ตา”
โรคภูมิแพ้สามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ถ้าพ่อหรื อแม่เป็ นโรคภูมิแพ้ ลูกจะมีโอกาสเป็ นโรคภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้น          เมื่อได้รับสาร
แปลกปลอม ซึ่งเป็ นสารก่อภูมิแพ้ เข้ามาในร่ างกายต่อเนื่องกันเป็ นเวลานานๆ จนกระทังร่ างกายเกิดปฏิกิริยา มีการสร้างภูมิคุมกันต่อสารชนิดนั้น
                                                                                 ่                                      ้
เมื่อเราได้รับสารก่อภูมิแพ้น้ นเข้าไปอีก ก็จะเกิดปฎิกิริยาภูมิแพ้
                              ั

                                                                                                                   ่
          การติดเชื้อซ้ าซากยาวนาน ทั้งที่เกิดจากแบคทีเรี ย ไวรัส ยีสต์ หรื อพยาธิ หรื อปั จจัยภายนอกใดๆ ที่คงอยูในตัวเรา หรื อสัมผัสกับร่ างกาย
เรา โดยที่ร่างกายไม่สามารถกาจัดออกได้หมด เป็ นเวลาต่อเนื่องกันนาน จะกระตุนปฏิกิริยาภูมิคุมกัน ให้ผลิตภูมิคุมกันชนิดกว้างและมีความเจาะจง
                                                                                ้               ้              ้
น้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ตอสารต่างๆ มากขึ้นเรื่ อยๆ กลายเป็ นคนแพ้สิ่งต่างๆได้ง่ายและบางครั้งมีภูมิคุมกันที่ต่อต้านเนื้อเยือของตนเอง
                                      ่                                                                          ้                     ่
เกิดขึ้น กลายเป็ นโรคภูมิคุมกันทาลายตนเอง
                           ้

            อาการภูมิแพ้ ที่เป็ นเฉพาะเวลาร่ างกายประสบกับภาวะเครี ยดทั้งทางร่ างกายหรื อทางจิตใจก็ตาม เนื่องจากความเครี ยดจะเผาผลาญพลังงาน
ในร่ างกายด้วยการกระตุนต่อมไร้ท่อต่างๆ เมื่อเวลาผ่านไป ระบบป้ องกันตนเองของร่ างกายจะค่อยๆ อ่อนแอลงไป ร่ างกายเกิดการตอบสนองต่อ
                          ้
สิ่ งกระตุน ด้วยการเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ตอฝุ่ นละออง และสารต่างๆ ในชีวตประจาวัน ทาให้เกิดอาการอ่อนเพลีย มีเสมหะแห้งๆ ในคอตลอดเวลา
          ้                               ่                              ิ
น้ ามูก มึนงง ไม่สดชื่น ฯลฯ




      Th 1 เป็ นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สร้างสารต่อต้านเชื้อโรค เช่น สารอินเตอเฟอรอนแกมม่า
      Th 2 2 เป็ นเซลล์ที่สร้างสารเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ เช่น อินเตอร์ลิวคีน 5

ร่ างกายของคนเราต้องใช้เซลล์ท้ ง 2 ชนิดอย่างสมดุลจึงจะมีสุขภาพที่สมดุลแข็งแรง แต่สภาพการเลี้ยงดูบุตรหลานในยุคปั จจุบนไม่ค่อยได้อยูตาม
                               ั                                                                                    ั             ่
ธรรมชาติ เช่น

      อาบแต่น้ าอุน
                   ่
      นอนแต่ในห้องแอร์
      ไม่ได้สมผัสธรรมชาติที่เป็ นของจริ ง เช่น ธาตุดิน ธาตุน้ า ธาตุลม ธาตุไฟ
              ั

เด็กจึงไม่มีโอกาสสัมผัสเชื้อแบคทีเรี ยหรื อเชื้อไวรัสตามธรรมชาติ พอเป็ นไข้ไม่สบายก็รีบพาลูกไปหาหมอกินยาปฏิชีวนะ ยาลดน้ ามูก ยาลดไข้ ไว้
ตลอดโดยที่ภูมิตานทานที่แท้จริ งของตนเองไม่เคยได้ใช้งานต่อสูเ้ ชื้อโรคเลย ทาให้ร่างกายขาดเซลล์ Th 1 มีแต่เซลล์ Th 2 ซึ่งเป็ นตัวการคอยกระตุน
                ้                                                                                                                         ้
ให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดขาวชื่อ อีโอซิโนฟิ ลล์ สาร IgE ที่เมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ก็จะเกิดการหลังสารฮีสตามีนซึ่งทาให้เกิดอาการผิดปกติ
                                                                                                    ่
ต่างๆ
   โรคภูมแพ้ชนิดเป็ นตามฤดูกาล จะมีอาการเป็ นช่วง ๆ ของปี ขึ้นอยูกบช่วงที่สารก่อภูมิแพ้ถูกผลิตออกมา สารก่อภูมิแพ้ในกรณีน้ ี
          ิ                                                       ่ ั
    เช่น ละอองเกสรดอกไม้ ฟางข้างต่าง ๆ
   โรคภูมแพ้ชนิดเป็ นตลอดปี คนไข้จะมีอาการตลอดทั้งปี เนื่องจากคนไข้จะสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ตลอดเวลา ทาให้มีอาการแบบ
          ิ
                                         ั
    เรื้ อรัง สารก่อภูมิแพ้ที่ทาให้คนแพ้กนมาก คือ ไรฝุ่ นในบ้าน เชื้อรา ขนสัตว์เลี้ยง เป็ นต้น




