SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 30
บทที่ ๑
ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย
๑. ความหมายของภาษา

ภาษามีความหมายใน ๒ ลักษณะ คือ
๑) ความหมายอย่า งกว้า ง หมายถึ ง การแสดงออกด้ว ยวิ ธี ก ารใด ๆ เพื่ อ สื่ อ
ความหมายถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดและความต้องการระหว่างกัน โดยมีระบบกฎเกณฑ์ที่
เข้าใจกันได้ระหว่างผูส่งสารกับผูรับสาร ภาษาตามความหมายนี้ จึงรวมถึ ง ภาษาสัตว์ ภาษา
้
้
ท่าทาง ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใบ้ ฯลฯ แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ
๑.๑) วัจนภาษา คือ ภาษาถ้อยคา ได้แก่ ภาษาพูดและภาษาเขียน
๑.๒) อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่คา ได้แก่ กิริยาอาการ การแต่งกาย สายตา
น้ าเสี ยง การสัมผัส เครื่ องหมายหรื ออาณัติสัญญาณ ฯลฯ
๒) ความหมายอย่า งแคบ หมายถึ ง ถ้อยค าที่ ม นุ ษ ย์ใ ช้สื่ อความหมายโดยใช้
เสี ยงพูด ซึ่งหมายถึงวัจนภาษา หรื อภาษาพูดนันเอง ภาษาตามความหมายนี้จึงไม่รวมถึงภาษา
่
เขียน ซึ่ งเป็ นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสี ยง เพราะภาษาพูดเป็ นภาษาที่ทุกชนชาติมี แต่บางชนชาติ
อาจไม่มีภาษาเขียน
ภาษา เป็ นอย่างไร อยากรู ้จง ..น้อง ๆ ต้องตั้งใจเรี ยนต่อนะ...
ั
จะได้ไม่ตองเป่ าขลุ่ยเลี้ยงเจ้าทุยแบบไข่นุย
้
้
๒. ธรรมชาติของภาษา

ธรรมชาติของภาษามีลกษณะดังนี้
ั
๑) ภาษาเป็ นเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารของมนุ ษ ย์ เป็ นตัว กลางในการถ่ า ยทอดความรู ้
ความคิด ความรู ้สึก ความต้องการของบุคคลหนึ่ งไปสู่ บุคคลหนึ่ งเพื่อให้เกิดความเข้าใจกัน
หากปราศจากภาษามนุษย์จะไม่สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้
๒) ภาษาประกอบด้ วยเสี ยงและความหมาย ภาษาที่แท้จริ งของมนุษย์ คือ ภาษา
พูดประกอบด้วยเสี ย งพูดกับ ความหมาย ซึ่ งเรี ย กว่า หน่ วยภาษา ถ้า มี แต่ เสี ย งพูดไม่ มี
ความหมายหรื อสื่ อความหมายไม่ได้เสี ยงพูดนั้นก็ยงไม่เป็ นภาษา ถ้ามีแต่ความหมายไม่
ั
เป็ นเสี ย งพูดก็เป็ นเพี ยงความคิ ดยังไม่ เป็ นภาษาที่ ส มบูรณ์ ภาษาจึ งต้องมี ท้ งเสี ยงและ
ั
ความหมายจึงจะสามารถสื่ อสารได้เข้าใจตรงกัน
ภาษาพูดทีเ่ รารู้ จักแต่ เด็ก ๆ คือ ร้ องไห้ หิวนมจังแม่ ....

ั
คาในภาษาส่ วนมากเสี ยงกับความหมายไม่ได้สัมพันธ์กน คนแต่ละชาติจึงใช้
คาไม่เหมือนกันการที่เสี ยงหนึ่ งมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ ง เป็ นเรื่ องของการตกลง
ั
กันของคนแต่ละกลุ่มแต่ละพวกภาษาไทยบางคาเสี ยงกับความหมายอาจสัมพันธ์กนใน
ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่
๑) สิ่ งต่าง ๆ รอบตัว เช่น เพล้ง โครม ปั ง กริ๊ ก แกร๊ ก ฯลฯ
๒) ชื่อสัตว์บางชนิ ดใกล้เคียงกับเสี ยงของสัตว์น้ น ๆ เช่น กา แมว จิ้งจก ตุกแก
ั
๊
๓) ชื่ อสิ่ งต่าง ๆ บางประเภทมี เสี ยงใกล้เคี ยงกับเสี ยงที่ เกิ ดจากสิ่ งนั้น ๆ
เช่น หวูด ออด กริ่ งรถตุก ๆ
๊

หน้ า ๖
คาบางคามิได้เป็ นการเลียนเสี ยงในธรรมชาติ แต่เสี ยงสระ
ั
หรื อพยัญชนะในคานั้นก็อาจจะมีความสัมพันธ์กบความหมาย

เช่น อะไรบ้าง
อธิ บายให้ฟังหน่อยครับ

ครู จะอธิบายให้ ฟังนะ
- ขุ่น แค้ น เคียด ขึง ขัด หมายถึง การแสดงอารมณ์ โกรธ ไม่ พอใจ
้
- เก เซ เฉ เป๋ เย้ เห หมายถึง ไม่ ตรง
- เผลอ เหม่ อ เหรอ เป๋ อ เด๋ อ เซ่ อ เท่ อ หมายถึง ไม่ มีสติ งุนงง
่
ั
่ ้
สรุ ปได้วา คาที่เสี ยงกับความหมายสัมพันธ์กนนั้นมีอยูบาง แต่
ั
คาที่เสี ยงกับความหมายไม่สัมพันธ์กนมีมากกว่า คนที่พูดภาษาเดียวกัน
จะตกลงกันว่าเสี ยงใดหมายความว่าอย่างไร ถ้าใครคนใด คนหนึ่ งใช้
เสี ยงหนึ่ งใช้เสี ยงให้มีความหมายอย่างหนึ่ ง โดยไม่ได้ตกลงกันไว้ก่อน
ย่อมสื่ อความหมายกับผูอื่นไม่ได้
้

หน้ า ๗
๓) ภาษาเป็ นเรื่ องของการใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ภาษาหลาย
ภาษามีวิธีการถ่ายเสี ยงตัวอักษร ใช้ตวอักษรเป็ นสัญลักษณ์ แทน
ั
เสี ย ง แต่ ล ะหมู่ ช นแต่ ล ะภาษาใช้สั ญลัก ษณ์ แทนสิ่ ง เดี ย วกันแต่
ต่างกัน ใครใช้ภาษาใดก็ตองเรี ยนรู ้สัญลักษณ์ของภาษานั้น ๆ
้

ยกตัวอย่างให้ฟังได้ไหมครับ
เช่ น หญิ ง ผู ้ใ ห้ ก าเนิ ด ภาษาไทยใช้ว่ า “แม่ ”
่
ภาษาอังกฤษใช้วา “mother”
จุกเข้าใจแล้วครับ ขอบคุณมากนะครับคุณครู

๔) หน่วยในภาษาประกอบกันเป็ นหน่ วยที่ใหญ่ข้ ึน หน่ วย
ในภาษาหรื อส่ วนประกอบของภาษาจะประกอบกันขึ้นเป็ นหน่ วยที่
ใหญ่ ข้ ึ น ได้ นับ ตั้ง แต่ หน่ ว ยเสี ย ง ค า ประโยค ในภาษาไทย เสี ย ง
(พยางค์)หนึ่ ง ๆ จะประกอบด้วยเสี ย งย่อย ๆ ๓ ชนิ ด ได้แก่ เสี ย ง
พยัญชนะ เสี ยงสระและเสี ยงวรรณยุกต์ ซึ่ งนามาประกอบเป็ นคาได้
มากมาย และค าเหล่ า นี้ นามาเรี ย งกันเป็ นกลุ่ ม ค าและประโยค ซึ่ ง
สามารถนามารวมหรื อขยายประโยคให้ยาวออกไปอีกเรื่ อย ๆ

หน้ า ๘
ครู จะยกตัวอย่ างให้ ฟัง
นะ
เอ... เช่ น อะไรบ้ างครับ

เช่น
เขาไปโรงเรียน
เมื่อวานนีเ้ ขาไม่ สบาย
เมื่อวานนีเ้ ขาไม่ สบายแต่ กยงไปโรงเรียน เพราะเขาเป็ นเด็กทีมีความรับผิดชอบ
็ั
่

๕) ภาษามีระดับ สังคมผูใช้ภาษาเดี ยวกันประกอบด้วยบุคคลที่
้
แตกต่างกันด้วย เพศ วัย อาชีพ การศึกษา ชาติกาเนิ ด ฯลฯ ซึ่ งทาให้เกิดมี
ภาษาหลายระดับชั้นตามสภาพของผูใช้ เช่น ภาษาเด็ก ภาษาวัยรุ่ น ภาษา
้
เฉพาะอาชี พ ภาษาสาหรับพระสงฆ์ หรื อแบ่งตามสถานการณ์ในการใช้
ภาษาเป็ นภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาแบบแผน
่
๖) ภาษาทุกภาษาย่ อมมีความสมบูรณ์ ในตัวเอง เพราะคาที่มีอยูใน
แต่ ล ะภาษาย่อ มมี เ พี ย งพอที่ จ ะใช้สื่ อ สารความคิ ด ความเข้า ใจกัน ได้
ระหว่างคนที่พูดภาษานั้น ๆ เมื่อติดต่อกับชนชาติอื่นรั บวัฒนธรรมและ
เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เข้า มาก็ จ ะมี ค าใหม่ ๆ เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม
ประสบการณ์ดงกล่าวด้วยวิธีการยืมคาหรื อการบัญญัติศพท์ เป็ นต้น
ั
ั

หน้ า ๙
๗) ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาที่ยงใช้สื่อสารย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งใน
ั
ด้านเสี ยงความหมาย ถ้อยคา สานวนและประโยค เช่น คาว่า “ถึง” ในสมัยสุ โขทัยออก
เสี ยงว่า “เถิง” คาว่า “รอด” เดิมหมายความว่า “ถึง” ปัจจุบนหมายถึง “แคล้วคลาด” เป็ น
ั
ต้น การเปลี่ยนแปลงของภาษาเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาของทุกภาษา ภาษาที่ไม่เปลี่ยนแปลง
คือภาษาที่ตายแล้ว เช่น บาลี สันสกฤต เป็ นต้น
๗.๑) การพูดจาในชี วตประจาวัน อาจมีการกลายเสี ยง กลมกลืนเสี ยงหรื อเสี ยง
ิ
กร่ อนไปบ้าง เช่น ดิฉน เป็ นเดี้ยน อย่างนี้ เป็ นอย่างงี้ มหาวิทยาลัย เป็ นมหาลัย เป็ นต้น
ั
๗.๒) อิท ธิ พ ลของภาษาอื่ น เมื่ อ มี ก ารยื ม ค าหรื อ ประโยคภาษาอื่ น อาจมี
อิทธิ พลทาให้ภาษาไทยเปลี่ยนแปลงไป เช่น มีเสี ยงพยัญชนะควบกล้ ามากขึ้น ได้แก่ ฟร บร
บล ดร เป็ นต้นมี แบบประโยคเพิ่มขึ้น เช่ น เขาพบตัวเองอยู่ในห้องเรี ยน เขาจับรถไฟไป
กรุ งเทพฯ
๗.๓) ความเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้ อม เมื่อมี สิ่งใหม่ ๆ เกิ ดขึ้ นก็จะต้องมี
ศัพท์ใช้เรี ยกสิ่ งที่เกิดขึ้นใหม่เหล่านี้ เมื่อสิ่ งใดสู ญไปคาที่เคยเรี ยกก็จะสู ญไปจากภาษาด้วย
คนรุ่ นใหม่อาจไม่รู้ความหมาย หรื อเข้าใจ ความหมายผิดไปได้
๗.๔) การเรี ยนภาษาของเด็ก เด็กเรี ยนภาษาจากบุคคลทั้งหลายที่ อยู่ใกล้ชิด
และพัฒนาเป็ นภาษาของตนเอง ซึ่ ง อาจมี ความหมายไม่ ตรงกับภาษาของผูใหญ่ เมื่ อเด็ ก
้
ถ่ายทอดภาษาของตนเองก็จะมีลกษณะแตกต่างออกไป
ั
การเปลี่ ย นแปลงของภาษาอาจเกิ ดจาก
หลายสาเหตุ เช่นอะไรบ้างละครับ

หน้ า ๑๐
เช่ น
แฟน แต่ เดิมหมายถึง ผู้คลังไคล้ในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง
่
ปัจจุบันหมายถึง คนรัก สามี ภรรยา หรือผู้ทชอบพอกัน
ี่
นักเลง แต่ เดิมหมายถึง ลูกผู้ชาย คนจริง
ปัจจุบันหมายถึง คนเกเร ไม่ ดี

๘) ภาษาเกิดจากการเรี ยนรู ้โดยมีสิ่งแวดล้อมเป็ นตัวกาหนด มิใช่สิ่งที่ติดตัว
มาแต่ ก าเนิ ดหรื อเกิ ดจากสัญชาตญาณ เช่ น เด็ ก เริ่ มเรี ย นรู ้ ภาษาจากพ่อแม่ และ
ผูเ้ ลี้ ยงดู จากนั้นการเรี ยนรู ้ จะขยายตัวเป็ นระบบยิ่งขึ้น เมื่อเด็กเข้าโรงเรี ยน และ
เข้าสู่ สังคมที่ขยายกว้างกว่าเดิมไปเรื่ อย ๆ
๙) ภาษาพูด สามารถใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารได้โ ดยไม่ จ ากัด เพศและวัย ของ
่
ผูสื่อสาร ไม่วาคนวัยใดก็สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ถ้าพูดภาษาเดียวกัน
้

หน้ า ๑๑
ภาษาพูดใช้ทาอะไร

พี่รู้ เดี๋ยวพี่จะอธิบาย

ได้บางครับ
้

ให้ฟังเองนะน้องจุก

๑o) ภาษาพูดสามารถใช้บอกเล่ าเหตุ การณ์ ไ ด้ ทั้งในอดี ต
ปั จจุบนและอนาคต ไม่จากัดเวลาและสถานที่
ั

๑๑) ภาษาเป็ นวัฒนธรรม คือ มีการตก
ลงยอมรั บกันในสังคม สะสมถ่ ายทอดสื บ
ต่ อ กั น มาและมี ก ารปรั บ ปรุ งแก้ ไ ขให้
ทันสมัยเช่นเดียวกับวัฒนธรรมอื่น ๆ

