SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 13
Descargar para leer sin conexión
1




                                          บทที่ 2

                              เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

        ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “สภาพปญหาและพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ตในการเรียนรูของ
นักศึกษาสถาบันการพลศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ผูวิจัยไดศึกษาแนวคดทฤษฎและ
                                                                      ิ      ี
งานวิจัยที่เกี่ยวของในหวขอตอไปน้ี
                        ั  
        เอกสารทเ่ี ก่ียวกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552-2559
        เอกสารที่เกี่ยวของกับอินเทอรเน็ต
                    1. ความรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต
                           1.1 ความหมายของอินเตอรเน็ต
                           1.2 ความสําคัญของอินเตอรเน็ต
                           1.3 บรการของอนเตอรเ นต
                                       ิ         ิ     ็
                           1.4 ประโยชนในการใชอนเทอรเ นต ในการเรยนรู
                                                    ิ     ็       ี
                           1.5 พฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ต
                    2. แนวคดและทฤษฎี
                             ิ
                       แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการของมนุษย

เอกสารที่เกี่ยวกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ป พ.ศ. 2552-2559
        ปจจุบันแมสถานการณจะเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน แตเนื่องจากแผนการ
ศึกษาแหงชาติ ฉบับเดิม (พ.ศ. 2545-2559) นน เปนแผนระยะยาวที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติ
                                          ้ั 
(พ.ร.บ.) การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 จงเห็นควรใหคงปรัชญาหลัก เจตนารมณ และวัตถุประสงค
                                     ึ
ของแผนฉบับเดิมไว แลวปรับปรุงในสวนของนโยบายเปาหมายกรอบการดําเนินงานใหสอดคลอง
กับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้

       ปรัชญาหลักและกรอบแนวคิด
       การจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงยึดทางสายกลางอยูบนพื้นฐานของความสมดุลพอดี รูจักพอประมาณ อยางมี




          พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                  ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
2




เหตุผล มีความรอบรูเทาทันโลก เพื่อมุงใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู ดีมีสุขของคนไทยเกิด
การบูรณาการแบบองครวมที่ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนาอยางมีดุลยภาพทั้งดานเศรษฐกิจ
สังคม การเมือง สิ่งแวดลอม เปนแผนที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษา
ทุกระดับ ซึ่งสอดคลองกับการพัฒนาการศึกษาในดานตางๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ
ปกครอง วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปนตน โดยคํานึงถึงการพัฒนาอยาง
ตอเนื่องตลอดชีวิต
           เจตนารมณของแผน
                       
           แผนการศึกษาแหงชาติมีเจตนารมณเพื่อมุงพัฒนาชีวิตใหเปน “มนุษยที่สมบูรณทั้งทาง
รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถ
อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข” และพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมที่มีความเขมแข็งและมีดุลย
ภาพใน 3 ดาน คือ เปนสังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และสังคมสมานฉันท
และเอออาทรตอกน
        ้ื         ั

        วัตถุประสงคของแผน
        1. เพื่อใหบรรลุตามปรัชญาหลักและเจตนารมณของแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับ
ปรับปรุง(พ.ศ. 2552 – 2559) จึงกําหนดวัตถุประสงคของแผนฯ ที่สําคัญ 3 ประการ ดังนี้
        2. พัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา
        3. เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู
        4. เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคม
คุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรู

แนวนโยบาย เปาหมาย และกรอบการดําเนินงาน
            เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคทั้งสามประการดังกลาว ประกอบกับการคํานึงถึงทิศ
ทางการพัฒนาประเทศในอนาคตที่เนนการใชความรูเปนฐานของการพัฒนา ทั้งดานเศรษฐกิจ
สังคม วัฒนธรรม ประชากร สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดกําหนดแนวนโยบายใน
แตละวัตถุประสงค ดังนี้
            วัตถุประสงค 1 พัฒนาคนอยางรอบดาน และสมดุล เพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา
แนวนโยบาย




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
3




                 1.1 พฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูในทุกระดับและประเภทการศึกษา
                         ั
                 1.2 ปลูกฝงและเสริมสรางใหผูเรียนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยมมี
จิตสํานึกและมีความภูมิใจในความเปนไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ คํานึงถึงประโยชน
สวนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและ
รังเกียจการทุจริต ตอตานการซื้อสิทธิ์ขายเสียง
                 1.3 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนทุกคนตั่งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตไดมี
โอกาสเขาถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู โดยเฉพาะผูดอยโอกาส ผูพิการ หรือทุพพลภาพ
ยากจน อยูในทองถิ่นหางไกล ทุรกันดาร
                 1.4 ผลิตและพัฒนากําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของประเทศ และ
เสริมสรางศักยภาพการแขงขัน และรวมมือกับนานาประเทศ
                 1.5 พัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบประกัน
คุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก
                 1.6 ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและ
มาตรฐานมีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี
             วัตถุประสงค 2 สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู
แนวนโยบาย
                 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษา อบรม และเรียนรูของสถาบันศาสนา และสถาบันทาง
สังคมทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
                 2.2 สงเสริมสนับสนุนเครือขายภูมิปญญา และการเรียนรูประวัติศาสตร
ศิลปวัฒนธรรม พลศึกษา กีฬาเปนวิถีชีวิตอยางมีคุณภาพและตลอดชีวิต
                 2.3 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรู นวัตกรรม และทรัพยสินทาง
ปญญา พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู และสรางกลไกลการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน
             วัตถุประสงค 3 พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม เพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และ
สรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรูแนวนโยบาย
                 3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาส
ทางการศึกษา และการเรียนรูแนวนโยบาย
                 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยเรงรัดกระจายอํานาจการบริหารและ
จัดการศึกษา ไปสูสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น




          พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                  ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
4




                3.3 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาค
                     
สวนของสังคมในการบริหารจัดการศึกษา และสนับสนุนสงเสริมการศึกษา
                3.4 ระดมทรัพยากรจากแหลงตางๆ และการลงทุนเพื่อการศึกษา ตลอดจนบริหาร
จัดการ และใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ
                3.5 สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา พัฒนาความเปนสากลของ
การศึกษา เพื่อรองรับรับการเปนประชาคมอาเซียน และเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ
ภายใตกระโลกาภิวัฒน ขณะเดียวกันสามารถอยูรวมกันกับพลโลกอยางสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัย
และเกื้อกูลกัน

             การบริหารแผนสูการปฏิบัติ
             แผนการศึกษาแหงชาติฉบับนี้ใหความสําคัญกับการนําแผนสูการปฏิบัติ เพื่อเปน
กลไกขับเคลื่อนขอเสนอปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ที่เนนเปาหมาย 3 ดาน คือ การพัฒนา
คุณภาพการศึกษา การขยายโอกาสทางการศึกษา และการสงเสริมการมีสวนรวมในการบริการและ
จัดการศึกษา ซึ่งสอดคลองกับระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จึงเห็นควร
กาหนดระเวลาดาเนนงานบรหารแผนสการปฏบตเิ ปน 2 ระยะ ดังนี้
  ํ             ํ ิ        ิ          ู      ิ ั 
             ระยะที่ 1 แผนงานรบดวน ระหวางป 2552-2554 ใหเรงดําเนินการตามขอเสนอการ
                                ี          
ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยใหมีการจัดทําแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาตามประเด็น
เปาหมายการปฏิรูปการศึกษา ไดแก 1) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) แผนขยายโอกาสทาง
การศึกษา และ 3) แผนสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารและจัดการศึกษา รวมทั้งควรมีการ
สรางกลไกเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนการศึกษาแหงชาติ
             ระยะที่ 2 ระหวางป 2552-2559 ใหเรงดําเนินการตามนโยบายทั้ง 14 ดาน ใหบรรลุผล
ตามเปาหมายที่กําหนดไว และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนฯ เมื่อสิ้นสุดระยะที่ 1
และระยะที่ 2 รวมทั้งการเตรียมการรางแผนการศึกษาแหงชาติฉบับใหมตอไป

ความรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต
        ความหมาย
        มีนักวิชาการไดใหความหมายกับอินเทอรเน็ตไวตางกัน ดังนี้




          พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                  ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
5




          ครรชิต มาลัยวงศ (2540) ไดอธิบายวาอินเตอรเน็ต เปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาด
ใหญโตที่สุดของโลกปจจุบันนี้ อินเตอรเน็ตเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอรขนาดใหญทั่วโลกนับลาน
เครื่องเขาดวยกัน คอมพิวเตอรขนาดใหญเหลานี้ยังเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอรขนาดเล็กอีกมากมาย
ทําใหมีผูที่เปนสมาชิกเครือขายอินเตอรเน็ตอยูทั่วโลกหลายสิบลานคน
          ศรีดา ดัจทะอธิพานิช (2544) ไดกลาววาอินเทอรเน็ต คือ การับสงขอมูลที่เปนตัวหนังสือ
รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว การรับสงขอมูลขาวสารทําไดตลอดเวลา ครอบคลุมพื้นที่หลาย
ประเทศทั่วโลก มีการทํางานที่สะดวกและรวดเร็ว
          ดังนั้นเราอาจสรุปความหมายของอินเตอรเน็ต คือ เปนระบบเครือขายของเครือขาย
คอมพิวเตอรขนาดใหญ ที่โยงใยคอมพิวเตอรทั่วทุกมุมโลกเขาดวยกัน ภายใตมาตรฐานการ
เชื่อมโยงเดียวกัน โดยใชโปรโตคอล ทซพี/ไอพี (TCP/IP Transmitsion Control Protocol/Internet
                                        ี ี
Protocol) ในการติดตอสื่อสาร และสามารถทําใหคนจํานวนมากสื่อสารขอมูลทั้งในรูปของขอความ
ภาพและเสยง ไดสะดวกและรวดเรวดวยคอมพวเตอรตางระบบและตางชนดกนจงเป นเครือขายที่
               ี                    ็           ิ                ิ ั ึ
ใหญที่สุดในโลก (วาสนา สุขกระสานติ,2540:6)