     ล้างจมูกด้วยน้ าเกลืออุ่นๆ
     ดื่มน้ าร้อนครั้งละ10-15 นาทีวนละ 2-4 ครั้ง
                                      ั
     พื้นห้องควรเป็ นพื้นขัดมัน เพราะกาจัดฝุ่ นได้ง่าย
     ควรจัดบ้านให้อากาศถ่ายเทได้ดี และแสงแดดส่องถึง ไม่มีฝน         ุ่
     อย่าไปใกล้บริ เวณที่มีควันบุหรี่ ควันไฟ และบริ เวณที่มีฝนมาก
                                                                ุ่
     ไม่ควรปลูกต้นไม้ในบ้าน กระถางดอกไม้ที่อบชื้นจะเป็ นแหล่งเพาะเชื้อราได้
                                                    ั
     พยายามกันสัตว์เลี้ยงไว้ขางนอกเท่าที่เป็ นไปได้ ห้ามนาสัตว์เลี้ยงเข้าไปในห้องนอน
                                 ้
     ล้างมือทุกครั้งที่คุณสัมผัสสัตว์เลี้ยง และพยายามให้มนอยูห่าง ๆ จากใบหน้าของคุณ
                                                             ั ่
     ที่นอนหมอน มุง ควรได้รับการตากแดดจัด ๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อฆ่าตัวไร
                        ้
     ผ้าห่ม ไม่ควรใช้ประเภทขนสัตว์ ผ้าสักหลาด ผ้าสาลี ควรใช้ผาห่มที่ทาจากใยสังเคราะห์
                                                                        ้
     ระวังไม่ให้บาน ห้องน้ า อับชื้น และไม่ควรปลูกต้นไม้ในบ้านเพราะทาให้เชื้อราเติบโต
                    ้
     ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และการพักผ่อนให้เพียงพอจะช่วยให้ผป่วยมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น
                                                                              ู้
     ทาความสะอาดเครื่ องปรับอากาศบ่อยๆ และใช้แบบที่มีเครื่ องกรองอากาศชนิด HEPA filter
     กาจัดเศษอาหาร และขยะต่างๆ รวมทั้งปิ ดฝาท่อระบายน้ าเพื่อไม่ให้เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงสาบ
     ใช้ยาตามที่แพทย์สงเท่านั้น ไม่ควรซื้อยามาใช้เอง เพราะบางชนิดถ้าใช้ต่อเนื่องนานอาจมีอนตรายได้
                           ั่                                                                    ั
     ควรมีสิ่งของเครื่ องเรื อนให้นอยที่สุดเฉพาะที่จาเป็ นเท่านั้น เพื่อที่จะได้ทาความสะอาด และกาจัดฝุ่ นได้ง่าย
                                    ้
     ในห้องนอน ควรมีเครื่ องตกแต่งห้องน้อยชิ้นที่สุดหมันทาความสะอาด และกาจัดฝุ่ นละอองเป็ นประจา
                                                              ่
     ออกกาลังกายให้สม่าเสมอ หากมีอาการหอบเหนื่อยเวลาออกกาลังกาย ควรสูดยา ป้ องกันอาการหอบก่อน
     ไม่ใช้พรม เก้าอี้เบาะหุมผ้า หมอนนุ่น ตุกตาที่ทาจากนุ่น หรื อขนสัตว์ และผ้าม่านไม่ควรใช้เพราะเป็ นแหล่งสะสมฝุ่ น
                               ้                ๊
     ซักผ้าปูที่นอน เครื่ องนอน และผ้าม่านอย่างสม่าเสมอโดยใช้น้ าร้อน (อย่างน้อย 60 C) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จะฆ่าไรฝุ่ นได้
     ในกรณี แพ้ไรฝุ่ น ควรทาความสะอาดเครื่ องนอน (ที่นอน,หมอน,ผ้าห่ม) โดยซักด้วย น้ าร้อน 600C นาน 15-20 นาที อย่างน้อยทุก 2
      สัปดาห์
     เครื่ องนอนทั้งหมดควรเป็ นใยสังเคราะห์ ไม่ใช้ฟก ที่นอน หมอน หรื อหมอนข้างที่ยดไส้ดวยนุ่น เพราะนุ่นเป็ นทีอยูของไรฝุ่ น ควรใช้
                                                        ู                                 ั    ้                      ่
      ชนิดที่ทาจากยาง หรื อฟองน้ า หากต้องใช้ที่นอนที่ยดไส้ดวยนุ่น ก็ควรหุมด้วยพลาสติก หรื อผ้าร่ มก่อน
                                                           ั       ้              ้
 เครื่ องปรับอากาศช่วยให้ละอองฝุ่ น เกสร และเชื้อราจากภายนอกบ้านเข้ามาในห้องนอนน้อยลง โดยเฉพาะในรุ่ นที่มีระบบกรอง
      อากาศ
     พัดลม ไม่ควรเปิ ดแรง หรื อเป่ าตรงตัวผูป่วย และไม่ควรเป่ าลงพื้น เพราะจะเป็ นการเป่ าฝุ่ นให้เข้าจมูกมากขึ้น อาการภูมิแพ้จะกาเริ บ
                                                ้
      ได้ง่าย
     ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีขนในบ้าน เช่น สุนข แมว นก ไว้ในบ้าน ถ้าอยากเลี้ยงจริ ง ๆ แนะนาให้เลี้ยงปลาเท่านั้น การอาบน้ าให้สตว์สปดาห์
                                            ั                                                                                  ั ั
      ละ 1 ครั้ง จะช่วยละสารภูมิแพ้ลงได้มาก
     หลีกเลี่ยงสารที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ ผูป่วยควรพยายามหลีกเลี่ยงสารที่ทราบว่าตนเองแพ้ เพื่อที่จะให้อาการเกิดน้อยลง และใช้ยา
                                              ้
      น้อยลงด้วย
     ถ่ายน้ าออกจากบริ เวณที่มีน้ าขังในสนามหญ้า เก็บกวาดเศษใบไม้ และวัชพืชก่อนที่จะเริ่ มเน่า เก็บของหมักใด ๆ ให้ห่างจากตัวบ้าน
     ทาความสะอาดฝักบัวในห้องน้ า หรื ออ่างน้ าอย่างสม่าเสมอด้วยน้ ายาทาความสะอาด และตรวจดูวามีเชื้อราขึ้นที่ม่านห้องน้ าหรื อไม่
                                                                                                         ่
     ควรหาทางกาจัดแมลงภายในบ้าน โดยเฉพาะแมลงสาบ เพราะซาก และอุจจาระของแมลงสาบเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่สาคัญ การทา
      ความสะอาด ทาความสะอาดห้องนอนด้วยผ้าชุบน้ าเปี ยก ๆ ไม่ควรกวาด ถ้าใช้เครื่ องดูดฝุ่ น ตัวผูป่วยโรคภูมิแพ้ไม่ควรทาเอง และ
                                                                                                       ้
      ควรเช็ดด้วยผ้าเปี ยกซ้ าอีกครั้งหนึ่ง หากจาเป็ นต้องทาความสะอาดเอง ควรทานยาก่อนที่คุณจะทาความสะอาด หรื อใช้ฟ้าชุบน้ าบิด
      ให้หมาด ๆ ปิ ดปาก และจมูก




   วิตามิน B 3 ยับยั้งการหลังฮิสทามีนและลดการอักเสบ
                             ่
   วิตามิน B 6 ควบคุมอาการแพ้
   วิตามิน B 12 ช่วยให้หายใจคล่อง
   วิตามิน C ต้านฮิสทามีน
   วิตามิน D ควบคุมการดูดซึมแคลเซียม




   แคลเซียม ลดความรุ นแรงของอาการแพ้
   แมกนีซียม เสริ มสร้างภูมิคุมกัน
                               ้
   โมลิบดีนม ลดอาการหายใจขัด
              ั
   ซีลีเนียม ต้านอนุมูลอิสระ
   สังกะสี ขจัดสารพิษออกจากร่ างกาย




 โอเมกา 6 แหล่งกรดไขมันจาเป็ นลดอาการภูมิแพ้
 ไบโอฟลาโวนอยด์ ทางานร่ วมกับวิตามินซี ลดอาการแพ้
 กรดแพนโทเทนิก ลดเความเครี ยดและต้านฮิสทามีน
 คอลีนและอิโนซิทอล ลดความเครี ยด