๑๒) ภาษาเป็ นเครื่ องมื อ ในการถ่ า ยทอด
วัฒ นธรรมและวิ ท ยาการต่ า ง ๆ ท าให้ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่

๑๓) ภาษามี พลังในการงอกงามไม่รู้จบ
ผู้ใ ช้ ภ าษาสามารถสร้ า งประโยคเพื่ อ สื่ อ
ความคิดของตนเองได้โดยไม่รู้จกจบสิ้ น
ั

หน้ า ๑๒
๑๔) ภาษามีลกษณะเป็ นสากล ทุกภาษาจะมีลกษณะคล้ายคลึงกัน ได้แก่
ั
ั
๑๔.๑) ด้านเสี ยง ทุกภาษาประกอบด้วย โครงสร้างทางเสี ยง คือ เสี ยงสาคัญใน
ภาษา และวิธีใช้ เช่น ภาษาอังกฤษมีเสี ยง g, z แต่ภาษาไทยไม่มี ภาษาไทยเสี ยงวรรณยุกต์ สามัญ
เอก โท ตรี จัตวา แต่ภาษาอังกฤษไม่มี
๑๔.๒) ด้านไวยากรณ์ แต่ละภาษามีการนาหน่วยเสี ยงมาเรี ยงกันเข้าอย่างมีระบบ
เกิ ดเป็ นโครงสร้ างของการสื่ อความหมายขึ้น เช่ น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย มักเรี ยง
ประโยคแบบประธาน กริ ย า กรรม แต่ ภาษาญี่ ปุ่ นมัก เรี ย งประโยคแบบประธาน กรรม กริ ย า
ในขณะที่คนไทยพูดว่า “ฉันกินข้าว” คนญี่ปุ่นจะพูดว่า “ฉันข้าวกิน”
๑๔.๓) มีการสร้างศัพท์ใหม่จากศัพท์เดิม โดยอาจจะเปลี่ ยนแปลงศัพท์เดิ มหรื อ
นาศัพท์อื่นมาประสมกับศัพท์เดิม เช่น การประสมคา สมาส ซ้อนคา ซ้ าคา ฯลฯ
๑๔.๔) แต่ละภาษามีการใช้คาในความหมายใหม่ เรี ยกว่า สานวน เช่น ฝนตกไม่
ทัวฟ้ า ไม่เห็นโลงศพไม่หลังน้ าตา
่
่
๑๔.๕) มีคาชนิดต่าง ๆ คล้ายกัน เช่น นาม กริ ยา วิเศษณ์ คาขยาย ฯลฯ
๑๔.๖) มีวธีสื่อความคิดคล้าย ๆ กัน เช่น ถาม ตอบ อ้อนวอน ปฏิเสธ สั่ง ฯลฯ
ิ
๑๔.๗) มีการขยายประโยคให้ยาวออกไปได้เรื่ อย ๆ
๑๔.๘) ทุกภาษาย่อมมีการเปลี่ยนแปลง

เพื่อน ๆ เข้าใจกันดีแล้วใช่ไหมคะ
เรี ยนเรื่ องต่อไปกันเถอะ...

หน้ า ๑๓
๓. พลังของภาษา
พลังของภาษา เป็ นอย่างไรนะ

ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการดารงชีวตของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู้
ิ
ภาษามาแต่กาเนิด ภาษาช่วยให้มนุษย์รู้จกคิด แสดงความคิดออกมาด้วยการพูด การเขียน และ
ั
การกระทา เป็ นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ ดังภาพ
ความคิด
การกระทา

การแสดงออก (พูด-เขียน)

ภาษาสาคัญอย่างไรครับ

เมื่อมนุ ษย์ใช้ความคิ ดและแสดงความคิ ดนั้นด้วยภาษา ย่อมส่ งผลถึ งการกระทา
และผลของการกระท าก็ ส่ ง ผลถึ ง ความคิ ด ในล าดั บ ถั ด ไป ท าให้ เ กิ ด ความคิ ด
เชิ ง สร้ า งสรรค์ที่พ ฒนายิ่ง ขึ้ นโดยล าดับนั่น คื อ พลัง ของภาษาส่ งผลต่ อการกระท า
ั
และความคิดนันเอง ความสาคัญของภาษาสรุ ปได้ ดังนี้
่

หน้ า ๑๔
๑) ภาษาช่วยธารงสังคม กล่าวคือภาษาช่วยให้มนุ ษย์มีไมตรี ต่อกัน ประพฤติตนเหมาะ
แก่ฐานะของตนและปฏิบติตามกฎเกณฑ์ ระเบียบวินยของสังคม
ั
ั
๒) ภาษาแสดงความเป็ นปั จเจกบุคคล ภาษาเป็ นเครื่ องแสดงตัวตนของแต่ละบุคคลให้
ปรากฏนอกเหนือไปจากรู ปลักษณ์ภายนอก เช่น ลีลาการพูด การเขียน ซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะตัว
๓) ภาษาช่วยให้เกิดการพัฒนา มนุ ษย์ใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อภิปราย
โต้แย้ง เพื่อนาไปสู่ ผลสรุ ปและขยายความรู ้ความคิดให้เจริ ญงอกงามยิงขึ้น
่
๔) ภาษาช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ มนุ ษย์ใช้ภาษาในการเรี ยนรู ้ จดบันทึกความรู ้ แสวงหา
ความรู ้และถ่ายทอดความรู ้จากคนรุ่ นหนึ่งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่ง
๕) ภาษาช่ ว ยก าหนดอนาคต โดยใช้ รู ปแบบต่ า ง ๆ เช่ น ค าสั่ ง แผน ค าสั ญ ญา
คาพิพากษา กาหนดการ คาพยากรณ์ เป็ นต้น
๖) ภาษาช่ ว ยจรรโลงใจ หมายถึ ง ภาษาท าให้ เ กิ ด ความเพลิ ด เพลิ น ซาบซึ้ ง ได้รั บ
ความสุ ขใจหรื อยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น เช่น บทกวี นิ ทาน ละคร สุ นทรพจน์ คาอวยพร สุ ภาษิต
เพลง
๗) ภาษามีอิทธิ พลต่อมนุ ษย์ บางครั้งมนุ ษย์ลืมไปว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ที่ใช้เพื่อ
สื่ อความหมายให้เข้าใจกันเท่านั้น จึงตกอยู่ใต้อิทธิ พลของภาษา เช่ น คนไทยรังเกี ยจต้นลันทม
่
และระกาไม่นิยมปลูกไว้ในบริ เวณบ้าน เพราะชื่อต้นไม้ไม่เป็ นมงคลไม่เป็ นที่พึงปรารถนา คาว่า
ชุมชนแออัด น่าฟัง กว่าสลัม หรื อ ประเทศกาลังพัฒนา ดูดีกว่า ประเทศด้อยพัฒนา เป็ นต้น
๘) ภาษามี พ ลัง ในตัวเอง เนื่ องจากภาษาประกอบด้วยเสี ย งและความหมาย การใช้
ถ้อยคาย่อมก่อให้เกิดความรู ้สึกต่าง ๆ แก่ผรับสาร ทั้งในด้านความรัก ความชัง รังเกียจ หรื อชื่ น
ู้
ชอบได้ท้ งสิ้ น
ั

หน้ า ๑๕
๔. ธรรมชาติของภาษาไทย
ธรรมชาติของภาษาไทยเป็ นอย่างไร
ใครช่วยอธิ บายให้ฟังทีครับ
ได้เลย...พี่จอยจะอธิบายให้ฟังเองตั้งใจอ่านนะครับ
้

ธรรมชาติของภาษาไทยมีลกษณะเฉพาะซึ่ งแตกต่างจากภาษาอื่น ดังนี้
ั
๑) ภาษาไทยมี ล ัก ษณะเป็ นภาษาค าโดด คื อ ค าแต่ ล ะค ามี ค วามสมบู ร ณ์ ใ นตัว เอง
สามารถนาไปใช้ได้โดยอิสระ ไม่ตองมีการเปลี่ ยนแปลงรู ปคาเพื่อบอกหน้าที่ในประโยค ต้อง
้
อาศัยคาอื่น ๆ มา ประกอบเพื่อบอกลักษณะ เช่น
นิดทางานแล้ว

เอกกาลังจะไปเที่ยว

่
นักเรี ยนหลายคนอยูในห้อง ลูกสะใภ้ คนนี้ขยัน

เมื่อวานนีเ้ ขาไม่สบาย
ฝูงแพะเหยียบย่าข้าวในนา

๒) คาในภาษาไทยส่ วนมากเป็ นคาพยางค์เดี ยว คาที่ใช้มาแต่เดิ มในภาษาไทย หรื อที่
เรี ยกว่าคามูลมักเป็ นคาพยางค์เดียว ส่ วนใหญ่เป็ นคาหลัก ๆ ที่ใช้ในการสื่ อสารประจาวัน ได้แก่
คาที่ใช่เรี ยกเครื อญาติ เช่น พ่อ แม่ ลุง ฯลฯ
คาเรี ยกชื่ออวัยวะ เช่น หัว ปาก มือ ฯลฯ
คาเรี ยกชื่อธรรมชาติ เช่น น้ า ไฟ ป่ า ฯลฯ
คากริ ยาทัวไป เช่น กิน ยืน เดิน ฯลฯ
่
คาเรี ยกเครื่ องใช้ เช่น มีด จอบ โอ่ง ฯลฯ
คาขยาย เช่น ดี ชัว เร็ ว อ้วน เบา ฯลฯ
่

เข้าใจกันไหมครับ

หน้ า ๑๖
ถ้าเข้าใจกันดีแล้วเรามาศึกษากันต่อ เลยนะครับ

จ้อยอธิ บายได้เก่งมากเลยคะ
เรามาเรี ยนต่อกันเลยดีกว่า

๓) ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุกต์ช่วยจาแนกความหมายของคา คาที่สะกดเหมือนกัน
ถ้าใช้วรรณยุกต์ต่างกันความหมายจะแตกต่างกันไปด้วย เช่น ขา ข่า ข้า, เสื อ เสื่ อ เสื้ อ ฯลฯ
๔) คาไทยแท้มีตวสะกดตรงตามมาตรา มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมีดงนี้
ั
ั
แม่กก ใช้ “ก” เป็ นตัวสะกด เช่น กก ปก ชุก ลุก รก สก จก ปัก ฯลฯ
แม่กด ใช้ “ด” เป็ นตัวสะกด เช่น บด จัด นัด กัด ติด ตัด ฯลฯ
แม่กบ ใช้ “บ” เป็ นตัวสะกด เช่น ตับ กบ รี บ จบ นับ สื บ คบ ฯลฯ
แม่กง ใช้ “ง” เป็ นตัวสะกด เช่น กอง นัง นิ่ง จึง แท่ง กง ลวง ลิง ฯลฯ
่
แม่กน ใช้ “น” เป็ นตัวสะกด เช่น กิน นอน ก้น ข้น วุน หวาน ต้น แค้น ฯลฯ
้
แม่กม ใช้ “ม” เป็ นตัวสะกด เช่น ส้ม ชม มุม ชาม ขาม คม สาม ฯลฯ
แม่เกย ใช้ “ย” เป็ นตัวสะกด เช่น เขย คอย หน่อย โวย ตาย น้อย จ่าย ฯลฯ
แม่เกอว ใช้ “ว” เป็ นตัวสะกด เช่น ก้าว เดียว เขี้ยว แมว ขาว แจ๋ ว แล้ว ฯลฯ

พวกเราทุกคนก็อยากเก่งเหมือนจ้อยจังครับ...

ครู ดีใจที่เด็ก ๆ คิดได้
ต้องตั้งใจเรี ยนนะคะ

หน้ า ๑๗
๕) คาไทยคาเดียวมีหลายความหมายและทาหน้าที่ในประโยคได้หลายอย่างคาไทย
แท้คาหนึ่ ง ๆ ส่ วนใหญ่มีหลายความหมายและหน้าที่ ของคาจากตาแหน่ งของคาในวลี หรื อ
ประโยค เช่น ขัน
ไก่ขนตอนเช้ามืด (เป็ นอกรรมนกริ ยา แสดงอาการร้องของไก่และนกบางชนิด)
ั
เขาขันเชือกจนแน่น (เป็ นสกรรมกริ ยา หมายถึง ทาใช้ตึง ทาใช้แน่น)
ขันใบนี้เก่าแล้ว (เป็ นคานาม หมายถึง ภาชนะสาหรับตักน้ า)
เขาพูดจาน่าขัน (เป็ นคาวิเศษณ์ หมายถึง น่าหัวเราะ)
๖) การสร้ างคาขึ้ นใช้ในภาษาไทยมี หลายวิธี ที่ เป็ นการสร้ างคาแบบไทยแท้ คื อ
การนาคามูลมารวมกันเกิดเป็ นคาใหม่ข้ ึน เช่น คาประสม คาซ้อน คาซ้ า ส่ วนที่เป็ นการสร้าง
คาของภาษาอื่น เช่น คาสมาส คาแผลง เป็ นต้น

ดัวอย่าง
คาประสม : พลเมือง ของขลัง รถไฟ เรี ยงเบอร์ คุยโต
คาซ้ อน : เลือกสรร สู ญหาย ภูเขา รู ปร่ าง กักตุน ต้มตุ๋น แบบฟอร์ ม
คาซ้า : ดี ๆ ชัว ๆ งู ๆ ปลา ๆ เร็ ว ๆ ลูก ๆ หลาน ๆ
่
คาสมาส : โทรทัศน์ วิทยาลัย วีรชน สังฆทาน บุพเพสันนิวาส มโหฬาร
คาแผลง : กาเนิด ไพศาล จานรรจา อานวย ตารวจ อานาจ
๗) การเรี ยงลาดับคาในประโยคมีความสาคัญมาก เพราะแสดงถึง
ั
ั
หน้าที่และความสัมพันธ์กนของคา ถ้าเรี ยงลาดับคาในประโยคสลับที่กน
ความหมายของประโยคก็จะเปลี่ยนไป อาจทาให้สื่อความหมายไม่ได้ หรื อ
สื่ อความหมายไม่ตรงตามความต้องการ เช่น
เขายิงนกถูก