        ความสําคัญของอินเตอรเน็ต

         การเชื่อมตอคอมพิวเตอรจํานวนมากทําใหเครือขายอินเตอรเน็ต มีการแลกเปลี่ยนขอมูล
ขาวสารที่เปนประโยชนอยางมากมาย กิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ
การศึกษา ถูกเชื่อมโยงใหเขาถึงกันและกันอินเตอรเน็ตเปนแหลงสารสนเทศที่สําคัญ มีเรื่องราว
ตางๆ มากมายทั้งความรู ความบันเทิงหลายรูปแบบเพื่อสนองความตองการ ความสนใจสําหรับ
บุคคลทุกวงการและทุกสาขาอาชีพ การเชื่อมตออินเตอรเน็ต ทําใหคนทั่วโลก ตางเพศ ตางวัย
ตางเชื้อชาติ ศาสนา สามารถติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันไดอยางไมมีขอจํากัด
 

        บริการบนอินเตอรเน็ต
                   ระบบอินเตอรเน็ตมีเครือขายทั่วโลกจึงมีผูคนนิยมใชผานบริการตาง ๆ ดังนี้
                   1. E-mail (Electronics mail) หรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เปนบริการรับ สง
        ขอความผานเครือขายคอมพิวเตอร ผูใชสามารถสงขอมูลขาวสารไปยังผูรับคนอื่น ๆ ได
        ถาผูรับมีที่อยูตามขอกําหนดการใช E-mail




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
6




                2. World Wide Web หรอ WWW เปนบริการขอมูลบนอินเตอรเน็ตที่ไดรับความ
                                            ื
       นิยมสูง ในปจจุบัน จุดเดนของ WWW ที่มีเหนือบริการอื่นๆ ในอินเตอรเน็ตไดแกความ
       งายในการใชงานและรูปแบบการแสดงผลแบบไฮเปอรเท็กซที่เชื่อมโยงจากขอมูลชุดหนึ่ง
       ไปสูขอมูลอีกชุดหนึ่ง ซึ่งจะมีทั้งแบบขอความปกติหรือมัลติมีเดีย เสียง ภาพนิ่ง และ
       ภาพเคลื่อนไหว
                3. IRC (Internet Relay Chat) เปนการสนทนาโตตอบกันบนอินเตอรเน็ต โดยใช
       การพิมพขอความหรือใชเสียง โดยอาจสนทนากันเปนกลุมหรือระหวางบุคคล 2 บุคคลก็
       ได การสนทนาในรูปแบบนี้เปนที่นิยมมาก เนื่องจากเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
       พูดคุยไดทันที เรียกวา Talks หรอ Chat
                                          ื

อินเทอรเน็ตในการเรยนรู
                      ี
          ตั้งแตตน ป ค.ศ.1990 เปนตนมา การประยุกตอินเทอรเน็ต ทางการเรียนรูหรือทางการศึกษาได
เปลี่ยนจากชวงของการพัฒนาและวิจัยเครือขาย มาเปนชวงของความพยายามในการบูรณาการเครือขาย
อนเทอรเ นตกบกจกรรมการเรยนการสอน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเรียนการสอนในระดับตั้งแตอนุบาล จนถึง
  ิ         ็ ั ิ              ี
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักการศึกษาในสหรัฐอเมริกา ไดใชอินเทอรเน็ตในการสืบคนสารสนเทศตางๆ
บนเครือขาย เชน รายงานการวิจัยการคนควาทางการศึกษา แผนการสอน รวมไปถึงกิจกรรมการเรี ยนการสอน
ที่ไดมีการเผยแพรไวบนเครือขาย นอกจากนี้ กลุมขาว หรือ Newsgroup และ กลุมสนทนา หรือ Discussion
Groupที่มีบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ไดกลายเปนศูนยกลางการติดตอสื่อสาร อภิ ปราย แลกเปลี่ยน
และสอบถามขอมูลของผูเรียนตลอดจนครู อาจารย ผูสอนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง,
2541)

ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา
       ปจจุบัน หลายๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ตางไดนําอินเทอรเน็ ตไปประยุกตใชใน
กระบวนการเรียนการสอน จนถือไดวาอินเทอรเน็ตกลายเปนเทคโนโลยีการศึกษาของยุคปจจุ บัน
ไปแลว ซึ่งคุณคาทางการศึกษาในการจดกจกรรมการเรยนการสอนผานอนเทอรเน็ต ซึ่ง
                                  ั ิ            ี               ิ
ถนอมพรเลาห จรัสแสง (2541) ไดกลาวถึงประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษาไวดังนี้
       1. การใชกิจกรรมบนเครือขายคอมพิวเตอรชวยทําใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับสังคม
วฒนธรรมและ
 ั




          พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                  ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
7




โลกมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเครือขายอินเทอรเน็ต อนุญาตใหผูเรียนสามารถสื่อสารกับผูคนทั่วโลกได
อยางรวดเร็ว และสามารถสืบคนหรือเผยแพรขอมูลสารสนเทศจากทั่วโลกไดเชนกัน
          
                 2. เปนแหลงความรูขนาดใหญสําหรับผูเรียน โดยที่สื่อประเภทอื่นๆ ไ          มสามารถทําได
กลาวคือ ผูเรียน สามารถคนหาขอมูลในลักษณะใดๆ ก็ได ไมวาจะเปนขอความ ภาพนิ่                             ง
ภาพเคลอนไหว หรอในรปแบบของ สื่อประสม โดยการสืบคนผานเครือขายอินเทอรเน็ตที่โยงไย
            ่ื               ื ู
กับแหลงขอมูลตางๆ ทั่วโลก
                 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดผลกร ะทบตอผูเรียนในดาน
ทักษะการคิดอยางมีระบบ (high-order thinking skills) โดยเฉพาะทําใหทักษะการวิเคราะหสืบคน
(inquiry-basedanalytical skill) การคิดเชิงวิเคราะห (critical thinking) การวิเคราะหขอมูล การ
แกปญหา และการคิด อยางอิสระ ทั้งนี้เนื่องจากเครือขา ยคอมพิวเตอรเปนแหลงรวมขอมูลมากมาย
มหาศาล ผูเรียนจึงจําเปนตองทําการวิเคราะหอยูเสมอ เพื่อแยกแยะขอมูลที่เปนประโยชนและไม
เปนประโยชนสําหรับตนเอง
                 4. สนับสนุนการสื่อสารและการรวมมือกันของผูเรียน ไมวาจะในลักษณะของผูเรียนรวม
หอง หรือผูเรียนตางหองเรียนบนเครือขายดวยกัน เชน การที่ผูเรียนหองหนึ่งตองการที่จะ เตรยม
                                                                                                         ี
ขอมูลเกี่ยวกับการถายภาพเพื่อสงไปใหอีกหองเรียนหนึ่งนั้น ผูเรียนในหองแรกจะตองชวยกัน
ตัดสินใจทีละขั้นตอนในวิธีการที่จะเก็บรวบรวมขอมูลและการเตรียมขอมูลอยางไร เพื่อสงขอมูล
เรองการถายภาพนี้ไปใหผูเรียนอีกหองหนึ่งโดยที่ผูเรียนตางหองสามารถเขาใจไดโดยงาย
       ่ื
                 5. สนับสนุนกระบวนการ สหสาขาวิชาการ (interdisciplinary) กลาวคือ ในการนําเครือขาย
มาใชเชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น นักการศึกษาสามารถที่จะบู รณาการการเรยนการ                    ี
สอนในวิชาตางๆเชน คณิตศาสตร ภูมิศาสตร สังคม ภาษา วิทยาศาสตร ฯลฯ เขาดวยกัน
                 6. ชวยขยายขอบเขตของหองเรียนออกไป เพราะผูเรียนสามารถที่ จะใชเครือขายในการ
สารวจปญหาตางๆ ที่ผูเรียนมีความสนใจ นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหผูเรียนไดทํางาน รวมกับผูอื่น
   ํ           
ซึ่งอาจมีความคิดเห็นแตกตางกันออกไป ทําใหมุมมองของตนเองกวางขึ้น
                 7. การที่เครือขายอินเทอรเน็ตอนุญาตใหผูเรียนสามารถเขาถึงผูเชี่ ยวชาญหรือผูที่ให
คําปรึกษาไดและการที่ผูเรียนมีความอิสระในการเลือกศึกษาสิ่งที่ตนเองสนใจ ถือเปนแรงจู งใจ
สําคัญอยางหนึ่งในการเรยนรูของผูเรียน
                                   ี
                 8. ผลพลอยไดจากการที่ผูเรียนทําโครงการบนเครือขายตางๆ นี้ ทําใหผูเรียนมีโอกาสที่จะ
ทําความ




            พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                    ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
8