   น้ าผึ้ง(หลีกเลี่ยงหากแพ้ละอองเกสร)
   ผักผลไม้สด
   จมูกข้าวสาลี
   ปลาซาร์ดีนทั้งตัว
   หอมและกระทียม
   เมล็ดทานตะวัน




   นมและผลิตภัณฑ์นม เพราะเพิ่มเสมหะและน้ ามูก
   สตรอว์เบอร์รี
   อาหารทะเล
   มะเขือเทศ
   ช็อกโกแลต
   ข้าวสาลี
   ถัว
      ่
   ไข่




       หลีกเลี่ยงหรื อป้ องกันสารที่ก่อภูมิแพ้การหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ได้กล่าวในหัวข้อของการแพ้สารก่อภูมิแต่ละชนิด สาหรับเครื่ องฟอก
อากาศก็มีประโยชน์ บางชนิดใช้ไฟฟ้ า บางชนิดใช้ fiberglass ซึ่งก็สามารถลดสารก่อภูมิแพ้ในอากาศลง และอาจจะใช้เสริ มกับระบบ
เครื่ องปรับอากาศ ก่อนที่ท่านจะซื้อจะต้องเช่า 1-2 เดือนลองใช้กบห้องที่ค่อนข้างมิดชิดแล้วดูวาอาการภูมิแพ้ลดลงหรื อไม่ และต้องคานึงอีกข้อ
                                                                   ั                         ่
หนึ่งคืออัตราการไหลของอากาศต้องมากพอที่จะฟอกอากาศ ถ้าอัตราการไหลต่าก็ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรใช้โอโซนเพราะจะระคายเคืองเยือ                ่
จมูก
การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติ ที่ทาให้มีอาการแพ้มากขึ้น เช่น ตัดเนื้องอกในจมูก ขูดต่อมแอดีนอยด์ (Adenoid) หลังโพรงจมูกออก ขยาย
    โพรงจมูก (Functional nasal surgery) ให้กว้างขึ้น แก้ไขภาวะอุดตันของโพรงไซนัส (Osteomeatal complex) และโพรงจมูก เพื่อให้หายใจสูด
    และสังน้ ามูกได้สะดวก สามารถใช้โพรงจมูกและโพรงไซนัสกรองอากาศให้สะอาด ปรับอุณหภูมิและความชื้นให้เหมาะสม ก่อนหายใจผ่าน
         ่
    ช่องคอและกล่องเสี ยงเข้าสู่ปอด




        ทานยา ฉี ดยา ยาพ่นจมูก ยาพ่นปอด ยาหยอดตา ยาทาผิวหนัง เป็ นประจาการใช้ควรยาอย่างเหมาะสม ภายใต้คาแนะนาของแพทย์ เพื่อลด
    อาการ หรื อป้ องกันอาการ ยาที่ใช้รักษาโรคภูมิแพ้มีดงนี้
                                                       ั

              • Steroid
              • Decongestant
              • ยาแก้แพ้ Antihistamine
              • Antihistamine-Decongestant
              • Mast cell stabilizer
              • Anticholinergic
         ยาต้านฮีสตามีนกลุ่มเก่า มีขอควรระวัง คือ มักจะทาให้เกิดอาการง่วงซึม และมีอาการข้างเคียง เช่น ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ า ใจสัน ยาต้าน
                                    ้                                                                                            ่
         ฮีสตามีนกลุ่มใหม่ มีขอดี คือ ไม่ทาให้ง่วง อาการข้างเคียงน้อยลงไม่ต่างจากการให้เม็ดแป้ ง ออกฤทธิ์ไดนานกว่าซึ่งทาให้ไม่ตองกินยา
                              ้                                                                                                ้
         บ่อย ๆ ส่วนมากวันละ 1-2 ครั้ง รักษาโรคติดเชื้อแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น การติดเชื้อของทางเดินหายใจ ไซนัสอักเสบ ต่อมทอนซิล
         อักเสบ หูอกเสบ หลอดลมอักเสบ
                   ั



           การรักษาโดยการฉี ดวัคซีนภูมิแพ้ Immunotherapy ผูป่วยจะได้รับสารก่อภูมิแพ้เพื่อให้ร่างการสร้างภูมิชนิด IgG การฉี ดวัคซีนจะเลือกฉี ด
                                                           ้
                                                                                                                            ่
    เฉพาะสารก่อภูมิแพ้ที่ได้ทดสอบทางผิวหนังแล้วว่าแพ้ และจะค่อยเพิ่มขนาดยาตามตารางเวลา หลังจากฉี ดแต่ละครั้งควรอยูในสถานพยาบาล
    ครึ่ งชัวโมง
            ่           และระหว่างการรักษาไม่ควรรับประทานยา               beta-block             และยา           monoamine           oxidase
                                                                                  ่
    inhibitors (MAOIs) ผลข้างเคียงจากการฉี ดวัคซีนก็มีผื่นเฉพาะที่แดง คันผื่นจะอยูนาน 4-8 ชัวโมง ส่วนอาการข้างเคียงอีกชนิดหนึ่งคืออาการ
                                                                                               ่
    คัดจมูก แน่นหน้าอก คัดจมูกและน้ ามูกไหล อาการเหล่านี้มกจะเกิดภายใน 30 นาทีหลังฉีดวัคซีน
                                                             ั

          การทดสอบทางผิวหนัง (Skin Test) โดยสุ่มทดสอบว่าผูป่วยแพ้อะไรบ้างแล้วฉี ดสารก่อภูมิแพ้ในปริ มาณน้อยๆ แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ
                                                                    ้
    เพื่อกระตุนภูมิคุมกันให้คุนเคยกับสารก่อภูมิแพ้ชนิดนั้น จึงสามารถป้ องกันการเกิดภูมิแพ้ได้ การรักษาชนิดนี้ตองใช้ระยะเวลานาน คือฉี ด
              ้      ้         ้                                                                                 ้
    ติดต่อกัน 9-12 เดือน หลังจากนั้นต้องฉี ดกระตุนไปอีกเป็ นระยะ เช่น เดือนละครั้ง อาจนาน 3-5 ปี อย่างไรก็ตาม ผลการรักษาไม่สูจะดีนก เมื่อ
                                                   ้                                                                         ้    ั
    เทียบกับเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษา เพราะไม่อาจรับประกันได้วาจะสามารถหายจากโรคภูมิแพ้แน่นอน และผูป่วยโรคภูมิแพ้มกจะแพ้สาร
                                                                        ่                                      ้               ั
    หลายตัว วิธีการนี้จึงเรี ยกได้วาค่อนข้างยุงยาก สิ้นเปลืองเสี ยเวลานาน และไม่ค่อยได้ผล
                                   ่          ่

        การรักษาโรคภูมิแพ้น้ น แพทย์จะเป็ นผูพิจารณาว่าควรใช้วธีใดหรื อหลายๆ วิธีร่วมกัน เพื่อป้ องกันและรักษาไม่ให้ผป่วยมีอาการแพ้หรื อ
                             ั                  ้                  ิ                                                 ู้
เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ความสาเร็ จที่เกิดขึ้นนั้นขึ้นกับว่าผูป่วยจะสามารถปฏิบติตนตามคาแนะนาของแพทย์ได้สม่าเสมอหรื อไม่
                                                           ้               ั