นกถูกเขายิง

เขายิงถูกนก

นกเขาถูกยิง

ยิงนกถูกเขา

นกเขายิงถูก

หน้ า ๑๘
๘) ภาษาไทยมีลกษณะนาม คาลักษณะนาม เป็ นคาที่สาหรับประกอบข้าง
ั
หลังนาม หรื อ คาบอกจานวนนับ เพื่อบอกให้รู้ลกษณะรู ปร่ าง ขนาด และปริ มาณ
ั
ของนามข้างหน้า เช่น
บ้านหลังโน้น

ช้าง ๕ เชือก

รถไฟ ๓ ขบวน

แหวนวงนั้น

ผ้าผืนนี้

ไฟดวงเล็ก

่
่
๙) คาขยายอยูหลังคาที่ถูกขยาย คาขยายในภาษาไทยโดยทัวไปมักจะอยูหลังคา
่
ที่ถูกขยาย เช่น
เก้าอี้ขาวในห้องสี ฟ้า

เขากินจุ

คนอ้วนเดินช้า

ห้องนี้สวยมาก

เด็กดีมีคนรักมาก

คนนอนดึกมักตื่นสาย

๑o) คาไทยแท้ไม่นิยมเสี ยงควบกล้ า คาไทยแม้ส่วนมากใช้อกษรเดียวเป็ นพยัญชนะต้น
ั
มากกว่าอักษรควบกล้ า คาควบกล้ าในภาษาไทย มักจะเป็ นคาที่รับมาจากภาษาอื่น คาควบกล้ าใน
ภาษาไทยจึงไม่มีมากนัก เช่น กราม กลอน กวาด ตรึ ง แปร แปลก หลอกหลอน
ส่ วนเสี ยงควบกล้ าที่เกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ เสี ยง /ดร /ฟร/ ฟล/ บร/ บล/ เป็ นหน่วยเสี ยง
ที่ได้รับอิทธิ พลจากภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เช่น ดรัมเมเยอร์ ฟรี บรี ส ฯลฯ
๑๑) คาไทยแท้ไม่ มีตวการั นต์ (ตัวการั นต์ หมายถึ ง อักษรที่ ไ ม่ออกเสี ย ง) คาที่มี ตว
ั
ั
การันต์ มักเป็ นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต หรื อภาษาอังกฤษ ซึ่ งมีพยัญชนะที่เราไม่ออกเสี ยงหรื อ
ออกเสี ยงไม่ได้เราจึงฆ่าเสี ยงพยัญชนะบางตัวเสี ยด้วยการใส่ เครื่ องหมายทัณฑฆาต ( ์์ ) ลงบน
พยัญชนะนั้น เพื่อรักษารู ปคาในภาษาเดิมไว้ เช่น พยัคฆ์ กาพย์ สวรรค์ เมล์ ไวน์ ฯลฯ

ยากจัง..

หน้ า ๑๙
๑๒) ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจงหวะ ภาษาไทยใช้วิธีเขียนคาต่อกันไม่มีการ
ั
เว้นระยะจนจบความ การแบ่งความด้วยวรรคตอนจึงเป็ นเรื่ องสาคัญ ถ้าเขียนเว้นวรรคตอนผิดจะ
ทาให้เสี ย ความหรื อความเปลี่ ย นไป การพูดต้องเว้นจังหวะให้ถู ก ที่ ถ้ า หยุดผิดจัง หวะความก็
เปลี่ยนไป เช่น
รถยนต์คนนี้พอมอบให้ลูก เขยไม่ใช่ลูก (ให้ลูกสาว)
ั ่
รถยนต์คนนี้พอมอบให้ลูกเขย ไม่ใช่ลูก (ให้ลูกเขย)
ั ่
ภาษาไทยยังมีคาอื่น
ยังมีอีกค่ะ

อีกไหมครับ

๑๓) ภาษาไทยมี คาอุ ทานและคาเลี ยนเสี ยงธรรมชาติ ช่ วยให้มีคาประกอบทาให้ความ
เด่นชัดและสละสลวยขึ้น เช่น เปรี้ ยวจี๊ด ร้อนจัง หมุนคว้าง ฟ้ าผ่าเปรี้ ยง ท้องร้องจ๊อก ๆ
๑๔) ภาษาไทยมีคาเสริ มแสดงความสุ ภาพ ภาษาพูดมีคาเสริ มท้ายประโยคเพื่อแสดงความ
สุ ภาพ หรื อบอกความต้องการ เช่น จ๋ า จ๊ะ ค่ะ หรอก ละ นะคะ ฯลฯ
๑๕) ภาษาไทยมีคาสุ ภาพและคาราชาศัพท์ ซึ่งแสดงถึงความมีศิลปะ ความประณี ตบรรจง
และความมีวฒนธรรมของผูใช้ภาษา
ั
้
ตัวอย่างค่ะ

คาราชาศัพท์

ความหมาย

พระชนก พระชนกนาถ พระราชบิดา

พ่อ

พระชนนี พระราชชนนี พระราชมารดา

แม่

พระเชษฐา

พี่ชาย

พระราชโอรส

ลูกชาย

พระราชธิดา

ลูกสาว

หน้ า ๒๐
๕. ระดับของภาษา
ผมอยากทราบเรื่ องระดับภาษาครับ

ครู จะอธิ บายให้ฟังต่อ
นะ
ลัก ษณะส าคัญประการหนึ่ ง ของภาษาไทย
คื อ มี ก ารแบ่ ง ระ ดั บ ของภาษาการสื่ อส ารที่ มี
ประสิ ท ธิ ผ ล ผูส่ ง สารจะต้องเลื อ กใช้ระดับ ภาษาให้
้
ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล
ภาษาแบ่งระดับ
ได้ดวยหรื อครับ
้

การแบ่งระดับภาษาอาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้
๑) แบ่งตามโอกาสในการใช้เป็ น ๒ ระดับ คือ
๑.๑) ภาษาที่ เป็ นทางการหรื อภาษาที่ เป็ นแบบแผน เช่ น ภาษาที่ใช้ในการประชุ ม
การกล่าวสุ นทรพจน์ เป็ นต้น
๑.๒) ภาษาที่ เ ป็ นเป็ นทางการหรื อ ภาษาที่ ไ ม่ เ ป็ นแบบแผน เช่ น ภาษาที่ ใ ช้ก าร
สนทนาเขียนจดหมายถึงผูคุนเคย การเล่าเรื่ องหรื อประสบการณ์ เป็ นต้น
้้
๒) แบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็ น ๓ ระดับ
๒.๑) ภาษาระดับพิธีการ เป็ นภาษาแบบแผน
๒.๒) ภาษาระดับกึ่งพิธีการ เป็ นภาษากึ่งแบบแผน
๒.๓) ภาษาระดับที่ไม่เป็ นพิธีการ เป็ นภาษาไม่เป็ นแบบแผน

หน้ า ๒๑
๓) แบ่งตามสภาพแวดล้อมเป็ น ๕ ระดับ คือ
๓.๑) ภาษาระดับ พิธีก าร ใช้ในที่ ป ระชุ มที่ จดอย่างเป็ นพิธี การ เช่ น การ
ั
กล่าวปราศรัย การเปิ ดประชุ มรัฐสภา การกล่าวสดุ ดี การกล่าวรายงาน ผูส่งสารมักเป็ น
้
บุคคลสาคัญ ผูรับสารเป็ นแต่เพียงผูรับฟัง หากจะมีการตอบก็จะเป็ นการตอบอย่างเป็ นพิธี
้
้
การในฐานะผูแทนกลุ่ ม การใช้ภาษาระดับนี้ ตองมี การเตรี ยมต้นฉบับหรื อวาทนิ พนธ์
้
้
ล่วงหน้า
๓.๒) ภาษาระดับ ทางการ ใช้ใ นการบรรยายหรื ออภิ ป รายอย่า งเป็ น
ทางการในที่ประชุมหรื อใช้ในงานเขียนอย่างเป็ นทางการ

เช่น อะไร
มีใครตอบได้ยกมือขึ้น

เช่น การรายงาน การอภิปราย
หนังสื อราชการ การสื่ อสาร ระดับนี้
มุ่งความเข้าใจในสารมากกว่าระดับพิธีการ

เก่งจังเลย เพื่อน ๆ ช่วย
ตบมือให้ดวยนะคะ
้

หน้ า ๒๒
๓.๓) ภาษาระดับกึ่งทางการ มักใช้ในการประชุ มกลุ่มเล็ก ผูรับสารและส่ งสารมี
้
โอกาสโต้ตอบกันมากขึ้น เช่น การประชุ มอภิปราย การปาฐกถา การบรรยายในห้องเรี ยน
ข่าวและบทความในหนังสื อพิมพ์ ซึ่ งนิ ยมใช้ถ้อยคาสานวนที่แสดงความคุ นเคยกับผูอ่าน
้
้
หรื อผูฟัง
้
๓.๔) ภาษาระดับสนทนา มักใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันระหว่างบุคคล หรื อ
กลุ่มบุคคลไม่เกิน ๔-๕ คน หรื ออาจมีบุคคลต่างระดับร่ วมสนทนากันต้องคานึงถึงความสุ ภาพ
เช่น การสนทนากับบุคคลอย่างเป็ นทางการ ข่าวและบทความในหนังสื อพิมพ์
๓.๕) ภาษาระดับกันเอง เป็ นภาษาที่ใช้วงจากัด เช่น ภายในครอบครัว ในหมู่
เพื่อนฝูงในสถานที่ส่วนตัวเป็ นสัดส่ วนเฉพาะกลุ่ม อาจจะมีการใช้ภาษาถิ่ น ภาษาสแลง
ร่ วมด้วย

ครู จะสรุ ป
ให้ฟังนะคะ
การใช้ภาษาทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นภาษาระดับสนทนาหรื อ
ระดับกันเอง ผูใช้ควรคานึ งถึ งมารยาทซึ่ งเป็ นการให้เกี ยรติแก่
้
ผูอื่นและการรั กษาเกี ยรติ ของตนเอง เพราะเป็ นเครื่ องแสดงว่า
้
บุคคลผูน้ นเป็ นผูที่ได้รับการศึกษาและการอบรมสั่งสอนมาดี
้ ั
้

เข้าใจแล้วครับ… เราโชคดีนะครับที่เกิดเป็ นคน
ไทย แล้วเราก็มีภาษาของเราด้วย
ล

หน้ า ๒๓
เมื่อเรี ยนจบบทที่ ๑ แล้ว เด็ก ๆ อย่าลืมทากิจกรรม
ท้ายบทนะคะ

กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๑

ให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้
ิ
๑. แบ่งกลุ่มและช่วยกันเขียนแผนภาพความคิด สรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยนแล้วระบายสี ให้สวยงาม
๒. รวบรวมตัวอย่างของการใช้ภาษาในระดับต่าง ๆ เขียนเป็ นเล่มเพื่อเก็บไว้ศึกษา

ทากิจกรรมเสนอแนะท้ายบทแล้วต่อด้วยแบบฝึ กหัด
ท้ายบท ทาส่ งครู ทุกคนนะจ๊ะ ..

เรามาทาแบบฝึ กหัดท้ายบทกัน
ดีกว่า

หน้ า ๒๔
แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๑
ตอนที่ ๑ จงตอบคาถามต่อไปนี้
๑. ภาษาคืออะไร อธิบายตามความเข้าใจของผูเ้ รี ยน
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๒. ธรรมชาติของภาษามีลกษณะอย่างไรบ้าง บอกมา ๕ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
ั
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
๓. พลังของภาษามีอะไรบ้าง บอกมา ๓ ข้อ
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................
...........................................................................................................................................................

หน้ า ๒๕
ตอนที่ ๒ ให้ทาเครื่ องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกและทาเครื่ องหมาย ( X ) หน้าข้อความที่ผด
ิ
๑. ในปั จจุบนเป็ นที่เชื่อแน่แล้วว่ามุนษย์เป็ นผูสร้างภาษา
ั
้
๒. ภาษาเป็ นสิ่ งที่พฒนาไปพร้อมกับมนุษย์
ั
่
๓. ในรถโดยสารประจาทางมีขอความเขียนไว้วา “โปรดงดสู บบุหรี่ ในรถโดยสารประจา
้
ทาง ฝ่ าฝื นปรับ ๒oo บาท” ข้อความนี้ถือว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต
่
๔. “อ้าว นังอ่านหนังสื ออยูนี่เองไม่ได้ไปลอยกับเพื่อนหรื อจ๊ะ” ข้อความนี้เป็ นการใช้
่
ภาษาเพื่อธารงสังคม
๕. ลุงแม้นได้บอกวิธีต่อกิ่งมะม่วงให้ชาวบ้านไปลองทาดู ถือว่าลุงแม้นใช้ภาษา
เพื่อพัฒนามนุษย์
๖. การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับฐานะ บทบาทและความสัมพันธ์ของบุคคล เป็ นการใช้
ภาษาเพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล
๗. “อย่าอ่านหนังสื อเลยนะเต้ย ไปเที่ยวกันเถอะ ถ้าเธอไม่ไปพวกเราคงหมดสนุกแน่”
ข้อความนี้เป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต
่
๘. “ทุกวันนี้อะไรก็ไม่จีรังยังยืน นับประสาอะไรกับคามันสัญญา เขาให้ได้ก็ยอม
่
่
ทาลายได้” ข้อความนี้ถือว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล
๙. “เกี่ยวเถิดนะแม่เกี่ยว อย่ามัวชะแง้แลเหลียว เดี๋ยวเคียวจะเกี่ยวก้อยเอย...” ข้อความนี้
แสดงว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อให้ชื่นบาน
๑o. “ถ้าเธอตั้งใจฟังคาอธิ บาย ก็เชื่อว่าเธอจะต้องสอบได้ แต่ถายังไม่มนใจก็ควรอ่านทบทวน
้
ั่
อีกครั้ง” ข้อความนี้เป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต

หน้ า ๒๖
ตอนที่ ๓ แบ่งกลุ่มแข่งขันกันเปลี่ยนคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็ นคาที่ใช้ในภาษาระดับทางการ
๑. ใส่ บาตร

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๒. แอร์

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๓. เสื้ อสี แจ๊ด

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๔. ลงขัน

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๕. เผาศพ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๖. ไปนอก

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๗. เพื่อนคู่หู

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๘. ดูกระจก

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๙. อ้วนขึ้น

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑o. งานบวช

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑๑. ห้องนังเล่น
่

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑๒. บาร์, ไนท์คลับ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑๓. ขอใช้งบ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑๔. ขี้เกียจ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