          คุนเคยกับโปรแกรมประยุกตตางๆ บนคอมพิวเตอรไปดวยในตัว เชน โปรแกรม
ประมวลผลคํา เปนตน นอกจากน้ี อธิปตย คลี่สุนทร (2542) กลาววาการนําอินเทอรเน็ตมาใชเพื่อ
การศึกษานั้น จะชวยเสริมสรางคุณภาพ และความเสมอภาคกันในหลายเรื่อง ดังนี้
          1. ครู อาจารยผูสอน สามารถพัฒนาคุณภาพบทเรียน หรือแนวคิดในสาขาวิชาที่สอน
โดยการเรียกดูจากสถาบันการศึกษาอื่น ไมวาจะเปนเนื้อหาวิชาการ คูมือครู แบบฝกหั ดซึ่งบางเรื่อง
สามารถคัดลอกนํามาใชไดทันที เนื่องจากผูผลิตแจงความจํานงใหเปนของสาธารณชน นําไปใชได
(PublicMode)ในทางกลับกันครู อาจารยที่มีแนวคิด วิธีการสอน คูมือการสอนที่นาสนใจ สราง
ความเขาใจไดดีกวาผูอื่น ก็สามารถนําเสนอเรื่องดังกลาวในเว็บไซตของสถาบันตนเอง เพื่อใหผูอื่น
ศึกษาใชงานได สวนหนึ่งของเรื่องดังกลาวอาจจะทําเปนโปรแกรมสําเร็จรูปหรืออยูในรูป ของ
ซีดีรอม (CompactDisc-ReadOnlyMemory) ซึ่งโดยทั่วๆไปเรียกกันวา คอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งมี
ทั้งชวยสอนวิชาทั่วๆ ไป และชวยสอนวิชาที่เกี่ยวกับวิทยาการดานคอมพวเตอรโดยตรง
                                                                        ิ    
          2. นักเรียน นักศึกษา สามารถเขาถึงการเรียนการสอนของครู อาจารย จากตางสถาบันและ
อาจแลกเปลี่ยนขอมูลที่สถาบันตนเองยังไมมี เชน ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยงประกอบ ของวิชา
ตางๆ การทดลองทางวิทยาศาสตร ภาพงานศิลปะ หรือสารคดีที่ เกี่ยวของวิชาภูมิศาสตร ฯลฯ เปน
ตน
          3. ขอมูลตางๆ ทางการบริหารและการจัดการ สามารถแลกเปลี่ ยนและถายโอนแฟมขอมล
                                                                                          ู
ได เชน ทะเบียนประวัตินักเรียน วิชาที่เรียน ผลการเรียน การแนะแนวการศึกษาตอและอ าชีพ หรือ
การยายถิ่นที่อยู นอกจากนี้อาจจะบรรจุขอมูลของครู อาจารย เงินเดือน คุณวุฒิ การอบรมฝกฝน
ความรูความสามารถพิเศษ ฯลฯ เปนตน ลงไปในเว็บไซต ซึ่งขอมูลดังกลาวอาจมีภาพถายประกอบ
ทําใหฝายบริหารสามารถติดตาม แลกเปลี่ยนขอมูลตามความจําเปน เพื่อดูแลใหนักเรียนและอาจารย
สามารถพฒนาตนเองไดสงสดตามศักยภาพของแตละคน ระบบขอมูลเชนนี้เรียกกันวา ขอมูลการ
           ั                  ู ุ
บริหารการจัดการ
          4. งานวิจัย ผูเรียนและครูผูสอน สามารถคนหาเรื่องราวที่สนใจจะศึกษาคน ควา วิเคราะห
วิจัย โดยเฉพาะ ในสวนที่เปนวรรณคดีที่เกี่ยวของ (Review of Literature) เพื่อดูวามีใครบางที่ได
ศึกษาคนควาเอาไว เพื่อนํามาผลสรุปมาอางอิงหรือนํามาเปนตัวแบบศึกษาคนควาตอ อย างไรก็ตาม
งานบางเรื่องอาจจะตองเสียคาใชจายบาง ซึ่งสามารถจายไดผานบัตรเครดิตเนื่องจากเปนงานที่มี
ลิขสิทธิ์ทางปญญาแตเอกสาร




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
9




สวนมากทั้งงานวิจัยและเอกสารทั่วไปที่คนควาไดจะเปนเรื่องที่เปดเผยแกสาธารณชนทั่วไปโดยไม
คิดมูลคา
              5. การประมวลผลหรือการทํางานโดยใชเครื่องอื่นจากบริการของอินเทอรเน็ต รวมถึงการ
ขอใชเครื่องที่มีศักยภาพสูงทํางานบางงานใหเราไดหากไดรับอนุญาตหรือเราเปนสมาชิกอยู ดังนั้น
งานประมวลผลหรืองานคํานวณที่ตองการความรวดเร็วและมีความซับซอนสูงก็สามารถใชบรการน้ี       ิ
ได สถานศึกษาบางแหงอาจมีเครื่องที่มีสมรรถนะไมสูงพอที่จะทํางานบางงาน ก็สามารถทํางานที่
เครื่องของตนเองแตสงงานขามเครื่องไปใหศูนยใหญ หรือศูนยสาขาชวยทํางานใหและสงผลงา น
นั้นกลับมายังจอคอมพิวเตอรของเจาของงาน
              6. การเลนเกมเพื่อลับสมองและฝกความคิดกับการทํางานของมือ ในเครือขายอินเทอรเน็ต
มีเกมใหเลนแทบทุกระดับ โดยที่สวนหนึ่งของเกมดังกลาวจะเปดใหเลนโดยไมคิดมูลคา ซึ่งผูเรียน
อาจขอเขาลองศึกษาวิธีการ และลองเลนกับเพื่อนรวมชั้น หรือเลนกับเพื่อนตางสถาบันได
โดยสะดวกอยางไรก็ตาม การเลนเกมควรมีขอนาพิจารณาวา เลนเพ่ือฝกสมองหรือคลาย
                                                              