          ในปัจจุบนยังไม่มีวธีรักษาโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้ วิธีการรักษาโรคภูมิแพ้ของแพทย์ หวังผลเพียงให้ผป่วยภูมิแพ้ไม่มีอาการ เพื่อป้ องกัน
                  ั         ิ                                                                            ู้
ไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ขึ้น เพราะถ้าปล่อยให้มีอาการแพ้เรื้ อรังนานเกินไป ไม่รักษา อาจเกิดหูอ้ือจนการได้ยนสูญเสี ยไปอย่างถาวร (Serous-
                                                                                                            ิ
Adhesive otitis media) หรื อมีเนื้องอกในจมูก (Nasal polyp) เกิดขึ้น หรื อเป็ นไซนัสอักเสบได้ (ไซนัสอักเสบอาจเกิดจากสาเหตุอ่นๆ เช่น ผนังกั้น
                                                                                                                           ื
โพรงจมูกคด มีเนื้องอก มีสิ่งแปลกปลอมในจมูก รากฟันบนอักเสบ ฯลฯ) ผูป่วยภูมิแพ้อาจมีอาการหอบหื ดอย่างรุ นแรงจนเป็ นอันตรายได้
                                                                          ้




     เป็ นวิธีการปรับภูมิตานทานผูป่วย หรื อ “หนามยอกเอาหนามบ่ง” คือ เมื่อพบว่าภูมิแพ้เกิดขึ้นแล้วล่องลอยในกระแสเลือด ก็ใช้เลือดของตนเอง
                          ้      ้
มาช่วยในการรักษาโดยเจาะเลือดของผูป่วยภูมิแพ้ขณะที่มีปฏิกิริยาภูมิแพ้ เอาเฉพาะซีรั่ม ซึ่งในซีรั่มนั้น จะมีภูมิคุมกันไวเกินที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้
                                      ้                                                                        ้
อยู่ นาซีรั่มมาแยกเซลล์ที่ตกค้างออก ให้เหลือเฉพาะโปรตีน แล้วใช้ตวกระตุนซีรั่ม (Serum activator) เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างบางประการของ
                                                                        ั       ้
ภูมิคุมกันไวเกิน (Antibody) ให้มีสภาพเป็ น Antigen แล้วฉี ด Antigen ที่ได้เข้าใต้ผิวหนัง
      ้

โดยจะให้ผป่วยภูมิแพ้ได้รับสารก่อภูมิแพ้ที่เฉพาะเจาะจงสาหรับคนไข้ภูมิแพ้แต่ละรายครั้งละน้อยๆเป็ นเวลาต่อกันระยะหนึ่ง วิธีน้ ีสามารถใช้ได้แม้
              ู้
ในกรณี ที่ผป่วยภูมิแพ้มีอาการแพ้มากที่สุด ซึ่งร่ างกายจะรับสารก่อภูมิแพ้ในขนาดน้อยๆ นี้ได้โดยไม่ปรากฏอาการใดๆจากนั้นระบบภูมิตานทาน
           ู้                                                                                                                      ้
ของร่ างกายจะมีการปรับโดยลดการสร้างภูมิคุมกันไวเกินลง หรื อหลังสารที่จะไปต้านการสร้างภูมิคุมกันไวเกินบางชนิดลงได้อย่างมีนยสาคัญ นัน
                                            ้                     ่                          ้                                 ั         ่
คือ แม้วาผูป่วยจะได้รับสารก่อภูมิแพ้ภมิแพ้ แต่เมื่อร่ างกายลดการสร้างภูมิคุมกันไวเกินที่ก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ลง จึงไม่สามารถก่อปฏิกิริยาภูมิแพ้
        ่ ้                          ู                                     ้
กับสารก่อภูมิแพ้น้ นได้ ผูป่วยก็จะปลอดจากโรคภูมิแพ้โดยปริ ยาย
                   ั      ้

 ส่งผลให้ปฏิกิริยาภูมิแพ้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ จึงสามารถรักษาหรื อทุเลาอาการของโรคภูมิแพ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การรักษาโรคภูมิแพ้ดวยวิธีน้ ี
                                                                                                                                  ้
ให้ผลการรักษาได้ผลดีร้อยละ 60 – 80 และไม่มีผลข้างเคียงใดๆเนื่องจากเป็ นสารที่สกัดมาจากตัวของผูป่วยภูมิแพ้เอง จึงปลอดภัย ไม่มีอาการต้าน
                                                                                                  ้
ยา แพ้ยา หรื อมีสารตกค้างภายในร่ างกาย


          สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษาโรคภูมแพ ้โดยตรงที่ Wholly Medical Center
                   ่       ่                             ิ
                                             ั้
                                    ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21
                                                               ุ
                          ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี

                              โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ
                                   Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง    ั่


                                                                 ข้ อมูลอ้ างอิง

        whollymedical.com, siamhealth.net, goface.in.th, doctor.or.th, pharm.chula.ac.th, Oknation.net blog ลุงแจ่ม

Más contenido relacionado

Destacado

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Destacado (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