๑๕. สลัม

่
ภาษาระดับทางการใช้วา
ทาแบบฝึ กหัดท้ายบท
สนุกกันหรื อเปล่า
ั
อย่าเพิ่งยอมแพ้กนนะ ทาแบบทดสอบ
่
หลังเรี ยนกันเลย จะได้รู้วาได้คะแนน
กันเท่าไรบ้าง

หน้ า ๒๗
แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๑
คาชี้แจง
๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน
๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------่
๑. มนุษย์ที่ตกอยูใต้อิทธิ พลของภาษาจะได้รับผลอย่างไรมากที่สุด
ก. จะมีสภาพจิตใจที่อ่อนแอไม่กล้าต่อสู ้ความเป็ นจริ ง
ข. จะขาดความมันใจในตัวเองคอยแต่หวาดระแวง
่
ค. จะถูกหลอกได้ง่ายเพราะขาดการไตร่ ตรอง
ง. จะทางานต่าง ๆ ล้มเหลวเพราะความโง่ เขลา
่
๒. มนุษย์ควรปฎิบติอย่างไรจึงไม่ตกอยูใต้อิทธิพลภาษา
ั
้
ก. ควรนาความรู ้ที่กาวหน้าทันสมัยเผยแพร่ ให้ผคนได้รู้กว้างขวาง
ู้
ข. ควรมีอิสระในการใช้ภาษาโดยไม่ตองคอยระวังว่าใครจะจับผิด
้
ค. ควรเลิกล้มความเชื่อเกี่ยวกับเรื่ องคาถาอาคมและโชคลาภ
ง. ควรคานึงว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ใช้แทนสิ่ งต่าง ๆ เท่านั้น
๓. เหตุผลสาคัญที่ทาให้ภาษาไทยมีการแบ่งภาษาออกเป็ นระดับต่าง ๆ คืออะไร
ก. เพื่อต้องการแสดงเอกลักษณ์ของภาษาไทย
ข. เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคลเวลาและสถานที่ต่าง ๆ
ค. เพื่อทาให้ผฟังเกิดความพึงพอใจ
ู้
ง. เพื่อทาให้การสื่ อสารมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น
่

หน้ า ๒๘
๔. คาว่า “เด็กปั๊ ม” ควรใช้คาใดแทนเพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผถูกเรี ยก
ู้
ก. พนักงานบริ การเติมน้ ามัน
ข. พนักงานสถานีบริ การน้ ามันเชื้อเพลิง
ค. พนักงานปั๊ มน้ ามัน
ง. พนักงานเติมน้ ามัน
๕. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล
ก. น้องจ๊ะ ช่วยพี่จดแจกันสาหรับโต๊ะรับแขกหน่อย
ั
ข. หลวงตารับเชิญมาฉันเพลที่บานพรุ่ งนี้
้
่
ค. พ่อแม่เราเขาไม่วางเลยมาด้วยไม่ได้
่
ง. ใคร ๆ เขาก็รู้วาคุณครู แก่แล้วทาอย่างนั้นไม่ได้
๖. ข้อใดเป็ นภาษาระดับทางการ
ก. นายวิชิต กาลังบรรยายเรื่ องปั ญหาวัยรุ่ นที่หอประชุม
ข. สุ มิตรไปร่ วมงานแต่งงานน้องสาวขอรับแขกหน่อย
ค. สุ นทรี ไปเผาศพบิดาของเพื่อนที่วดเนกขัมมาราม
ั
ง. ผุสดีโทรศัพท์คุยกับสุ ดาทุกวัน
๗. ข้อใดใช้ระดับภาษาเหมาะสมในการเขียนรายงานทางวิชาการ
ก. เขาเป็ นนักร้องชื่อก้องของสหรัฐ ฯ ที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้รัฐบุรุษคนสาคัญทีเดียว
ข. ฝนได้โปรยปรายลงมาให้ความปรานีแก่ชีวตสัตว์
ิ
ค. สมัยนี้ของแพงทุกอย่าง เพราะสภาวะเศรษฐกิจกาลังตกต่า
ง. วัฒธรรมทางจิตใจของชาวไทยที่สาคัญ คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ
และความศรัทธาในศาสนา

หน้ า ๒๙
๘. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ได้อย่างไร
ก. มนุษย์ใช้ภาษาแสดงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อนดีงามของตน
ั
ข. ภาษาช่วยเก็บสะสมถ่ายทอดเผยแพร่ ความรู ้และประสบการณ์
ค. ภาษาช่วยให้ความรู ้แก่มนุษย์
ง. มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อความคิด ความเข้าใจ
๙. ส่ วนประกอบของประโยคในข้อใดมีการเรี ยงลาดับคาต่อประโยค “เพลงนี้ พ่อร้องบ่อย”
ก. รู ปเขียนพวกนี้ฉนเห็นแทบทุกวัน
ั
ข. น้ ายาล้างจานชนิดนี้แม่บานชอบมาก
้
ค. หนังสื อนี้บริ ษทแจกทุกปี
ั
ง. น้อยนี่ซนเหลือเกิน
๑o. ประโยคใดมีรูปแบบประโยคที่แตกต่างไปจากประโยคในภาษาไทย
ก. โรงเรี ยนนี้สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒
ข. พรุ่ งนี้ให้นกเรี ยนทุกคนนาเครื่ องมือเขียนแบบมาด้วยนะ
ั
ค. ห้องนี้มีนกเรี ยนชาย ๑๔ คน นักเรี ยนหญิง ๑๖ คน
ั
ง. หนังสื อเล่มนี้แต่งโดย อัมพร ภิญญาคง

เวลาทาอย่าแอบดูเฉลยเราต้องมีความซื่ อสัตย์
ต่อตนเองนะขอให้โชคดีทุกคนคะ

ผมจะซื่อสัตย์
ไม่แอบดูคาเฉลยครับ

หน้ า ๓๐
ทาเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว
ั
ลองตรวจดูกบเฉลยได้เลยนะ

เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๑
สาหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๑
คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน)

เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๑
เฉลยตอนที่ ๑
๑. ภาษาคืออะไร อธิบายตามความเข้าใจของผูเ้ รี ยน
ตอบ ภาษามีความหมายใน ๒ ลักษณะ คือ
๑) ความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การแสดงออกด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อสื่ อความหมาย
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดและความต้องการระหว่างกัน โดยมีระบบกฎเกณฑ์
ที่เข้าใจกันได้ระหว่างผูส่งสารกับผูรับสาร แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ
้
้
-วัจนภาษา คือ ภาษาถ้อยคา
-อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่ถอยคา
้
๒) ความหมายอย่างแคบ หมายถึง ถ้อยคาที่มนุษย์ใช้สื่อความหมายโดยใช้เสี ยงพูด
ซึ่งหมายถึง วัจนภาษา หรื อภาษาพูดนันเอง
่

หน้ า ๓๑
๒. ธรรมชาติของภาษามีลกษณะอย่างไรบ้าง บอกมา ๕ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
ั
ตอบ ๑) ภาษาเป็ นเครื่ องมือสื่ อสารของมนุษย์ เป็ นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู ้ ความคิด
ความรู้สึกความต้องการของบุคคลหนึ่งไปสู่ บุคคลหนึ่งเพื่อให้เกิดความเข้าใจกัน
๒) ภาษาประกอบด้ว ยเสี ย งและความหมาย ภาษาที่ แ ท้จ ริ ง ของมนุ ษ ย์ คื อ ภาษาพู ด
ประกอบด้ว ยเสี ย งพู ด กับ ความหมายซึ่ งเรี ย กว่า หน่ ว ยภาษา ถ้า มี แ ต่ เ สี ย งพู ด ไม่ มี
ความหมาย หรื อสื่ อความหมาย

ไม่ ไ ด้ เสี ย งพู ด นั้ น ก็ ไ ม่ เ ป็ นภ าษ า ถ้ า มี แ ต่

ความหมายไม่เป็ นเสี ยงพูด ก็เป็ นเพียงความคิดยังไม่เป็ นภาษาที่สมบูรณ์ ภาษาจึงต้องมี
ทั้งเสี ยงและความหมายจึงสามารถสื่ อสารได้เข้าใจตรงกัน
๓) ภาษาเป็ นเรื่ องของการใช้สัญลักษณ์ ร่วมกัน ภาษาหลายภาษามี วิธีการถ่ ายเสี ยงเป็ น
ตัวอักษร ใช้ตวอักษรเป็ นสัญลักษณ์ แทนเสี ยง ใครใช้ภาษาใดก็ตองเรี ยนรู ้ สัญลักษณ์
ั
้
่
ของภาษานั้น ๆ เช่น หญิงผูให้กาเนิด ภาษาไทยใช้วา “แม่” ภาษาอังกฤษ “mother”
้
๔) หน่ วยในภาษาประกอบกันเป็ นหน่ วยที่ ใหญ่ข้ ึ น หน่ วยในภาษาหรื อส่ วนประกอบของ
ภาษาจะประกอบกันขึ้ นเป็ นหน่ วยที่ ใหญ่ข้ ึ นได้ นับ ตั้งแต่หน่ วย เสี ยง คา ประโยค ใน
ภาษาไทย เสี ยง (พยางค์) หนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยเสี ยงย่อย ๆ ๓ ชนิด ได้แก่ เสี ยงพยัญชนะ
เสี ยงสระและเสี ยงวรรณยุกต์ซ่ ึ งนามาประกอบเป็ นคาได้มากมาย และคาเหล่านี้ นามาเรี ยง
กันเป็ นกลุ่มคาและประโยคยาวออกไปได้อีกเรื่ อย ๆ
๕) ภาษามีระดับ สังคมผูใช้ภาษาเดียวกันประกอบด้วยบุคคลที่แตกต่างกันด้วยเพศ วัย อาชี พ
้
การศึ กษา ชาติ กาเนิ ด ฯลฯ ซึ่ งทาให้เกิ ดมี ภาษาหลายระดับชั้นตามสภาพของผูใช้ เช่ น
้
ภาษาเด็ก ภาษาวัยรุ่ น
๓. พลังของภาษามีอะไรบ้าง บอกมา ๓ ข้อ
ตอบ ๑) ภาษาช่วยธารงสังคม
๒) ภาษาแสดงความเป็ นปัจเจกบุคคล
๓) ภาษาช่วยให้เกิดการพัฒนา

หน้ า ๓๒
เฉลยตอนที่ ๒
√

๑.

√

๒.

√

๓.

√

๔.

√

๙.

๕.

√

๑๐.

๖.
√

๗.
๘.

เฉลยตอนที่ ๓
๑. ใส่ บาตร

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ตักบาตร

๒. แอร์

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

เครื่ องปรับอากาศ

๓. เสื้ อสี แจ๊ด

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

เสื้ อสี สด

๔. ลงขัน

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ร่ วมกันออกเงิน

๕. เผาศพ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ฌาปนกิจศพ

๖. ไปนอก

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ไปต่างประเทศ

๗. เพื่อนคู่หู

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

เพื่อนสนิท

๘. ดูกระจก

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ส่ องกระจก

๙. อ้วนขึ้น

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

สมบูรณ์ข้ ึน

๑o. งานบวช

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

พิธีอุปสมบท

่
๑๑. ห้องนังเล่น ภาษาระดับทางการใช้วา
่

ห้องพักผ่อน

่
๑๒. บาร์, ไนท์คลับ ภาษาระดับทางการใช้วา สถานบันเทิงยามราตรี
๑๓. ขอใช้งบ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ขอใช้งบประมาณ

๑๔. ขี้เกียจ

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

เกียจคร้าน

๑๕. สลัม

่
ภาษาระดับทางการใช้วา

ชุมชนแออัด

หน้ า ๓๓
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๑
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

ข้ อ

เฉลย

๑.

ก.

๖.

ค.

๑.

ค.

๖.

ก.

๒.

ข.

๗.

ข.

๒.

ง.

๗.

ง.

๓.

ง.

๘.

ง.

๓.

ก.

๘.

ข.

๔.

ค.

๙.

ข.

๔.

ข.

๙.

ง.

๕.

ค.

๑๐.

ข.

๕.

ก.

๑๐.

ง.

ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว
ถูกกี่ขอเอ่ย
้

เกณฑ์ การตัดสิ น
ระดับ 0 – 4 คะแนน

ระดับคุณภาพ
ต้องปรับปรุ ง

ระดับ 5 – 6 คะแนน

พอใช้

ระดับ 7 – 8 คะแนน

ดี

ระดับ 9 – 10 คะแนน

ดีมาก

สรุ ปผลการประเมิน
่
 ผ่าน
 ไม่ผาน
คะแนนทีได้
่

ระดับคุณภาพ

………

……….