ความเครียดนั้นจะเปนประโยชนมากกวาทุมเท เสียเวลา เพอจะเอาชนะการเลนในเกมแตเ พยงอยาง
                                                          ่ื                          ี 
เดยว    ี
              7. การศึกษางานดานศิลปวั ฒนธรรมผานเ ครอขายอนเทอรเ นต เนื่องจากสังคมโลกเปน
                                                      ื  ิ          ็
สังคมที่ประกอบไปดวยผูคนหลายเชื้อชาติ ซึ่งแตชนชาติลวนมีภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วฒนธรรม สภาพความเปนอยู สภาวะเศรษฐกิจ ตลอดจนแนวคิด ที่แตกตางกั น แตในเครือขาย
  ั
อนเทอรเ นต การศึกษาแลกเปลี่ยนความรู เพื่อนําสวนที่ดีและเหมาะสมของบางสังคมมาประยุกตใช
    ิ            ็
ใหกับสังคมของตนสามารถทําไดโดยงาย โดยที่ผูเรียน ครู อาจารย รวมถึงผูสนใจทั่วไป อาจจะใช
เวลาสวนหนง เพื่อดูขอมูลหรือรับฟงเรื่องราว อีกทั้งดูภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ผานเครือขาย
                    ่ึ
อนเทอรเ นต เพื่อที่จะนําเอาขอ มูลเหลานั้นมาใชประกอบการเรียน การสอน หรือการประยุกตใช
      ิ            ็
ในชีวิตประจําวัน จากที่กลาวมานั้น จะเห็นไดวาประโยชนของอินเทอรเน็ตนั้นมีมากมายมหาศาล
หากเรารูจักใชอยางถูกวิธี และจากประโยชนดังกลาวนั้นเอง ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ
คอมพวเตอร แหงชาติ (เนคเทค ) เห็นวาหากมีการนําอินเทอรเน็ตมาเพื่อพั ฒนาการศึกษาของ
            ิ
ประเทศ ก็จะทําให เกิดประโยชนและสรางความเทาเทียมกันในดานการศึกษาใหมาก ยิ่งขึ้น จึงเปน
ที่มาของโครงการเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย ดังจะไดกลาวในหัวขอถัดไป




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
10




พฤติกรรมและสิ่งที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรม
       พฤตกรรม
          ิ

                    กันยา สุวรรณแสง (2532) ไดใหความหมายของคําวาพฤติกรรมไววา คือกิริยา
อาการ บทบาท ลีลา ทาที การประพฤติ ปฏิบัติ การกระทําที่แสดงออกใหปรากฏสัมผัสไดดวย
ประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่งของประสาทสัมผัสทั้งหาซึ่งสามารถวัดไดดวยเครื่องมือ
สิ่งที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรม กันยา สุวรรณแสง (2532)
            1. พันธุกรรม คือ การถายทอดบุคลิกลักษณะจากปู ยา ตา ยาย พอแมสูลูกหลาน มีลักษณะ
ทางกายและทางสติปญญา
           2. สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเปนสิ่งเรากระตุนใหบุคคลแสดงออก
โตตอบในลักษณะตางๆ กันซึ่งมีผลตอพฤติกรรมของมนุษย ไดแก
                    2.1. สิ่งแวดลอมทางบาน เชน การอบรมเลี้ยงดู ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม
ของครอบครัว บรรยากาศภายในบาน สิ่งเหลานี้ลวนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็กมาก
                    2.2. สงแวดลอมทางโรงเรียน อันไดแก ครูอาจารย เพื่อนนักเรียน สภาพ
                             ่ิ
บรรยากาศภายในโรงเรียน
                    2.3. สิ่งแวดลอมทางชุมชน ไดแก ขนบธรรมเนียม สื่อสารมวลชนตางๆ ก็ลวน
แลวแตมีอิทธิพลตอพฤติกรรม
                    2.4. วัฒนธรรม คนที่อยูในชั้นของสังคมที่แตกตางกัน มีพื้นฐานทางสังคมที่
แตกตางกัน จะมีพฤติกรรมตางกัน เพศ อายุ ความเชื่อ คานิยม ฯลฯ
                    2.5. ภูมิประเทศ มีอิทธิพลโนมนําใหลักษณะนิสัยใจคอและพฤติกรรมตางกัน