การรักษาโรคภูมิแพ้

  • 1. หากเรามีอาการ จาม คันจมูก คันตา คันหูและลาคอ ตาแดง มีน้ ามูกใส ๆ ไหลออกมาบ่อย ๆ รู ้สึกจมูก ตัน และมีน้ าตาไหล นอกจากนี้โรคภูมิแพ้อาจทาให้เกิดอาการเจ็บคอ ไอ อ่อนเพลีย ปวดท้อง ปวดศรี ษะ และปวด บริ เวณคาง และหน้าผาก อาการเหล่านี ้คืออาการภูมิแพ้ เกิดจากระบบภูมิค้ มกันของร่างกายตอบสนองต่อสาร ุ ทัวไปที่เป็ นสารอันตราย จึงกระตุ้นให้ เซลล์ปล่อยสารฮิสทามีน ทาให้ จาม หายใจขัดมีผื่นคัน อาเจียน บางครัง ่ ้ รุนแรงถึงขันช็อก หมดสติ ถูกปิ ดกันทางเดินอากาศหายใจจนทาให้ หวใจหยุดทางานได้ สารก่อภูมิแพ้ เช่น ้ ้ ั อาหาร ละอองเกสรสารเคมี ความเครี ยด สัตว์ พักผ่อนไม่เพียงพอ การทานอาหารที่หลากหลายครบทุกหมู่ จะช่วยบรรเทาอาการภูมิแพ้ โรคภูมิแพ้ส่วนใหญ่เมื่อหลีกเลี่ยงจากสิ่ งที่แพ้ และรับประทานยาแก้แพ้ก็จะสามารถ ควบคุมอาการของโรคภูมิแพ้ได้ การรักษาโรคภูมิแพ้เบื้องต้นสาหรับผูที่มีอาการคัดจมูกมากอาจจะต้องให้ยาลด ้ อาการคัดจมูก ( Decongestant) สาหรับผูท่ีมีอาการเรื้ อรังอาจจะต้องใช้ยาหยอดจมูก steroid ้ โรคภูมแพ้ คือโรคที่เกิดจากการที่ร่างกายมีการตอบสนองต่อสิ่งต่างๆ ตามธรรมชาติไวผิดปกติ ทั้งที่คนทัวไปไม่เกิดอาการผิดปกติเมื่อสัมผัส ิ ่ สารต่างๆเหล่านั้น สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายได้หลายทางทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ชนิดต่างๆซึ่งมีอาการแตกต่างกันดังนี้  สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางเดินหายใจ ตั้งแต่ จมูก คอ หลอดลมลงไปถึงปอด ทาให้เกิดอาการเป็ นหวัด คัดจมูก น้ ามูกไหล จาม เรี ยกว่าโรคแพ้อากาศ ผูป่วยจะมีอาการคันคอ เจ็บคอ ไอมาก หากมีอาการหลอดลมตีบตัน หายใจลาบากเรี ยกว่าโรคหอบหื ด ้  สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางผิวหนัง ทาให้เกิดผื่นคันอักเสบ เป็ นลมพิษ มีน้ าเหลืองไหล เป็ นตุ่มพุพองที่ผวหนัง เรี ยกว่า “โรคผื่น ิ แพ้”  สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางเดินอาหาร ทาให้เกิดอาการคันปาก คันคอ มีผื่นคันที่ผวหนัง เป็ นลมพิษ ปวดท้อง ท้องอืด ท้องเสี ย ิ ่ อาหารไม่ยอย คลื่นไส้ อาเจียน มีแผลร้อนในในปาก เรี ยกว่า “โรคแพ้อาหาร”  สารก่อภูมิแพ้เข้าสู่ร่างกายโดยทางตา ทาให้คนตา แสบตา ตาแดง น้ าตาไหล ตาสูแสงไม่ได้ เยือบุตาแดงบวมและอักเสบ เรี ยก “โรคภูมิแพ้ ั ้ ่ ที่ตา”
  • 2. โรคภูมิแพ้สามารถถ่ายทอดทางกรรมพันธุ์ ถ้าพ่อหรื อแม่เป็ นโรคภูมิแพ้ ลูกจะมีโอกาสเป็ นโรคภูมิแพ้ได้ง่ายขึ้น เมื่อได้รับสาร แปลกปลอม ซึ่งเป็ นสารก่อภูมิแพ้ เข้ามาในร่ างกายต่อเนื่องกันเป็ นเวลานานๆ จนกระทังร่ างกายเกิดปฏิกิริยา มีการสร้างภูมิคุมกันต่อสารชนิดนั้น ่ ้ เมื่อเราได้รับสารก่อภูมิแพ้น้ นเข้าไปอีก ก็จะเกิดปฎิกิริยาภูมิแพ้ ั ่ การติดเชื้อซ้ าซากยาวนาน ทั้งที่เกิดจากแบคทีเรี ย ไวรัส ยีสต์ หรื อพยาธิ หรื อปั จจัยภายนอกใดๆ ที่คงอยูในตัวเรา หรื อสัมผัสกับร่ างกาย เรา โดยที่ร่างกายไม่สามารถกาจัดออกได้หมด เป็ นเวลาต่อเนื่องกันนาน จะกระตุนปฏิกิริยาภูมิคุมกัน ให้ผลิตภูมิคุมกันชนิดกว้างและมีความเจาะจง ้ ้ ้ น้อย ซึ่งจะก่อให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ตอสารต่างๆ มากขึ้นเรื่ อยๆ กลายเป็ นคนแพ้สิ่งต่างๆได้ง่ายและบางครั้งมีภูมิคุมกันที่ต่อต้านเนื้อเยือของตนเอง ่ ้ ่ เกิดขึ้น กลายเป็ นโรคภูมิคุมกันทาลายตนเอง ้ อาการภูมิแพ้ ที่เป็ นเฉพาะเวลาร่ างกายประสบกับภาวะเครี ยดทั้งทางร่ างกายหรื อทางจิตใจก็ตาม เนื่องจากความเครี ยดจะเผาผลาญพลังงาน ในร่ างกายด้วยการกระตุนต่อมไร้ท่อต่างๆ เมื่อเวลาผ่านไป ระบบป้ องกันตนเองของร่ างกายจะค่อยๆ อ่อนแอลงไป ร่ างกายเกิดการตอบสนองต่อ ้ สิ่ งกระตุน ด้วยการเกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ตอฝุ่ นละออง และสารต่างๆ ในชีวตประจาวัน ทาให้เกิดอาการอ่อนเพลีย มีเสมหะแห้งๆ ในคอตลอดเวลา ้ ่ ิ น้ ามูก มึนงง ไม่สดชื่น ฯลฯ  Th 1 เป็ นเซลล์เม็ดเลือดขาวที่สร้างสารต่อต้านเชื้อโรค เช่น สารอินเตอเฟอรอนแกมม่า  Th 2 2 เป็ นเซลล์ที่สร้างสารเกี่ยวกับโรคภูมิแพ้ เช่น อินเตอร์ลิวคีน 5 ร่ างกายของคนเราต้องใช้เซลล์ท้ ง 2 ชนิดอย่างสมดุลจึงจะมีสุขภาพที่สมดุลแข็งแรง แต่สภาพการเลี้ยงดูบุตรหลานในยุคปั จจุบนไม่ค่อยได้อยูตาม ั ั ่ ธรรมชาติ เช่น  อาบแต่น้ าอุน ่  นอนแต่ในห้องแอร์  ไม่ได้สมผัสธรรมชาติที่เป็ นของจริ ง เช่น ธาตุดิน ธาตุน้ า ธาตุลม ธาตุไฟ ั เด็กจึงไม่มีโอกาสสัมผัสเชื้อแบคทีเรี ยหรื อเชื้อไวรัสตามธรรมชาติ พอเป็ นไข้ไม่สบายก็รีบพาลูกไปหาหมอกินยาปฏิชีวนะ ยาลดน้ ามูก ยาลดไข้ ไว้ ตลอดโดยที่ภูมิตานทานที่แท้จริ งของตนเองไม่เคยได้ใช้งานต่อสูเ้ ชื้อโรคเลย ทาให้ร่างกายขาดเซลล์ Th 1 มีแต่เซลล์ Th 2 ซึ่งเป็ นตัวการคอยกระตุน ้ ้ ให้ไขกระดูกสร้างเม็ดเลือดขาวชื่อ อีโอซิโนฟิ ลล์ สาร IgE ที่เมื่อสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ก็จะเกิดการหลังสารฮีสตามีนซึ่งทาให้เกิดอาการผิดปกติ ่ ต่างๆ
  • 3. โรคภูมแพ้ชนิดเป็ นตามฤดูกาล จะมีอาการเป็ นช่วง ๆ ของปี ขึ้นอยูกบช่วงที่สารก่อภูมิแพ้ถูกผลิตออกมา สารก่อภูมิแพ้ในกรณีน้ ี ิ ่ ั เช่น ละอองเกสรดอกไม้ ฟางข้างต่าง ๆ  โรคภูมแพ้ชนิดเป็ นตลอดปี คนไข้จะมีอาการตลอดทั้งปี เนื่องจากคนไข้จะสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้ตลอดเวลา ทาให้มีอาการแบบ ิ ั เรื้ อรัง สารก่อภูมิแพ้ที่ทาให้คนแพ้กนมาก คือ ไรฝุ่ นในบ้าน เชื้อรา ขนสัตว์เลี้ยง เป็ นต้น  ล้างจมูกด้วยน้ าเกลืออุ่นๆ  ดื่มน้ าร้อนครั้งละ10-15 นาทีวนละ 2-4 ครั้ง ั  พื้นห้องควรเป็ นพื้นขัดมัน เพราะกาจัดฝุ่ นได้ง่าย  ควรจัดบ้านให้อากาศถ่ายเทได้ดี และแสงแดดส่องถึง ไม่มีฝน ุ่  อย่าไปใกล้บริ เวณที่มีควันบุหรี่ ควันไฟ และบริ เวณที่มีฝนมาก ุ่  ไม่ควรปลูกต้นไม้ในบ้าน กระถางดอกไม้ที่อบชื้นจะเป็ นแหล่งเพาะเชื้อราได้ ั  พยายามกันสัตว์เลี้ยงไว้ขางนอกเท่าที่เป็ นไปได้ ห้ามนาสัตว์เลี้ยงเข้าไปในห้องนอน ้  ล้างมือทุกครั้งที่คุณสัมผัสสัตว์เลี้ยง และพยายามให้มนอยูห่าง ๆ จากใบหน้าของคุณ ั ่  ที่นอนหมอน มุง ควรได้รับการตากแดดจัด ๆ อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง เพื่อฆ่าตัวไร ้  ผ้าห่ม ไม่ควรใช้ประเภทขนสัตว์ ผ้าสักหลาด ผ้าสาลี ควรใช้ผาห่มที่ทาจากใยสังเคราะห์ ้  ระวังไม่ให้บาน ห้องน้ า อับชื้น และไม่ควรปลูกต้นไม้ในบ้านเพราะทาให้เชื้อราเติบโต ้  ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ และการพักผ่อนให้เพียงพอจะช่วยให้ผป่วยมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น ู้  ทาความสะอาดเครื่ องปรับอากาศบ่อยๆ และใช้แบบที่มีเครื่ องกรองอากาศชนิด HEPA filter  กาจัดเศษอาหาร และขยะต่างๆ รวมทั้งปิ ดฝาท่อระบายน้ าเพื่อไม่ให้เป็ นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงสาบ  ใช้ยาตามที่แพทย์สงเท่านั้น ไม่ควรซื้อยามาใช้เอง เพราะบางชนิดถ้าใช้ต่อเนื่องนานอาจมีอนตรายได้ ั่ ั  ควรมีสิ่งของเครื่ องเรื อนให้นอยที่สุดเฉพาะที่จาเป็ นเท่านั้น เพื่อที่จะได้ทาความสะอาด และกาจัดฝุ่ นได้ง่าย ้  ในห้องนอน ควรมีเครื่ องตกแต่งห้องน้อยชิ้นที่สุดหมันทาความสะอาด และกาจัดฝุ่ นละอองเป็ นประจา ่  ออกกาลังกายให้สม่าเสมอ หากมีอาการหอบเหนื่อยเวลาออกกาลังกาย ควรสูดยา ป้ องกันอาการหอบก่อน  ไม่ใช้พรม เก้าอี้เบาะหุมผ้า หมอนนุ่น ตุกตาที่ทาจากนุ่น หรื อขนสัตว์ และผ้าม่านไม่ควรใช้เพราะเป็ นแหล่งสะสมฝุ่ น ้ ๊  ซักผ้าปูที่นอน เครื่ องนอน และผ้าม่านอย่างสม่าเสมอโดยใช้น้ าร้อน (อย่างน้อย 60 C) สัปดาห์ละ 1 ครั้ง จะฆ่าไรฝุ่ นได้  ในกรณี แพ้ไรฝุ่ น ควรทาความสะอาดเครื่ องนอน (ที่นอน,หมอน,ผ้าห่ม) โดยซักด้วย น้ าร้อน 600C นาน 15-20 นาที อย่างน้อยทุก 2 สัปดาห์  เครื่ องนอนทั้งหมดควรเป็ นใยสังเคราะห์ ไม่ใช้ฟก ที่นอน หมอน หรื อหมอนข้างที่ยดไส้ดวยนุ่น เพราะนุ่นเป็ นทีอยูของไรฝุ่ น ควรใช้ ู ั ้ ่ ชนิดที่ทาจากยาง หรื อฟองน้ า หากต้องใช้ที่นอนที่ยดไส้ดวยนุ่น ก็ควรหุมด้วยพลาสติก หรื อผ้าร่ มก่อน ั ้ ้