หน้ า ๓๔

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งMapowzee Dahajee
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 

La actualidad más candente (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่งหนังสือนำส่ง
หนังสือนำส่ง
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 

Similar a 1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)

เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2yungpuy
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมalibaba1436
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)Nok Yaowaluck
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าNok Yaowaluck
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1chartphysic
 

Similar a 1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34) (20)

เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษาใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
ใบความรู้เรื่อง ธรรมชาติของภาษา
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรมความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
ความสำคันและคุณค่าวรรณกรรม
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
วิเคราะห์มาตรฐาน ( งานใหม่)
 
วิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊าวิเคราะห์จ๊า
วิเคราะห์จ๊า
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 

Más de อัมพร ศรีพิทักษ์

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียนอัมพร ศรีพิทักษ์
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)อัมพร ศรีพิทักษ์
 

Más de อัมพร ศรีพิทักษ์ (11)

0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
0 คำแนะนำการใช้เอกสารประกอบการเรียน
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
6 การพูดเพื่อติดต่อสื่อสารในชีวิตประจำวัน(188-208)
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
2 ภูมิปัญญาภาษาไทยในสำนวนโวหาร(40-68)
 

1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)

  • 1. บทที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย ๑. ความหมายของภาษา ภาษามีความหมายใน ๒ ลักษณะ คือ ๑) ความหมายอย่า งกว้า ง หมายถึ ง การแสดงออกด้ว ยวิ ธี ก ารใด ๆ เพื่ อ สื่ อ ความหมายถ่ายทอดความรู ้สึก ความคิดและความต้องการระหว่างกัน โดยมีระบบกฎเกณฑ์ที่ เข้าใจกันได้ระหว่างผูส่งสารกับผูรับสาร ภาษาตามความหมายนี้ จึงรวมถึ ง ภาษาสัตว์ ภาษา ้ ้ ท่าทาง ภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใบ้ ฯลฯ แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ ๑.๑) วัจนภาษา คือ ภาษาถ้อยคา ได้แก่ ภาษาพูดและภาษาเขียน ๑.๒) อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่คา ได้แก่ กิริยาอาการ การแต่งกาย สายตา น้ าเสี ยง การสัมผัส เครื่ องหมายหรื ออาณัติสัญญาณ ฯลฯ ๒) ความหมายอย่า งแคบ หมายถึ ง ถ้อยค าที่ ม นุ ษ ย์ใ ช้สื่ อความหมายโดยใช้ เสี ยงพูด ซึ่งหมายถึงวัจนภาษา หรื อภาษาพูดนันเอง ภาษาตามความหมายนี้จึงไม่รวมถึงภาษา ่ เขียน ซึ่ งเป็ นสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสี ยง เพราะภาษาพูดเป็ นภาษาที่ทุกชนชาติมี แต่บางชนชาติ อาจไม่มีภาษาเขียน ภาษา เป็ นอย่างไร อยากรู ้จง ..น้อง ๆ ต้องตั้งใจเรี ยนต่อนะ... ั จะได้ไม่ตองเป่ าขลุ่ยเลี้ยงเจ้าทุยแบบไข่นุย ้ ้
  • 2. ๒. ธรรมชาติของภาษา ธรรมชาติของภาษามีลกษณะดังนี้ ั ๑) ภาษาเป็ นเครื่ อ งมื อ สื่ อ สารของมนุ ษ ย์ เป็ นตัว กลางในการถ่ า ยทอดความรู ้ ความคิด ความรู ้สึก ความต้องการของบุคคลหนึ่ งไปสู่ บุคคลหนึ่ งเพื่อให้เกิดความเข้าใจกัน หากปราศจากภาษามนุษย์จะไม่สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ๒) ภาษาประกอบด้ วยเสี ยงและความหมาย ภาษาที่แท้จริ งของมนุษย์ คือ ภาษา พูดประกอบด้วยเสี ย งพูดกับ ความหมาย ซึ่ งเรี ย กว่า หน่ วยภาษา ถ้า มี แต่ เสี ย งพูดไม่ มี ความหมายหรื อสื่ อความหมายไม่ได้เสี ยงพูดนั้นก็ยงไม่เป็ นภาษา ถ้ามีแต่ความหมายไม่ ั เป็ นเสี ย งพูดก็เป็ นเพี ยงความคิ ดยังไม่ เป็ นภาษาที่ ส มบูรณ์ ภาษาจึ งต้องมี ท้ งเสี ยงและ ั ความหมายจึงจะสามารถสื่ อสารได้เข้าใจตรงกัน ภาษาพูดทีเ่ รารู้ จักแต่ เด็ก ๆ คือ ร้ องไห้ หิวนมจังแม่ .... ั คาในภาษาส่ วนมากเสี ยงกับความหมายไม่ได้สัมพันธ์กน คนแต่ละชาติจึงใช้ คาไม่เหมือนกันการที่เสี ยงหนึ่ งมีความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ ง เป็ นเรื่ องของการตกลง ั กันของคนแต่ละกลุ่มแต่ละพวกภาษาไทยบางคาเสี ยงกับความหมายอาจสัมพันธ์กนใน ลักษณะต่าง ๆ ได้แก่ ๑) สิ่ งต่าง ๆ รอบตัว เช่น เพล้ง โครม ปั ง กริ๊ ก แกร๊ ก ฯลฯ ๒) ชื่อสัตว์บางชนิ ดใกล้เคียงกับเสี ยงของสัตว์น้ น ๆ เช่น กา แมว จิ้งจก ตุกแก ั ๊ ๓) ชื่ อสิ่ งต่าง ๆ บางประเภทมี เสี ยงใกล้เคี ยงกับเสี ยงที่ เกิ ดจากสิ่ งนั้น ๆ เช่น หวูด ออด กริ่ งรถตุก ๆ ๊ หน้ า ๖
  • 3. คาบางคามิได้เป็ นการเลียนเสี ยงในธรรมชาติ แต่เสี ยงสระ ั หรื อพยัญชนะในคานั้นก็อาจจะมีความสัมพันธ์กบความหมาย เช่น อะไรบ้าง อธิ บายให้ฟังหน่อยครับ ครู จะอธิบายให้ ฟังนะ - ขุ่น แค้ น เคียด ขึง ขัด หมายถึง การแสดงอารมณ์ โกรธ ไม่ พอใจ ้ - เก เซ เฉ เป๋ เย้ เห หมายถึง ไม่ ตรง - เผลอ เหม่ อ เหรอ เป๋ อ เด๋ อ เซ่ อ เท่ อ หมายถึง ไม่ มีสติ งุนงง ่ ั ่ ้ สรุ ปได้วา คาที่เสี ยงกับความหมายสัมพันธ์กนนั้นมีอยูบาง แต่ ั คาที่เสี ยงกับความหมายไม่สัมพันธ์กนมีมากกว่า คนที่พูดภาษาเดียวกัน จะตกลงกันว่าเสี ยงใดหมายความว่าอย่างไร ถ้าใครคนใด คนหนึ่ งใช้ เสี ยงหนึ่ งใช้เสี ยงให้มีความหมายอย่างหนึ่ ง โดยไม่ได้ตกลงกันไว้ก่อน ย่อมสื่ อความหมายกับผูอื่นไม่ได้ ้ หน้ า ๗
  • 4. ๓) ภาษาเป็ นเรื่ องของการใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ภาษาหลาย ภาษามีวิธีการถ่ายเสี ยงตัวอักษร ใช้ตวอักษรเป็ นสัญลักษณ์ แทน ั เสี ย ง แต่ ล ะหมู่ ช นแต่ ล ะภาษาใช้สั ญลัก ษณ์ แทนสิ่ ง เดี ย วกันแต่ ต่างกัน ใครใช้ภาษาใดก็ตองเรี ยนรู ้สัญลักษณ์ของภาษานั้น ๆ ้ ยกตัวอย่างให้ฟังได้ไหมครับ เช่ น หญิ ง ผู ้ใ ห้ ก าเนิ ด ภาษาไทยใช้ว่ า “แม่ ” ่ ภาษาอังกฤษใช้วา “mother” จุกเข้าใจแล้วครับ ขอบคุณมากนะครับคุณครู ๔) หน่วยในภาษาประกอบกันเป็ นหน่ วยที่ใหญ่ข้ ึน หน่ วย ในภาษาหรื อส่ วนประกอบของภาษาจะประกอบกันขึ้นเป็ นหน่ วยที่ ใหญ่ ข้ ึ น ได้ นับ ตั้ง แต่ หน่ ว ยเสี ย ง ค า ประโยค ในภาษาไทย เสี ย ง (พยางค์)หนึ่ ง ๆ จะประกอบด้วยเสี ย งย่อย ๆ ๓ ชนิ ด ได้แก่ เสี ย ง พยัญชนะ เสี ยงสระและเสี ยงวรรณยุกต์ ซึ่ งนามาประกอบเป็ นคาได้ มากมาย และค าเหล่ า นี้ นามาเรี ย งกันเป็ นกลุ่ ม ค าและประโยค ซึ่ ง สามารถนามารวมหรื อขยายประโยคให้ยาวออกไปอีกเรื่ อย ๆ หน้ า ๘
  • 5. ครู จะยกตัวอย่ างให้ ฟัง นะ เอ... เช่ น อะไรบ้ างครับ เช่น เขาไปโรงเรียน เมื่อวานนีเ้ ขาไม่ สบาย เมื่อวานนีเ้ ขาไม่ สบายแต่ กยงไปโรงเรียน เพราะเขาเป็ นเด็กทีมีความรับผิดชอบ ็ั ่ ๕) ภาษามีระดับ สังคมผูใช้ภาษาเดี ยวกันประกอบด้วยบุคคลที่ ้ แตกต่างกันด้วย เพศ วัย อาชีพ การศึกษา ชาติกาเนิ ด ฯลฯ ซึ่ งทาให้เกิดมี ภาษาหลายระดับชั้นตามสภาพของผูใช้ เช่น ภาษาเด็ก ภาษาวัยรุ่ น ภาษา ้ เฉพาะอาชี พ ภาษาสาหรับพระสงฆ์ หรื อแบ่งตามสถานการณ์ในการใช้ ภาษาเป็ นภาษาปาก ภาษากึ่งแบบแผน และภาษาแบบแผน ่ ๖) ภาษาทุกภาษาย่ อมมีความสมบูรณ์ ในตัวเอง เพราะคาที่มีอยูใน แต่ ล ะภาษาย่อ มมี เ พี ย งพอที่ จ ะใช้สื่ อ สารความคิ ด ความเข้า ใจกัน ได้ ระหว่างคนที่พูดภาษานั้น ๆ เมื่อติดต่อกับชนชาติอื่นรั บวัฒนธรรมและ เทคโนโลยี ใ หม่ ๆ เข้า มาก็ จ ะมี ค าใหม่ ๆ เกิ ด ขึ้ น เพื่ อ ให้ ค รอบคลุ ม ประสบการณ์ดงกล่าวด้วยวิธีการยืมคาหรื อการบัญญัติศพท์ เป็ นต้น ั ั หน้ า ๙
  • 6. ๗) ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ภาษาที่ยงใช้สื่อสารย่อมมีการเปลี่ยนแปลง ทั้งใน ั ด้านเสี ยงความหมาย ถ้อยคา สานวนและประโยค เช่น คาว่า “ถึง” ในสมัยสุ โขทัยออก เสี ยงว่า “เถิง” คาว่า “รอด” เดิมหมายความว่า “ถึง” ปัจจุบนหมายถึง “แคล้วคลาด” เป็ น ั ต้น การเปลี่ยนแปลงของภาษาเป็ นเรื่ องปกติธรรมดาของทุกภาษา ภาษาที่ไม่เปลี่ยนแปลง คือภาษาที่ตายแล้ว เช่น บาลี สันสกฤต เป็ นต้น ๗.๑) การพูดจาในชี วตประจาวัน อาจมีการกลายเสี ยง กลมกลืนเสี ยงหรื อเสี ยง ิ กร่ อนไปบ้าง เช่น ดิฉน เป็ นเดี้ยน อย่างนี้ เป็ นอย่างงี้ มหาวิทยาลัย เป็ นมหาลัย เป็ นต้น ั ๗.๒) อิท ธิ พ ลของภาษาอื่ น เมื่ อ มี ก ารยื ม ค าหรื อ ประโยคภาษาอื่ น อาจมี อิทธิ พลทาให้ภาษาไทยเปลี่ยนแปลงไป เช่น มีเสี ยงพยัญชนะควบกล้ ามากขึ้น ได้แก่ ฟร บร บล ดร เป็ นต้นมี แบบประโยคเพิ่มขึ้น เช่ น เขาพบตัวเองอยู่ในห้องเรี ยน เขาจับรถไฟไป กรุ งเทพฯ ๗.๓) ความเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้ อม เมื่อมี สิ่งใหม่ ๆ เกิ ดขึ้ นก็จะต้องมี ศัพท์ใช้เรี ยกสิ่ งที่เกิดขึ้นใหม่เหล่านี้ เมื่อสิ่ งใดสู ญไปคาที่เคยเรี ยกก็จะสู ญไปจากภาษาด้วย คนรุ่ นใหม่อาจไม่รู้ความหมาย หรื อเข้าใจ ความหมายผิดไปได้ ๗.๔) การเรี ยนภาษาของเด็ก เด็กเรี ยนภาษาจากบุคคลทั้งหลายที่ อยู่ใกล้ชิด และพัฒนาเป็ นภาษาของตนเอง ซึ่ ง อาจมี ความหมายไม่ ตรงกับภาษาของผูใหญ่ เมื่ อเด็ ก ้ ถ่ายทอดภาษาของตนเองก็จะมีลกษณะแตกต่างออกไป ั การเปลี่ ย นแปลงของภาษาอาจเกิ ดจาก หลายสาเหตุ เช่นอะไรบ้างละครับ หน้ า ๑๐