        การจูงใจใหเกิดพฤติกรรม

       พฤติกรรมเปนผลมาจากมนุษยแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา หรือแรงจูงใจ
พฤติกรรมบางอยางมีแรงจูงใจหลายอยางรวมกัน ซึ่งปจจัยในการจูงใจใหเกิดพฤติกรรม กันยา
สวรรณแสง (2532) ไดแก
 ุ                      




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
11




                    1. แรงจูงใจทางกาย เปนแรงจูงใจที่เกิดจากความตองการทางรางกาย เชน ความ
หว ความกระหาย
  ิ
                    2. แรงจูงใจทางสังคม เปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังการเรียนรู อาจแบงออกไดหลาย
อยาง ดังนี้
                           2.1. แสดงความตองการทางสังคมที่คลอยตามขนบธรรมเนียมประเพณี
วัฒนธรรมของชุมชนของตน
                           2.2. ความตองการอยางเดียวกัน อาจทําใหคนเรามีพฤติกรรมไมเหมือนกัน
เชน เมื่อตองการศึกษาคนควาเพิ่มเติม บางคนเขาหองสมุด ในขณะที่บางคนคนควาจากอินเตอรเน็ต
                           2.3. พฤติกรรมอยางเดียวกันอาจเนื่องมาจากความตองการที่แตกตางกันได
เชน บางคนชอบใชอินเตอรเน็ตเพราะตองการหาความรู ในขณะที่บางคนตองการความบันเทิง
                           2.4.พฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง อาจสนองความตองการไดมากกวาหนึ่ง
อยางในเวลาเดียวกัน เชน นักเรียนที่ใชอินเตอรเน็ตเพราะตองการขาวสารขอมูล และความ
เพลดเพลน
    ิ ิ
            อยางไรก็ตามสําหรับนักศึกษาสถาบันการพลศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งอยูในชวง
วัยรุน ยังมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมในหลายดาน ดังตอไปนี้
                 1. ปจจัยทางบาน เนื่องจากนักเรียนใชเวลาอยูบานเปนสวนมาก ปจจัยทางบานจึงมี
อิทธิพลตอพฤติกรรมของนักศึกษาวัยรุนเปนอยางมากสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูและเกิดขึ้นในบานลวนสงผล
ถึงพฤติกรรม เชน ความสัมพันธภายในครอบครัว จํานวนสมาชิกภายในบาน ความพรอมของ
ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก เปนตน
                 2. ปจจัยทางโรงเรียน เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของนักเรียนเปนอยางมาก
ถึงแมวานักเรียนจะใชเวลาอยูโรงเรียนนอยกว าอยูบาน แตโรงเรียนก็เปนสถานที่ ที่นักเรียนได
เรียนรูสิ่งตางๆ ปจจัยทางโรงเรียน เชน ประเภทของโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน ชื่อเสียงของ
โรงเรยน สภาพแวดลอมภายในโรงเรยน
       ี                                ี
                 3. ปจจัยทางชุมชน ถือไดวาเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่สําคัญอีกประการ
หน่ึงการที่นักศึกษาไดอยูในทามกลางชุมชนแบบใด ก็จะมีแนวโนมที่จะแสดงพฤติกรรมตาม
แบบอยางที่ไดพบเห็น ปจจัยทางชุมชน เชน ขนาดของชุมชน ที่ตั้งและสภาพแวดลอม เปนตน




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
12




           4. เพอน ถือไดวาเปนอิทธิพลที่สําคัญที่สุดของวัยรุน เพราะวัยรุนเปนวัยที่ตองการ
                 ่ื
การยอมรับจากกลุมเพื่อน สังคมของวัยรุนสวนใหญจึงเปนสังคมของเพื่อน โดยอิทธิพลของกลุม
เพอน
  ่ื

        พฤติกรรมการสื่อสาร

        ในการแสวงหาขอมูลขาวสารผานอินเตอรเน็ต ผูใชสามารถที่จะควบคุมขอมูลขาวสารที่
ตองการเปดรับหรือเลือกปฏิเสธขอมูลขาวสารที่เห็นวาไมนาสนใจไดอยางสะดวก ปจจัยที่สําคัญที่
ใชประกอบการตัดสินใจรับขาวสารแตกตางกันออกไปตามแตละบุคคล
Schramm (1973) อางถงใน (ปรมะ สตะเวทิน, 2539) มีดังนี้
                   ึ

         1. ความสะดวกในการใช บุคคลจะเลือกใชสื่อที่อยูใกลตัวและมีความสะดวกในการใช
มากที่สุด
         2. ความเดน บุคคลเลือกใหความสนใจกับสาร ที่มีจุดเดนตางไปจากสารอื่น
         3. ประสบการณ ทําใหผูรับสารแสวงหาขาวสารตางกัน
         4. การใชประโยชนของขาวสาร ผูรับสารจะแสวงหาขาวสารเพื่อสนองวัตถุประสงคอยาง
ใดอยางหนง
           ่ึ
         5. การศึกษาและสถานะทางสังคม การศึกษาและชั้นทางสังคมมีอิทธิพลอยางยิ่งตอการ
เลือกของผูรับสาร