  • 4.  เครื่ องปรับอากาศช่วยให้ละอองฝุ่ น เกสร และเชื้อราจากภายนอกบ้านเข้ามาในห้องนอนน้อยลง โดยเฉพาะในรุ่ นที่มีระบบกรอง อากาศ  พัดลม ไม่ควรเปิ ดแรง หรื อเป่ าตรงตัวผูป่วย และไม่ควรเป่ าลงพื้น เพราะจะเป็ นการเป่ าฝุ่ นให้เข้าจมูกมากขึ้น อาการภูมิแพ้จะกาเริ บ ้ ได้ง่าย  ไม่เลี้ยงสัตว์ที่มีขนในบ้าน เช่น สุนข แมว นก ไว้ในบ้าน ถ้าอยากเลี้ยงจริ ง ๆ แนะนาให้เลี้ยงปลาเท่านั้น การอาบน้ าให้สตว์สปดาห์ ั ั ั ละ 1 ครั้ง จะช่วยละสารภูมิแพ้ลงได้มาก  หลีกเลี่ยงสารที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ ผูป่วยควรพยายามหลีกเลี่ยงสารที่ทราบว่าตนเองแพ้ เพื่อที่จะให้อาการเกิดน้อยลง และใช้ยา ้ น้อยลงด้วย  ถ่ายน้ าออกจากบริ เวณที่มีน้ าขังในสนามหญ้า เก็บกวาดเศษใบไม้ และวัชพืชก่อนที่จะเริ่ มเน่า เก็บของหมักใด ๆ ให้ห่างจากตัวบ้าน  ทาความสะอาดฝักบัวในห้องน้ า หรื ออ่างน้ าอย่างสม่าเสมอด้วยน้ ายาทาความสะอาด และตรวจดูวามีเชื้อราขึ้นที่ม่านห้องน้ าหรื อไม่ ่  ควรหาทางกาจัดแมลงภายในบ้าน โดยเฉพาะแมลงสาบ เพราะซาก และอุจจาระของแมลงสาบเป็ นสารก่อภูมิแพ้ที่สาคัญ การทา ความสะอาด ทาความสะอาดห้องนอนด้วยผ้าชุบน้ าเปี ยก ๆ ไม่ควรกวาด ถ้าใช้เครื่ องดูดฝุ่ น ตัวผูป่วยโรคภูมิแพ้ไม่ควรทาเอง และ ้ ควรเช็ดด้วยผ้าเปี ยกซ้ าอีกครั้งหนึ่ง หากจาเป็ นต้องทาความสะอาดเอง ควรทานยาก่อนที่คุณจะทาความสะอาด หรื อใช้ฟ้าชุบน้ าบิด ให้หมาด ๆ ปิ ดปาก และจมูก  วิตามิน B 3 ยับยั้งการหลังฮิสทามีนและลดการอักเสบ ่  วิตามิน B 6 ควบคุมอาการแพ้  วิตามิน B 12 ช่วยให้หายใจคล่อง  วิตามิน C ต้านฮิสทามีน  วิตามิน D ควบคุมการดูดซึมแคลเซียม  แคลเซียม ลดความรุ นแรงของอาการแพ้  แมกนีซียม เสริ มสร้างภูมิคุมกัน ้  โมลิบดีนม ลดอาการหายใจขัด ั  ซีลีเนียม ต้านอนุมูลอิสระ  สังกะสี ขจัดสารพิษออกจากร่ างกาย  โอเมกา 6 แหล่งกรดไขมันจาเป็ นลดอาการภูมิแพ้  ไบโอฟลาโวนอยด์ ทางานร่ วมกับวิตามินซี ลดอาการแพ้  กรดแพนโทเทนิก ลดเความเครี ยดและต้านฮิสทามีน
  • 5.  คอลีนและอิโนซิทอล ลดความเครี ยด  น้ าผึ้ง(หลีกเลี่ยงหากแพ้ละอองเกสร)  ผักผลไม้สด  จมูกข้าวสาลี  ปลาซาร์ดีนทั้งตัว  หอมและกระทียม  เมล็ดทานตะวัน  นมและผลิตภัณฑ์นม เพราะเพิ่มเสมหะและน้ ามูก  สตรอว์เบอร์รี  อาหารทะเล  มะเขือเทศ  ช็อกโกแลต  ข้าวสาลี  ถัว ่  ไข่ หลีกเลี่ยงหรื อป้ องกันสารที่ก่อภูมิแพ้การหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ ได้กล่าวในหัวข้อของการแพ้สารก่อภูมิแต่ละชนิด สาหรับเครื่ องฟอก อากาศก็มีประโยชน์ บางชนิดใช้ไฟฟ้ า บางชนิดใช้ fiberglass ซึ่งก็สามารถลดสารก่อภูมิแพ้ในอากาศลง และอาจจะใช้เสริ มกับระบบ เครื่ องปรับอากาศ ก่อนที่ท่านจะซื้อจะต้องเช่า 1-2 เดือนลองใช้กบห้องที่ค่อนข้างมิดชิดแล้วดูวาอาการภูมิแพ้ลดลงหรื อไม่ และต้องคานึงอีกข้อ ั ่ หนึ่งคืออัตราการไหลของอากาศต้องมากพอที่จะฟอกอากาศ ถ้าอัตราการไหลต่าก็ไม่มีประโยชน์ ไม่ควรใช้โอโซนเพราะจะระคายเคืองเยือ ่ จมูก
  • 6. การผ่าตัดแก้ไขความผิดปกติ ที่ทาให้มีอาการแพ้มากขึ้น เช่น ตัดเนื้องอกในจมูก ขูดต่อมแอดีนอยด์ (Adenoid) หลังโพรงจมูกออก ขยาย โพรงจมูก (Functional nasal surgery) ให้กว้างขึ้น แก้ไขภาวะอุดตันของโพรงไซนัส (Osteomeatal complex) และโพรงจมูก เพื่อให้หายใจสูด และสังน้ ามูกได้สะดวก สามารถใช้โพรงจมูกและโพรงไซนัสกรองอากาศให้สะอาด ปรับอุณหภูมิและความชื้นให้เหมาะสม ก่อนหายใจผ่าน ่ ช่องคอและกล่องเสี ยงเข้าสู่ปอด ทานยา ฉี ดยา ยาพ่นจมูก ยาพ่นปอด ยาหยอดตา ยาทาผิวหนัง เป็ นประจาการใช้ควรยาอย่างเหมาะสม ภายใต้คาแนะนาของแพทย์ เพื่อลด อาการ หรื อป้ องกันอาการ ยาที่ใช้รักษาโรคภูมิแพ้มีดงนี้ ั • Steroid • Decongestant • ยาแก้แพ้ Antihistamine • Antihistamine-Decongestant • Mast cell stabilizer • Anticholinergic ยาต้านฮีสตามีนกลุ่มเก่า มีขอควรระวัง คือ มักจะทาให้เกิดอาการง่วงซึม และมีอาการข้างเคียง เช่น ปากแห้ง คอแห้ง ตาพร่ า ใจสัน ยาต้าน ้ ่ ฮีสตามีนกลุ่มใหม่ มีขอดี คือ ไม่ทาให้ง่วง อาการข้างเคียงน้อยลงไม่ต่างจากการให้เม็ดแป้ ง ออกฤทธิ์ไดนานกว่าซึ่งทาให้ไม่ตองกินยา ้ ้ บ่อย ๆ ส่วนมากวันละ 1-2 ครั้ง รักษาโรคติดเชื้อแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น การติดเชื้อของทางเดินหายใจ ไซนัสอักเสบ ต่อมทอนซิล อักเสบ หูอกเสบ หลอดลมอักเสบ ั การรักษาโดยการฉี ดวัคซีนภูมิแพ้ Immunotherapy ผูป่วยจะได้รับสารก่อภูมิแพ้เพื่อให้ร่างการสร้างภูมิชนิด IgG การฉี ดวัคซีนจะเลือกฉี ด ้ ่ เฉพาะสารก่อภูมิแพ้ที่ได้ทดสอบทางผิวหนังแล้วว่าแพ้ และจะค่อยเพิ่มขนาดยาตามตารางเวลา หลังจากฉี ดแต่ละครั้งควรอยูในสถานพยาบาล ครึ่ งชัวโมง ่ และระหว่างการรักษาไม่ควรรับประทานยา beta-block และยา monoamine oxidase ่ inhibitors (MAOIs) ผลข้างเคียงจากการฉี ดวัคซีนก็มีผื่นเฉพาะที่แดง