  • 7. เช่ น แฟน แต่ เดิมหมายถึง ผู้คลังไคล้ในสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ง ่ ปัจจุบันหมายถึง คนรัก สามี ภรรยา หรือผู้ทชอบพอกัน ี่ นักเลง แต่ เดิมหมายถึง ลูกผู้ชาย คนจริง ปัจจุบันหมายถึง คนเกเร ไม่ ดี ๘) ภาษาเกิดจากการเรี ยนรู ้โดยมีสิ่งแวดล้อมเป็ นตัวกาหนด มิใช่สิ่งที่ติดตัว มาแต่ ก าเนิ ดหรื อเกิ ดจากสัญชาตญาณ เช่ น เด็ ก เริ่ มเรี ย นรู ้ ภาษาจากพ่อแม่ และ ผูเ้ ลี้ ยงดู จากนั้นการเรี ยนรู ้ จะขยายตัวเป็ นระบบยิ่งขึ้น เมื่อเด็กเข้าโรงเรี ยน และ เข้าสู่ สังคมที่ขยายกว้างกว่าเดิมไปเรื่ อย ๆ ๙) ภาษาพูด สามารถใช้ ติ ด ต่ อ สื่ อ สารได้โ ดยไม่ จ ากัด เพศและวัย ของ ่ ผูสื่อสาร ไม่วาคนวัยใดก็สามารถติดต่อสื่ อสารกันได้ ถ้าพูดภาษาเดียวกัน ้ หน้ า ๑๑
  • 8. ภาษาพูดใช้ทาอะไร พี่รู้ เดี๋ยวพี่จะอธิบาย ได้บางครับ ้ ให้ฟังเองนะน้องจุก ๑o) ภาษาพูดสามารถใช้บอกเล่ าเหตุ การณ์ ไ ด้ ทั้งในอดี ต ปั จจุบนและอนาคต ไม่จากัดเวลาและสถานที่ ั ๑๑) ภาษาเป็ นวัฒนธรรม คือ มีการตก ลงยอมรั บกันในสังคม สะสมถ่ ายทอดสื บ ต่ อ กั น มาและมี ก ารปรั บ ปรุ งแก้ ไ ขให้ ทันสมัยเช่นเดียวกับวัฒนธรรมอื่น ๆ ๑๒) ภาษาเป็ นเครื่ องมื อ ในการถ่ า ยทอด วัฒ นธรรมและวิ ท ยาการต่ า ง ๆ ท าให้ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๑๓) ภาษามี พลังในการงอกงามไม่รู้จบ ผู้ใ ช้ ภ าษาสามารถสร้ า งประโยคเพื่ อ สื่ อ ความคิดของตนเองได้โดยไม่รู้จกจบสิ้ น ั หน้ า ๑๒
  • 9. ๑๔) ภาษามีลกษณะเป็ นสากล ทุกภาษาจะมีลกษณะคล้ายคลึงกัน ได้แก่ ั ั ๑๔.๑) ด้านเสี ยง ทุกภาษาประกอบด้วย โครงสร้างทางเสี ยง คือ เสี ยงสาคัญใน ภาษา และวิธีใช้ เช่น ภาษาอังกฤษมีเสี ยง g, z แต่ภาษาไทยไม่มี ภาษาไทยเสี ยงวรรณยุกต์ สามัญ เอก โท ตรี จัตวา แต่ภาษาอังกฤษไม่มี ๑๔.๒) ด้านไวยากรณ์ แต่ละภาษามีการนาหน่วยเสี ยงมาเรี ยงกันเข้าอย่างมีระบบ เกิ ดเป็ นโครงสร้ างของการสื่ อความหมายขึ้น เช่ น ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาไทย มักเรี ยง ประโยคแบบประธาน กริ ย า กรรม แต่ ภาษาญี่ ปุ่ นมัก เรี ย งประโยคแบบประธาน กรรม กริ ย า ในขณะที่คนไทยพูดว่า “ฉันกินข้าว” คนญี่ปุ่นจะพูดว่า “ฉันข้าวกิน” ๑๔.๓) มีการสร้างศัพท์ใหม่จากศัพท์เดิม โดยอาจจะเปลี่ ยนแปลงศัพท์เดิ มหรื อ นาศัพท์อื่นมาประสมกับศัพท์เดิม เช่น การประสมคา สมาส ซ้อนคา ซ้ าคา ฯลฯ ๑๔.๔) แต่ละภาษามีการใช้คาในความหมายใหม่ เรี ยกว่า สานวน เช่น ฝนตกไม่ ทัวฟ้ า ไม่เห็นโลงศพไม่หลังน้ าตา ่ ่ ๑๔.๕) มีคาชนิดต่าง ๆ คล้ายกัน เช่น นาม กริ ยา วิเศษณ์ คาขยาย ฯลฯ ๑๔.๖) มีวธีสื่อความคิดคล้าย ๆ กัน เช่น ถาม ตอบ อ้อนวอน ปฏิเสธ สั่ง ฯลฯ ิ ๑๔.๗) มีการขยายประโยคให้ยาวออกไปได้เรื่ อย ๆ ๑๔.๘) ทุกภาษาย่อมมีการเปลี่ยนแปลง เพื่อน ๆ เข้าใจกันดีแล้วใช่ไหมคะ เรี ยนเรื่ องต่อไปกันเถอะ... หน้ า ๑๓
  • 10. ๓. พลังของภาษา พลังของภาษา เป็ นอย่างไรนะ ภาษาเป็ นเครื่ องมือในการดารงชีวตของมนุษย์ มนุษย์ทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู้ ิ ภาษามาแต่กาเนิด ภาษาช่วยให้มนุษย์รู้จกคิด แสดงความคิดออกมาด้วยการพูด การเขียน และ ั การกระทา เป็ นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวเนื่องกันเป็ นลูกโซ่ ดังภาพ ความคิด การกระทา การแสดงออก (พูด-เขียน) ภาษาสาคัญอย่างไรครับ เมื่อมนุ ษย์ใช้ความคิ ดและแสดงความคิ ดนั้นด้วยภาษา ย่อมส่ งผลถึ งการกระทา และผลของการกระท าก็ ส่ ง ผลถึ ง ความคิ ด ในล าดั บ ถั ด ไป ท าให้ เ กิ ด ความคิ ด เชิ ง สร้ า งสรรค์ที่พ ฒนายิ่ง ขึ้ นโดยล าดับนั่น คื อ พลัง ของภาษาส่ งผลต่ อการกระท า ั และความคิดนันเอง ความสาคัญของภาษาสรุ ปได้ ดังนี้ ่ หน้ า ๑๔
  • 11. ๑) ภาษาช่วยธารงสังคม กล่าวคือภาษาช่วยให้มนุ ษย์มีไมตรี ต่อกัน ประพฤติตนเหมาะ แก่ฐานะของตนและปฏิบติตามกฎเกณฑ์ ระเบียบวินยของสังคม ั ั ๒) ภาษาแสดงความเป็ นปั จเจกบุคคล ภาษาเป็ นเครื่ องแสดงตัวตนของแต่ละบุคคลให้ ปรากฏนอกเหนือไปจากรู ปลักษณ์ภายนอก เช่น ลีลาการพูด การเขียน ซึ่ งเป็ นลักษณะเฉพาะตัว ๓) ภาษาช่วยให้เกิดการพัฒนา มนุ ษย์ใช้ภาษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น อภิปราย โต้แย้ง เพื่อนาไปสู่ ผลสรุ ปและขยายความรู ้ความคิดให้เจริ ญงอกงามยิงขึ้น ่ ๔) ภาษาช่วยให้เกิดการเรี ยนรู ้ มนุ ษย์ใช้ภาษาในการเรี ยนรู ้ จดบันทึกความรู ้ แสวงหา ความรู ้และถ่ายทอดความรู ้จากคนรุ่ นหนึ่งไปสู่ อีกรุ่ นหนึ่ง ๕) ภาษาช่ ว ยก าหนดอนาคต โดยใช้ รู ปแบบต่ า ง ๆ เช่ น ค าสั่ ง แผน ค าสั ญ ญา คาพิพากษา กาหนดการ คาพยากรณ์ เป็ นต้น ๖) ภาษาช่ ว ยจรรโลงใจ หมายถึ ง ภาษาท าให้ เ กิ ด ความเพลิ ด เพลิ น ซาบซึ้ ง ได้รั บ ความสุ ขใจหรื อยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น เช่น บทกวี นิ ทาน ละคร สุ นทรพจน์ คาอวยพร สุ ภาษิต เพลง ๗) ภาษามีอิทธิ พลต่อมนุ ษย์ บางครั้งมนุ ษย์ลืมไปว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ที่ใช้เพื่อ สื่ อความหมายให้เข้าใจกันเท่านั้น จึงตกอยู่ใต้อิทธิ พลของภาษา เช่ น คนไทยรังเกี ยจต้นลันทม ่ และระกาไม่นิยมปลูกไว้ในบริ เวณบ้าน เพราะชื่อต้นไม้ไม่เป็ นมงคลไม่เป็ นที่พึงปรารถนา คาว่า ชุมชนแออัด น่าฟัง กว่าสลัม หรื อ ประเทศกาลังพัฒนา ดูดีกว่า ประเทศด้อยพัฒนา เป็ นต้น ๘) ภาษามี พ ลัง ในตัวเอง เนื่ องจากภาษาประกอบด้วยเสี ย งและความหมาย การใช้ ถ้อยคาย่อมก่อให้เกิดความรู ้สึกต่าง ๆ แก่ผรับสาร ทั้งในด้านความรัก ความชัง รังเกียจ หรื อชื่ น ู้ ชอบได้ท้ งสิ้ น ั หน้ า ๑๕
  • 12. ๔. ธรรมชาติของภาษาไทย ธรรมชาติของภาษาไทยเป็ นอย่างไร ใครช่วยอธิ บายให้ฟังทีครับ ได้เลย...พี่จอยจะอธิบายให้ฟังเองตั้งใจอ่านนะครับ ้ ธรรมชาติของภาษาไทยมีลกษณะเฉพาะซึ่ งแตกต่างจากภาษาอื่น ดังนี้ ั ๑) ภาษาไทยมี ล ัก ษณะเป็ นภาษาค าโดด คื อ ค าแต่ ล ะค ามี ค วามสมบู ร ณ์ ใ นตัว เอง สามารถนาไปใช้ได้โดยอิสระ ไม่ตองมีการเปลี่ ยนแปลงรู ปคาเพื่อบอกหน้าที่ในประโยค ต้อง ้ อาศัยคาอื่น ๆ มา ประกอบเพื่อบอกลักษณะ เช่น นิดทางานแล้ว เอกกาลังจะไปเที่ยว ่ นักเรี ยนหลายคนอยูในห้อง ลูกสะใภ้ คนนี้ขยัน เมื่อวานนีเ้ ขาไม่สบาย ฝูงแพะเหยียบย่าข้าวในนา ๒) คาในภาษาไทยส่ วนมากเป็ นคาพยางค์เดี ยว คาที่ใช้มาแต่เดิ มในภาษาไทย หรื อที่ เรี ยกว่าคามูลมักเป็ นคาพยางค์เดียว ส่ วนใหญ่เป็ นคาหลัก ๆ ที่ใช้ในการสื่ อสารประจาวัน ได้แก่ คาที่ใช่เรี ยกเครื อญาติ เช่น พ่อ แม่ ลุง ฯลฯ คาเรี ยกชื่ออวัยวะ เช่น หัว ปาก มือ ฯลฯ คาเรี ยกชื่อธรรมชาติ เช่น น้ า ไฟ ป่ า ฯลฯ คากริ ยาทัวไป เช่น กิน ยืน เดิน ฯลฯ ่ คาเรี ยกเครื่ องใช้ เช่น มีด จอบ โอ่ง ฯลฯ คาขยาย เช่น ดี ชัว เร็ ว อ้วน เบา ฯลฯ ่ เข้าใจกันไหมครับ หน้ า ๑๖
  • 13. ถ้าเข้าใจกันดีแล้วเรามาศึกษากันต่อ เลยนะครับ จ้อยอธิ บายได้เก่งมากเลยคะ เรามาเรี ยนต่อกันเลยดีกว่า ๓) ภาษาไทยมีเสี ยงวรรณยุกต์ช่วยจาแนกความหมายของคา คาที่สะกดเหมือนกัน ถ้าใช้วรรณยุกต์ต่างกันความหมายจะแตกต่างกันไปด้วย เช่น ขา ข่า ข้า, เสื อ เสื่ อ เสื้ อ ฯลฯ ๔) คาไทยแท้มีตวสะกดตรงตามมาตรา มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมีดงนี้ ั ั แม่กก ใช้ “ก” เป็ นตัวสะกด เช่น กก ปก ชุก ลุก รก สก จก ปัก ฯลฯ แม่กด ใช้ “ด” เป็ นตัวสะกด เช่น บด จัด นัด กัด ติด ตัด ฯลฯ แม่กบ ใช้ “บ” เป็ นตัวสะกด เช่น ตับ กบ รี บ จบ นับ สื บ คบ ฯลฯ แม่กง ใช้ “ง” เป็ นตัวสะกด เช่น กอง นัง นิ่ง จึง แท่ง กง ลวง ลิง ฯลฯ ่ แม่กน ใช้ “น” เป็ นตัวสะกด เช่น กิน นอน ก้น ข้น วุน หวาน ต้น แค้น ฯลฯ ้ แม่กม ใช้ “ม” เป็ นตัวสะกด เช่น ส้ม ชม มุม ชาม ขาม คม สาม ฯลฯ แม่เกย ใช้ “ย” เป็ นตัวสะกด เช่น เขย คอย หน่อย โวย ตาย น้อย จ่าย ฯลฯ แม่เกอว ใช้ “ว” เป็ นตัวสะกด เช่น ก้าว เดียว เขี้ยว แมว ขาว แจ๋ ว แล้ว ฯลฯ พวกเราทุกคนก็อยากเก่งเหมือนจ้อยจังครับ... ครู ดีใจที่เด็ก ๆ คิดได้ ต้องตั้งใจเรี ยนนะคะ หน้ า ๑๗
  • 14. ๕) คาไทยคาเดียวมีหลายความหมายและทาหน้าที่ในประโยคได้หลายอย่างคาไทย แท้คาหนึ่ ง ๆ ส่ วนใหญ่มีหลายความหมายและหน้าที่ ของคาจากตาแหน่ งของคาในวลี หรื อ ประโยค เช่น ขัน ไก่ขนตอนเช้ามืด (เป็ นอกรรมนกริ ยา แสดงอาการร้องของไก่และนกบางชนิด) ั เขาขันเชือกจนแน่น (เป็ นสกรรมกริ ยา หมายถึง ทาใช้ตึง ทาใช้แน่น) ขันใบนี้เก่าแล้ว (เป็ นคานาม หมายถึง ภาชนะสาหรับตักน้ า) เขาพูดจาน่าขัน (เป็ นคาวิเศษณ์ หมายถึง น่าหัวเราะ) ๖) การสร้ างคาขึ้ นใช้ในภาษาไทยมี หลายวิธี ที่ เป็ นการสร้ างคาแบบไทยแท้ คื อ การนาคามูลมารวมกันเกิดเป็ นคาใหม่ข้ ึน เช่น คาประสม คาซ้อน คาซ้ า ส่ วนที่เป็ นการสร้าง คาของภาษาอื่น เช่น คาสมาส คาแผลง เป็ นต้น ดัวอย่าง คาประสม : พลเมือง ของขลัง รถไฟ เรี ยงเบอร์ คุยโต คาซ้ อน : เลือกสรร สู ญหาย ภูเขา รู ปร่ าง กักตุน ต้มตุ๋น แบบฟอร์ ม คาซ้า : ดี ๆ ชัว ๆ งู ๆ ปลา ๆ เร็ ว ๆ ลูก ๆ หลาน ๆ ่ คาสมาส : โทรทัศน์ วิทยาลัย วีรชน สังฆทาน บุพเพสันนิวาส มโหฬาร คาแผลง : กาเนิด ไพศาล จานรรจา อานวย ตารวจ อานาจ ๗) การเรี ยงลาดับคาในประโยคมีความสาคัญมาก เพราะแสดงถึง ั ั หน้าที่และความสัมพันธ์กนของคา ถ้าเรี ยงลาดับคาในประโยคสลับที่กน ความหมายของประโยคก็จะเปลี่ยนไป อาจทาให้สื่อความหมายไม่ได้ หรื อ สื่ อความหมายไม่ตรงตามความต้องการ เช่น เขายิงนกถูก นกถูกเขายิง เขายิงถูกนก นกเขาถูกยิง ยิงนกถูกเขา นกเขายิงถูก หน้ า ๑๘