คันผื่นจะอยูนาน 4-8 ชัวโมง ส่วนอาการข้างเคียงอีกชนิดหนึ่งคืออาการ ่ คัดจมูก แน่นหน้าอก คัดจมูกและน้ ามูกไหล อาการเหล่านี้มกจะเกิดภายใน 30 นาทีหลังฉีดวัคซีน ั การทดสอบทางผิวหนัง (Skin Test) โดยสุ่มทดสอบว่าผูป่วยแพ้อะไรบ้างแล้วฉี ดสารก่อภูมิแพ้ในปริ มาณน้อยๆ แล้วค่อยๆ เพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ้ เพื่อกระตุนภูมิคุมกันให้คุนเคยกับสารก่อภูมิแพ้ชนิดนั้น จึงสามารถป้ องกันการเกิดภูมิแพ้ได้ การรักษาชนิดนี้ตองใช้ระยะเวลานาน คือฉี ด ้ ้ ้ ้ ติดต่อกัน 9-12 เดือน หลังจากนั้นต้องฉี ดกระตุนไปอีกเป็ นระยะ เช่น เดือนละครั้ง อาจนาน 3-5 ปี อย่างไรก็ตาม ผลการรักษาไม่สูจะดีนก เมื่อ ้ ้ ั เทียบกับเวลาและค่าใช้จ่ายในการรักษา เพราะไม่อาจรับประกันได้วาจะสามารถหายจากโรคภูมิแพ้แน่นอน และผูป่วยโรคภูมิแพ้มกจะแพ้สาร ่ ้ ั หลายตัว วิธีการนี้จึงเรี ยกได้วาค่อนข้างยุงยาก สิ้นเปลืองเสี ยเวลานาน และไม่ค่อยได้ผล ่ ่ การรักษาโรคภูมิแพ้น้ น แพทย์จะเป็ นผูพิจารณาว่าควรใช้วธีใดหรื อหลายๆ วิธีร่วมกัน เพื่อป้ องกันและรักษาไม่ให้ผป่วยมีอาการแพ้หรื อ ั ้ ิ ู้ เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ความสาเร็ จที่เกิดขึ้นนั้นขึ้นกับว่าผูป่วยจะสามารถปฏิบติตนตามคาแนะนาของแพทย์ได้สม่าเสมอหรื อไม่ ้ ั ในปัจจุบนยังไม่มีวธีรักษาโรคภูมิแพ้ให้หายขาดได้ วิธีการรักษาโรคภูมิแพ้ของแพทย์ หวังผลเพียงให้ผป่วยภูมิแพ้ไม่มีอาการ เพื่อป้ องกัน ั ิ ู้ ไม่ให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ขึ้น เพราะถ้าปล่อยให้มีอาการแพ้เรื้ อรังนานเกินไป ไม่รักษา อาจเกิดหูอ้ือจนการได้ยนสูญเสี ยไปอย่างถาวร (Serous- ิ
  • 7. Adhesive otitis media) หรื อมีเนื้องอกในจมูก (Nasal polyp) เกิดขึ้น หรื อเป็ นไซนัสอักเสบได้ (ไซนัสอักเสบอาจเกิดจากสาเหตุอ่นๆ เช่น ผนังกั้น ื โพรงจมูกคด มีเนื้องอก มีสิ่งแปลกปลอมในจมูก รากฟันบนอักเสบ ฯลฯ) ผูป่วยภูมิแพ้อาจมีอาการหอบหื ดอย่างรุ นแรงจนเป็ นอันตรายได้ ้ เป็ นวิธีการปรับภูมิตานทานผูป่วย หรื อ “หนามยอกเอาหนามบ่ง” คือ เมื่อพบว่าภูมิแพ้เกิดขึ้นแล้วล่องลอยในกระแสเลือด ก็ใช้เลือดของตนเอง ้ ้ มาช่วยในการรักษาโดยเจาะเลือดของผูป่วยภูมิแพ้ขณะที่มีปฏิกิริยาภูมิแพ้ เอาเฉพาะซีรั่ม ซึ่งในซีรั่มนั้น จะมีภูมิคุมกันไวเกินที่ทาให้เกิดโรคภูมิแพ้ ้ ้ อยู่ นาซีรั่มมาแยกเซลล์ที่ตกค้างออก ให้เหลือเฉพาะโปรตีน แล้วใช้ตวกระตุนซีรั่ม (Serum activator) เพื่อเปลี่ยนโครงสร้างบางประการของ ั ้ ภูมิคุมกันไวเกิน (Antibody) ให้มีสภาพเป็ น Antigen แล้วฉี ด Antigen ที่ได้เข้าใต้ผิวหนัง ้ โดยจะให้ผป่วยภูมิแพ้ได้รับสารก่อภูมิแพ้ที่เฉพาะเจาะจงสาหรับคนไข้ภูมิแพ้แต่ละรายครั้งละน้อยๆเป็ นเวลาต่อกันระยะหนึ่ง วิธีน้ ีสามารถใช้ได้แม้ ู้ ในกรณี ที่ผป่วยภูมิแพ้มีอาการแพ้มากที่สุด ซึ่งร่ างกายจะรับสารก่อภูมิแพ้ในขนาดน้อยๆ นี้ได้โดยไม่ปรากฏอาการใดๆจากนั้นระบบภูมิตานทาน ู้ ้ ของร่ างกายจะมีการปรับโดยลดการสร้างภูมิคุมกันไวเกินลง หรื อหลังสารที่จะไปต้านการสร้างภูมิคุมกันไวเกินบางชนิดลงได้อย่างมีนยสาคัญ นัน ้ ่ ้ ั ่
  • 8. คือ แม้วาผูป่วยจะได้รับสารก่อภูมิแพ้ภมิแพ้ แต่เมื่อร่ างกายลดการสร้างภูมิคุมกันไวเกินที่ก่อให้เกิดอาการภูมิแพ้ลง จึงไม่สามารถก่อปฏิกิริยาภูมิแพ้ ่ ้ ู ้ กับสารก่อภูมิแพ้น้ นได้ ผูป่วยก็จะปลอดจากโรคภูมิแพ้โดยปริ ยาย ั ้ ส่งผลให้ปฏิกิริยาภูมิแพ้ไม่สามารถเกิดขึ้นได้ จึงสามารถรักษาหรื อทุเลาอาการของโรคภูมิแพ้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การรักษาโรคภูมิแพ้ดวยวิธีน้ ี ้ ให้ผลการรักษาได้ผลดีร้อยละ 60 – 80 และไม่มีผลข้างเคียงใดๆเนื่องจากเป็ นสารที่สกัดมาจากตัวของผูป่วยภูมิแพ้เอง จึงปลอดภัย ไม่มีอาการต้าน ้ ยา แพ้ยา หรื อมีสารตกค้างภายในร่ างกาย สอบถามเพิมเติมเกียวกับรายละเอียดการรักษาโรคภูมแพ ้โดยตรงที่ Wholly Medical Center ่ ่ ิ ั้ ตึก 253 ชน 21 อโศก ซอยสุขมวิท 21 ุ ตรงข ้าม มศว. ประสานมิตร ติดรถไฟฟ้ าใต ้ดินสถานีเพชรบุร ี โทร.02-664-3027 9.00 - 19.00 น. ทุกวันไม่เว ้นวันหยุดราชการ Email:crm@whollymedical.com ตลอด 24 ชวโมง ั่ ข้ อมูลอ้ างอิง whollymedical.com, siamhealth.net, goface.in.th, doctor.or.th, pharm.chula.ac.th, Oknation.net blog ลุงแจ่ม