  • 15. ๘) ภาษาไทยมีลกษณะนาม คาลักษณะนาม เป็ นคาที่สาหรับประกอบข้าง ั หลังนาม หรื อ คาบอกจานวนนับ เพื่อบอกให้รู้ลกษณะรู ปร่ าง ขนาด และปริ มาณ ั ของนามข้างหน้า เช่น บ้านหลังโน้น ช้าง ๕ เชือก รถไฟ ๓ ขบวน แหวนวงนั้น ผ้าผืนนี้ ไฟดวงเล็ก ่ ่ ๙) คาขยายอยูหลังคาที่ถูกขยาย คาขยายในภาษาไทยโดยทัวไปมักจะอยูหลังคา ่ ที่ถูกขยาย เช่น เก้าอี้ขาวในห้องสี ฟ้า เขากินจุ คนอ้วนเดินช้า ห้องนี้สวยมาก เด็กดีมีคนรักมาก คนนอนดึกมักตื่นสาย ๑o) คาไทยแท้ไม่นิยมเสี ยงควบกล้ า คาไทยแม้ส่วนมากใช้อกษรเดียวเป็ นพยัญชนะต้น ั มากกว่าอักษรควบกล้ า คาควบกล้ าในภาษาไทย มักจะเป็ นคาที่รับมาจากภาษาอื่น คาควบกล้ าใน ภาษาไทยจึงไม่มีมากนัก เช่น กราม กลอน กวาด ตรึ ง แปร แปลก หลอกหลอน ส่ วนเสี ยงควบกล้ าที่เกิดขึ้นใหม่ ได้แก่ เสี ยง /ดร /ฟร/ ฟล/ บร/ บล/ เป็ นหน่วยเสี ยง ที่ได้รับอิทธิ พลจากภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เช่น ดรัมเมเยอร์ ฟรี บรี ส ฯลฯ ๑๑) คาไทยแท้ไม่ มีตวการั นต์ (ตัวการั นต์ หมายถึ ง อักษรที่ ไ ม่ออกเสี ย ง) คาที่มี ตว ั ั การันต์ มักเป็ นภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต หรื อภาษาอังกฤษ ซึ่ งมีพยัญชนะที่เราไม่ออกเสี ยงหรื อ ออกเสี ยงไม่ได้เราจึงฆ่าเสี ยงพยัญชนะบางตัวเสี ยด้วยการใส่ เครื่ องหมายทัณฑฆาต ( ์์ ) ลงบน พยัญชนะนั้น เพื่อรักษารู ปคาในภาษาเดิมไว้ เช่น พยัคฆ์ กาพย์ สวรรค์ เมล์ ไวน์ ฯลฯ ยากจัง.. หน้ า ๑๙
  • 16. ๑๒) ภาษาเขียนมีวรรคตอน ภาษาพูดมีจงหวะ ภาษาไทยใช้วิธีเขียนคาต่อกันไม่มีการ ั เว้นระยะจนจบความ การแบ่งความด้วยวรรคตอนจึงเป็ นเรื่ องสาคัญ ถ้าเขียนเว้นวรรคตอนผิดจะ ทาให้เสี ย ความหรื อความเปลี่ ย นไป การพูดต้องเว้นจังหวะให้ถู ก ที่ ถ้ า หยุดผิดจัง หวะความก็ เปลี่ยนไป เช่น รถยนต์คนนี้พอมอบให้ลูก เขยไม่ใช่ลูก (ให้ลูกสาว) ั ่ รถยนต์คนนี้พอมอบให้ลูกเขย ไม่ใช่ลูก (ให้ลูกเขย) ั ่ ภาษาไทยยังมีคาอื่น ยังมีอีกค่ะ อีกไหมครับ ๑๓) ภาษาไทยมี คาอุ ทานและคาเลี ยนเสี ยงธรรมชาติ ช่ วยให้มีคาประกอบทาให้ความ เด่นชัดและสละสลวยขึ้น เช่น เปรี้ ยวจี๊ด ร้อนจัง หมุนคว้าง ฟ้ าผ่าเปรี้ ยง ท้องร้องจ๊อก ๆ ๑๔) ภาษาไทยมีคาเสริ มแสดงความสุ ภาพ ภาษาพูดมีคาเสริ มท้ายประโยคเพื่อแสดงความ สุ ภาพ หรื อบอกความต้องการ เช่น จ๋ า จ๊ะ ค่ะ หรอก ละ นะคะ ฯลฯ ๑๕) ภาษาไทยมีคาสุ ภาพและคาราชาศัพท์ ซึ่งแสดงถึงความมีศิลปะ ความประณี ตบรรจง และความมีวฒนธรรมของผูใช้ภาษา ั ้ ตัวอย่างค่ะ คาราชาศัพท์ ความหมาย พระชนก พระชนกนาถ พระราชบิดา พ่อ พระชนนี พระราชชนนี พระราชมารดา แม่ พระเชษฐา พี่ชาย พระราชโอรส ลูกชาย พระราชธิดา ลูกสาว หน้ า ๒๐
  • 17. ๕. ระดับของภาษา ผมอยากทราบเรื่ องระดับภาษาครับ ครู จะอธิ บายให้ฟังต่อ นะ ลัก ษณะส าคัญประการหนึ่ ง ของภาษาไทย คื อ มี ก ารแบ่ ง ระ ดั บ ของภาษาการสื่ อส ารที่ มี ประสิ ท ธิ ผ ล ผูส่ ง สารจะต้องเลื อ กใช้ระดับ ภาษาให้ ้ ถูกต้องเหมาะสมกับบุคคล ภาษาแบ่งระดับ ได้ดวยหรื อครับ ้ การแบ่งระดับภาษาอาจแบ่งได้หลายลักษณะ ดังนี้ ๑) แบ่งตามโอกาสในการใช้เป็ น ๒ ระดับ คือ ๑.๑) ภาษาที่ เป็ นทางการหรื อภาษาที่ เป็ นแบบแผน เช่ น ภาษาที่ใช้ในการประชุ ม การกล่าวสุ นทรพจน์ เป็ นต้น ๑.๒) ภาษาที่ เ ป็ นเป็ นทางการหรื อ ภาษาที่ ไ ม่ เ ป็ นแบบแผน เช่ น ภาษาที่ ใ ช้ก าร สนทนาเขียนจดหมายถึงผูคุนเคย การเล่าเรื่ องหรื อประสบการณ์ เป็ นต้น ้้ ๒) แบ่งตามความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เป็ น ๓ ระดับ ๒.๑) ภาษาระดับพิธีการ เป็ นภาษาแบบแผน ๒.๒) ภาษาระดับกึ่งพิธีการ เป็ นภาษากึ่งแบบแผน ๒.๓) ภาษาระดับที่ไม่เป็ นพิธีการ เป็ นภาษาไม่เป็ นแบบแผน หน้ า ๒๑
  • 18. ๓) แบ่งตามสภาพแวดล้อมเป็ น ๕ ระดับ คือ ๓.๑) ภาษาระดับ พิธีก าร ใช้ในที่ ป ระชุ มที่ จดอย่างเป็ นพิธี การ เช่ น การ ั กล่าวปราศรัย การเปิ ดประชุ มรัฐสภา การกล่าวสดุ ดี การกล่าวรายงาน ผูส่งสารมักเป็ น ้ บุคคลสาคัญ ผูรับสารเป็ นแต่เพียงผูรับฟัง หากจะมีการตอบก็จะเป็ นการตอบอย่างเป็ นพิธี ้ ้ การในฐานะผูแทนกลุ่ ม การใช้ภาษาระดับนี้ ตองมี การเตรี ยมต้นฉบับหรื อวาทนิ พนธ์ ้ ้ ล่วงหน้า ๓.๒) ภาษาระดับ ทางการ ใช้ใ นการบรรยายหรื ออภิ ป รายอย่า งเป็ น ทางการในที่ประชุมหรื อใช้ในงานเขียนอย่างเป็ นทางการ เช่น อะไร มีใครตอบได้ยกมือขึ้น เช่น การรายงาน การอภิปราย หนังสื อราชการ การสื่ อสาร ระดับนี้ มุ่งความเข้าใจในสารมากกว่าระดับพิธีการ เก่งจังเลย เพื่อน ๆ ช่วย ตบมือให้ดวยนะคะ ้ หน้ า ๒๒
  • 19. ๓.๓) ภาษาระดับกึ่งทางการ มักใช้ในการประชุ มกลุ่มเล็ก ผูรับสารและส่ งสารมี ้ โอกาสโต้ตอบกันมากขึ้น เช่น การประชุ มอภิปราย การปาฐกถา การบรรยายในห้องเรี ยน ข่าวและบทความในหนังสื อพิมพ์ ซึ่ งนิ ยมใช้ถ้อยคาสานวนที่แสดงความคุ นเคยกับผูอ่าน ้ ้ หรื อผูฟัง ้ ๓.๔) ภาษาระดับสนทนา มักใช้ในการสนทนาโต้ตอบกันระหว่างบุคคล หรื อ กลุ่มบุคคลไม่เกิน ๔-๕ คน หรื ออาจมีบุคคลต่างระดับร่ วมสนทนากันต้องคานึงถึงความสุ ภาพ เช่น การสนทนากับบุคคลอย่างเป็ นทางการ ข่าวและบทความในหนังสื อพิมพ์ ๓.๕) ภาษาระดับกันเอง เป็ นภาษาที่ใช้วงจากัด เช่น ภายในครอบครัว ในหมู่ เพื่อนฝูงในสถานที่ส่วนตัวเป็ นสัดส่ วนเฉพาะกลุ่ม อาจจะมีการใช้ภาษาถิ่ น ภาษาสแลง ร่ วมด้วย ครู จะสรุ ป ให้ฟังนะคะ การใช้ภาษาทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นภาษาระดับสนทนาหรื อ ระดับกันเอง ผูใช้ควรคานึ งถึ งมารยาทซึ่ งเป็ นการให้เกี ยรติแก่ ้ ผูอื่นและการรั กษาเกี ยรติ ของตนเอง เพราะเป็ นเครื่ องแสดงว่า ้ บุคคลผูน้ นเป็ นผูที่ได้รับการศึกษาและการอบรมสั่งสอนมาดี ้ ั ้ เข้าใจแล้วครับ… เราโชคดีนะครับที่เกิดเป็ นคน ไทย แล้วเราก็มีภาษาของเราด้วย ล หน้ า ๒๓
  • 20. เมื่อเรี ยนจบบทที่ ๑ แล้ว เด็ก ๆ อย่าลืมทากิจกรรม ท้ายบทนะคะ กิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๑ ให้ ผ้ ูเรียนปฏิบัติกจกรรมต่ อไปนี้ ิ ๑. แบ่งกลุ่มและช่วยกันเขียนแผนภาพความคิด สรุ ปเนื้อหาในบทเรี ยนแล้วระบายสี ให้สวยงาม ๒. รวบรวมตัวอย่างของการใช้ภาษาในระดับต่าง ๆ เขียนเป็ นเล่มเพื่อเก็บไว้ศึกษา ทากิจกรรมเสนอแนะท้ายบทแล้วต่อด้วยแบบฝึ กหัด ท้ายบท ทาส่ งครู ทุกคนนะจ๊ะ .. เรามาทาแบบฝึ กหัดท้ายบทกัน ดีกว่า หน้ า ๒๔
  • 21. แบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๑ ตอนที่ ๑ จงตอบคาถามต่อไปนี้ ๑. ภาษาคืออะไร อธิบายตามความเข้าใจของผูเ้ รี ยน ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๒. ธรรมชาติของภาษามีลกษณะอย่างไรบ้าง บอกมา ๕ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ั ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ๓. พลังของภาษามีอะไรบ้าง บอกมา ๓ ข้อ ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................................... หน้ า ๒๕
  • 22. ตอนที่ ๒ ให้ทาเครื่ องหมาย √ หน้าข้อความที่ถูกและทาเครื่ องหมาย ( X ) หน้าข้อความที่ผด ิ ๑. ในปั จจุบนเป็ นที่เชื่อแน่แล้วว่ามุนษย์เป็ นผูสร้างภาษา ั ้ ๒. ภาษาเป็ นสิ่ งที่พฒนาไปพร้อมกับมนุษย์ ั ่ ๓. ในรถโดยสารประจาทางมีขอความเขียนไว้วา “โปรดงดสู บบุหรี่ ในรถโดยสารประจา ้ ทาง ฝ่ าฝื นปรับ ๒oo บาท” ข้อความนี้ถือว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต ่ ๔. “อ้าว นังอ่านหนังสื ออยูนี่เองไม่ได้ไปลอยกับเพื่อนหรื อจ๊ะ” ข้อความนี้เป็ นการใช้ ่ ภาษาเพื่อธารงสังคม ๕. ลุงแม้นได้บอกวิธีต่อกิ่งมะม่วงให้ชาวบ้านไปลองทาดู ถือว่าลุงแม้นใช้ภาษา เพื่อพัฒนามนุษย์ ๖. การใช้ภาษาให้เหมาะสมกับฐานะ บทบาทและความสัมพันธ์ของบุคคล เป็ นการใช้ ภาษาเพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล ๗. “อย่าอ่านหนังสื อเลยนะเต้ย ไปเที่ยวกันเถอะ ถ้าเธอไม่ไปพวกเราคงหมดสนุกแน่” ข้อความนี้เป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต ่ ๘. “ทุกวันนี้อะไรก็ไม่จีรังยังยืน นับประสาอะไรกับคามันสัญญา เขาให้ได้ก็ยอม ่ ่ ทาลายได้” ข้อความนี้ถือว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล ๙. “เกี่ยวเถิดนะแม่เกี่ยว อย่ามัวชะแง้แลเหลียว เดี๋ยวเคียวจะเกี่ยวก้อยเอย...” ข้อความนี้ แสดงว่าเป็ นการใช้ภาษาเพื่อให้ชื่นบาน ๑o. “ถ้าเธอตั้งใจฟังคาอธิ บาย ก็เชื่อว่าเธอจะต้องสอบได้ แต่ถายังไม่มนใจก็ควรอ่านทบทวน ้ ั่ อีกครั้ง” ข้อความนี้เป็ นการใช้ภาษาเพื่อกาหนดอนาคต หน้ า ๒๖
  • 23. ตอนที่ ๓ แบ่งกลุ่มแข่งขันกันเปลี่ยนคาที่กาหนดให้ต่อไปนี้เป็ นคาที่ใช้ในภาษาระดับทางการ ๑. ใส่ บาตร ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๒. แอร์ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๓. เสื้ อสี แจ๊ด ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๔. ลงขัน ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๕. เผาศพ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๖. ไปนอก ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๗. เพื่อนคู่หู ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๘. ดูกระจก ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๙. อ้วนขึ้น ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑o. งานบวช ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑๑. ห้องนังเล่น ่ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑๒. บาร์, ไนท์คลับ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑๓. ขอใช้งบ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑๔. ขี้เกียจ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ๑๕. สลัม ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ทาแบบฝึ กหัดท้ายบท สนุกกันหรื อเปล่า ั อย่าเพิ่งยอมแพ้กนนะ ทาแบบทดสอบ ่ หลังเรี ยนกันเลย จะได้รู้วาได้คะแนน กันเท่าไรบ้าง หน้ า ๒๗
  • 24. แบบทดสอบหลังเรียนบทที่ ๑ คาชี้แจง ๑. ข้อสอบชุดนี้มี จานวน ๑๐ ข้อ ข้อละ ๑ คะแนน รวม ๑๐ คะแนน ๒. ให้เลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงคาตอบเดียวแล้วเขียนเครื่ องหมาย × ลงในกระดาษคาตอบ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------่ ๑. มนุษย์ที่ตกอยูใต้อิทธิ พลของภาษาจะได้รับผลอย่างไรมากที่สุด ก. จะมีสภาพจิตใจที่อ่อนแอไม่กล้าต่อสู ้ความเป็ นจริ ง ข. จะขาดความมันใจในตัวเองคอยแต่หวาดระแวง ่ ค. จะถูกหลอกได้ง่ายเพราะขาดการไตร่ ตรอง ง. จะทางานต่าง ๆ ล้มเหลวเพราะความโง่ เขลา ่ ๒. มนุษย์ควรปฎิบติอย่างไรจึงไม่ตกอยูใต้อิทธิพลภาษา ั ้ ก. ควรนาความรู ้ที่กาวหน้าทันสมัยเผยแพร่ ให้ผคนได้รู้กว้างขวาง ู้ ข. ควรมีอิสระในการใช้ภาษาโดยไม่ตองคอยระวังว่าใครจะจับผิด ้ ค. ควรเลิกล้มความเชื่อเกี่ยวกับเรื่ องคาถาอาคมและโชคลาภ ง. ควรคานึงว่าภาษาเป็ นเพียงสัญลักษณ์ใช้แทนสิ่ งต่าง ๆ เท่านั้น ๓. เหตุผลสาคัญที่ทาให้ภาษาไทยมีการแบ่งภาษาออกเป็ นระดับต่าง ๆ คืออะไร ก. เพื่อต้องการแสดงเอกลักษณ์ของภาษาไทย ข. เพื่อจะได้เลือกใช้ให้เหมาะสมกับบุคคลเวลาและสถานที่ต่าง ๆ ค. เพื่อทาให้ผฟังเกิดความพึงพอใจ ู้ ง. เพื่อทาให้การสื่ อสารมีประสิ ทธิ ภาพยิงขึ้น ่ หน้ า ๒๘
  • 25. ๔. คาว่า “เด็กปั๊ ม” ควรใช้คาใดแทนเพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ผถูกเรี ยก ู้ ก. พนักงานบริ การเติมน้ ามัน ข. พนักงานสถานีบริ การน้ ามันเชื้อเพลิง ค. พนักงานปั๊ มน้ ามัน ง. พนักงานเติมน้ ามัน ๕. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมกับบุคคล ก. น้องจ๊ะ ช่วยพี่จดแจกันสาหรับโต๊ะรับแขกหน่อย ั ข. หลวงตารับเชิญมาฉันเพลที่บานพรุ่ งนี้ ้ ่ ค. พ่อแม่เราเขาไม่วางเลยมาด้วยไม่ได้ ่ ง. ใคร ๆ เขาก็รู้วาคุณครู แก่แล้วทาอย่างนั้นไม่ได้ ๖. ข้อใดเป็ นภาษาระดับทางการ ก. นายวิชิต กาลังบรรยายเรื่ องปั ญหาวัยรุ่ นที่หอประชุม ข. สุ มิตรไปร่ วมงานแต่งงานน้องสาวขอรับแขกหน่อย ค. สุ นทรี ไปเผาศพบิดาของเพื่อนที่วดเนกขัมมาราม ั ง. ผุสดีโทรศัพท์คุยกับสุ ดาทุกวัน ๗. ข้อใดใช้ระดับภาษาเหมาะสมในการเขียนรายงานทางวิชาการ ก. เขาเป็ นนักร้องชื่อก้องของสหรัฐ ฯ ที่ประสบความสาเร็ จไม่แพ้รัฐบุรุษคนสาคัญทีเดียว ข. ฝนได้โปรยปรายลงมาให้ความปรานีแก่ชีวตสัตว์ ิ ค. สมัยนี้ของแพงทุกอย่าง เพราะสภาวะเศรษฐกิจกาลังตกต่า ง. วัฒธรรมทางจิตใจของชาวไทยที่สาคัญ คือ วัฒนธรรมเกี่ยวกับความคิด ความเชื่อ และความศรัทธาในศาสนา หน้ า ๒๙
  • 26. ๘. ภาษาช่วยพัฒนามนุษย์ได้อย่างไร ก. มนุษย์ใช้ภาษาแสดงศิลปวัฒนธรรมและประเพณี อนดีงามของตน ั ข. ภาษาช่วยเก็บสะสมถ่ายทอดเผยแพร่ ความรู ้และประสบการณ์ ค. ภาษาช่วยให้ความรู ้แก่มนุษย์ ง. มนุษย์ใช้ภาษาเป็ นสื่ อความคิด ความเข้าใจ ๙. ส่ วนประกอบของประโยคในข้อใดมีการเรี ยงลาดับคาต่อประโยค “เพลงนี้ พ่อร้องบ่อย” ก. รู ปเขียนพวกนี้ฉนเห็นแทบทุกวัน ั ข. น้ ายาล้างจานชนิดนี้แม่บานชอบมาก ้ ค. หนังสื อนี้บริ ษทแจกทุกปี ั ง. น้อยนี่ซนเหลือเกิน ๑o. ประโยคใดมีรูปแบบประโยคที่แตกต่างไปจากประโยคในภาษาไทย ก. โรงเรี ยนนี้สร้างขึ้นในสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ ข. พรุ่ งนี้ให้นกเรี ยนทุกคนนาเครื่ องมือเขียนแบบมาด้วยนะ ั ค. ห้องนี้มีนกเรี ยนชาย ๑๔ คน นักเรี ยนหญิง ๑๖ คน ั ง. หนังสื อเล่มนี้แต่งโดย อัมพร ภิญญาคง เวลาทาอย่าแอบดูเฉลยเราต้องมีความซื่ อสัตย์ ต่อตนเองนะขอให้โชคดีทุกคนคะ ผมจะซื่อสัตย์ ไม่แอบดูคาเฉลยครับ หน้ า ๓๐
  • 27. ทาเสร็ จเรี ยบร้อยแล้ว ั ลองตรวจดูกบเฉลยได้เลยนะ เฉลยกิจกรรมเสนอแนะท้ ายบทที่ ๑ สาหรับเฉลยในส่ วนของกิจกรรมเสนอแนะท้ายบทที่ ๑ คาตอบ (ให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ ูสอน) เฉลยแบบฝึ กหัดท้ ายบทที่ ๑ เฉลยตอนที่ ๑ ๑. ภาษาคืออะไร อธิบายตามความเข้าใจของผูเ้ รี ยน ตอบ ภาษามีความหมายใน ๒ ลักษณะ คือ ๑) ความหมายอย่างกว้าง หมายถึง การแสดงออกด้วยวิธีการใด ๆ เพื่อสื่ อความหมาย ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดและความต้องการระหว่างกัน โดยมีระบบกฎเกณฑ์ ที่เข้าใจกันได้ระหว่างผูส่งสารกับผูรับสาร แบ่งเป็ น ๒ ประเภท คือ ้ ้ -วัจนภาษา คือ ภาษาถ้อยคา -อวัจนภาษา คือ ภาษาที่ไม่ใช่ถอยคา ้ ๒) ความหมายอย่างแคบ หมายถึง ถ้อยคาที่มนุษย์ใช้สื่อความหมายโดยใช้เสี ยงพูด ซึ่งหมายถึง วัจนภาษา หรื อภาษาพูดนันเอง ่ หน้ า ๓๑
  • 28. ๒. ธรรมชาติของภาษามีลกษณะอย่างไรบ้าง บอกมา ๕ ข้อ พร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ ั ตอบ ๑) ภาษาเป็ นเครื่ องมือสื่ อสารของมนุษย์ เป็ นตัวกลางในการถ่ายทอดความรู ้ ความคิด ความรู้สึกความต้องการของบุคคลหนึ่งไปสู่ บุคคลหนึ่งเพื่อให้เกิดความเข้าใจกัน ๒) ภาษาประกอบด้ว ยเสี ย งและความหมาย ภาษาที่ แ ท้จ ริ ง ของมนุ ษ ย์ คื อ ภาษาพู ด ประกอบด้ว ยเสี ย งพู ด กับ ความหมายซึ่ งเรี ย กว่า หน่ ว ยภาษา ถ้า มี แ ต่ เ สี ย งพู ด ไม่ มี ความหมาย หรื อสื่ อความหมาย ไม่ ไ ด้ เสี ย งพู ด นั้ น ก็ ไ ม่ เ ป็ นภ าษ า ถ้ า มี แ ต่ ความหมายไม่เป็ นเสี ยงพูด ก็เป็ นเพียงความคิดยังไม่เป็ นภาษาที่สมบูรณ์ ภาษาจึงต้องมี ทั้งเสี ยงและความหมายจึงสามารถสื่ อสารได้เข้าใจตรงกัน ๓) ภาษาเป็ นเรื่ องของการใช้สัญลักษณ์ ร่วมกัน ภาษาหลายภาษามี วิธีการถ่ ายเสี ยงเป็ น ตัวอักษร ใช้ตวอักษรเป็ นสัญลักษณ์ แทนเสี ยง ใครใช้ภาษาใดก็ตองเรี ยนรู ้ สัญลักษณ์ ั ้ ่ ของภาษานั้น ๆ เช่น หญิงผูให้กาเนิด ภาษาไทยใช้วา “แม่” ภาษาอังกฤษ “mother” ้ ๔) หน่ วยในภาษาประกอบกันเป็ นหน่ วยที่ ใหญ่ข้ ึ น หน่ วยในภาษาหรื อส่ วนประกอบของ ภาษาจะประกอบกันขึ้ นเป็ นหน่ วยที่ ใหญ่ข้ ึ นได้ นับ ตั้งแต่หน่ วย เสี ยง คา ประโยค ใน ภาษาไทย เสี ยง (พยางค์) หนึ่ง ๆ จะประกอบด้วยเสี ยงย่อย ๆ ๓ ชนิด ได้แก่ เสี ยงพยัญชนะ เสี ยงสระและเสี ยงวรรณยุกต์ซ่ ึ งนามาประกอบเป็ นคาได้มากมาย และคาเหล่านี้ นามาเรี ยง กันเป็ นกลุ่มคาและประโยคยาวออกไปได้อีกเรื่ อย ๆ ๕) ภาษามีระดับ สังคมผูใช้ภาษาเดียวกันประกอบด้วยบุคคลที่แตกต่างกันด้วยเพศ วัย อาชี พ ้ การศึ กษา ชาติ กาเนิ ด ฯลฯ ซึ่ งทาให้เกิ ดมี ภาษาหลายระดับชั้นตามสภาพของผูใช้ เช่ น ้ ภาษาเด็ก ภาษาวัยรุ่ น ๓. พลังของภาษามีอะไรบ้าง บอกมา ๓ ข้อ ตอบ ๑) ภาษาช่วยธารงสังคม ๒) ภาษาแสดงความเป็ นปัจเจกบุคคล ๓) ภาษาช่วยให้เกิดการพัฒนา หน้ า ๓๒
  • 29. เฉลยตอนที่ ๒ √ ๑. √ ๒. √ ๓. √ ๔. √ ๙. ๕. √ ๑๐. ๖. √ ๗. ๘. เฉลยตอนที่ ๓ ๑. ใส่ บาตร ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ตักบาตร ๒. แอร์ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา เครื่ องปรับอากาศ ๓. เสื้ อสี แจ๊ด ่ ภาษาระดับทางการใช้วา เสื้ อสี สด ๔. ลงขัน ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ร่ วมกันออกเงิน ๕. เผาศพ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ฌาปนกิจศพ ๖. ไปนอก ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ไปต่างประเทศ ๗. เพื่อนคู่หู ่ ภาษาระดับทางการใช้วา เพื่อนสนิท ๘. ดูกระจก ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ส่ องกระจก ๙. อ้วนขึ้น ่ ภาษาระดับทางการใช้วา สมบูรณ์ข้ ึน ๑o. งานบวช ่ ภาษาระดับทางการใช้วา พิธีอุปสมบท ่ ๑๑. ห้องนังเล่น ภาษาระดับทางการใช้วา ่ ห้องพักผ่อน ่ ๑๒. บาร์, ไนท์คลับ ภาษาระดับทางการใช้วา สถานบันเทิงยามราตรี ๑๓. ขอใช้งบ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ขอใช้งบประมาณ ๑๔. ขี้เกียจ ่ ภาษาระดับทางการใช้วา เกียจคร้าน ๑๕. สลัม ่ ภาษาระดับทางการใช้วา ชุมชนแออัด หน้ า ๓๓
  • 30. เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนบทที่ ๑ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ข้ อ เฉลย ๑. ก. ๖. ค. ๑. ค. ๖. ก. ๒. ข. ๗. ข. ๒. ง. ๗. ง. ๓. ง. ๘. ง. ๓. ก. ๘. ข. ๔. ค. ๙. ข. ๔. ข. ๙. ง. ๕. ค. ๑๐. ข. ๕. ก. ๑๐. ง. ตรวจกับเฉลยเสร็ จแล้ว ถูกกี่ขอเอ่ย ้ เกณฑ์ การตัดสิ น ระดับ 0 – 4 คะแนน ระดับคุณภาพ ต้องปรับปรุ ง ระดับ 5 – 6 คะแนน พอใช้ ระดับ 7 – 8 คะแนน ดี ระดับ 9 – 10 คะแนน ดีมาก สรุ ปผลการประเมิน ่  ผ่าน  ไม่ผาน คะแนนทีได้ ่ ระดับคุณภาพ ……… ………. หน้ า ๓๔