         งานวิจัยที่เกี่ยวของ
         อินเตอรเน็ตไดเขามามีบทบาทในสถาบันการศึกษา ซึ่งก็ไดมีผูทําการศึกษาเกี่ยวกับ
พฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ต ไวดังนี้
         องอาจ ฤทธิ์ทองพิทักษ (2539) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสื่อสารผานระบบ
เวิลดไวดเว็บของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา
         1. นักศึกษาสวนใหญมีการใชการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บที่มหาวิทยาลัย และสนใจ
เปดรับเนื้อหาประเภทบันเทิงมากที่สุด




           พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                   ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั
13




         2. นักศึกษาที่มีความแตกตางกันในเรื่อง เพศ อายุ และความเปนเจาของเครื่องคอมพิวเตอร
มีพฤติกรรมการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยเพศชายมี
พฤตกรรมการสอสารผานระบบเวิลดไวดเว็บมากกวาเพศหญิงและนักศึกษาที่เปนเจาของเครื่อง
     ิ           ่ื
คอมพิวเตอรมีพฤติกรรมการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บมากกวานักศึกษาไมเปนเจาของเครื่อง
คอมพวเตอร
       ิ
         3. นักศึกษามีการใชประโยชนจากระบบเวิลดไวดเว็บ เพื่อการพัฒนาตนเองในดานวิชาการ
และทักษะการใชงานระบบเวิลดไวดเว็บ และใชระบบเวิลดไวดเว็บในการตอบสนองความตองการ
ดานขาวสารและการพกผอนหยอนใจ
                     ั      
         วอนชนก ไชยสนทร (2546) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ตของ
                          ุ
นักศึกษาปริญญาตรี ในสาขาวิชาดานคอมพิวเตอร พบวา

         1. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาดานคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สวนใหญเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง
         2. นกศกษาสวนใหญใน 1 สัปดาห มีการใชอินเตอรเน็ตทุกวัน รองลงมาใชประมาณ 3-4
              ั ึ           
ครั้ง/สปดาห, ประมาณ 5-6 ครั้ง/สัปดาห และประมาณ 1-2 ครั้ง/สัปดาห ตามลําดับ
       ั
         3. นักศึกษาสวนใหญมีระยะเวลาโดยเฉลี่ยในการใชอินเตอรเน็ตในแตละครั้งระหวาง 1-2
ชั่วโมง รองลงมาคือระหวาง 3-4 ชั่วโมง ,มากกวา 4 ชั่วโมง และนอยกวา 1 ชั่วโมง ตามลําดับ
         4. นกศกษาสวนใหญใชอนเตอรเ นตระหวางเวลา 18.01-24.00 น. รองลงมาใชระหวาง
               ั ึ             ิ       ็       
เวลา 12.01-18.00 น. , ระหวางเวลา 00.01-06.00 น. และระหวางเวลา 06.01-12.00 น. ตามลําดับ
                                                         
         5. นักศึกษาสวนใหญใชอินเตอรเน็ตที่บาน รองลงมาใชที่สถาบันที่ศึกษา ใชที่ราน
อินเตอรเน็ต ตามลําดับ




          พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2
                  ั        ั ึ    ิ          ั ู             ั

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..patcharee0501
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีทkroobannakakok
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socPrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นKritsadin Khemtong
 
Libcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationLibcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationMaykin Likitboonyalit
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1Kungkunk Naruk
 

La actualidad más candente (20)

จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
จักราวุธฯ เขียนเนื้อหารายวิชาหน้าที่พลเมือง ม.ปลาย ของ กศน. ก.ย.๕๗
 
การจัดกิจ..
การจัดกิจ..การจัดกิจ..
การจัดกิจ..
 
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีทการวางแผนการจัดการเรียนรู้  วิชาพระพุทธศาสนา  ชั้นมัธยมศึกษาปีท
การวางแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาพระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีท
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 5+494+dltvsocp6+T2 p4 6-u05-soc
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
สรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษาสรุปวิชาการศึกษา
สรุปวิชาการศึกษา
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
วิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่นวิจัยญี่ปุ่น
วิจัยญี่ปุ่น
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
Libcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local informationLibcampubon2 Case study website local information
Libcampubon2 Case study website local information
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1เทคโนโลยี ป.1
เทคโนโลยี ป.1
 

Similar a บทที่ 2

หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทยpatcharee0501
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยpatcharee0501
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)kruthai40
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ PolSamapol Klongkhoi
 

Similar a บทที่ 2 (20)

หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 
B2
B2B2
B2
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
บทความบทที่  2  ภาษาไทยบทความบทที่  2  ภาษาไทย
บทความบทที่ 2 ภาษาไทย
 
บทที่ 2 ภาษาไทย
บทที่  2  ภาษาไทยบทที่  2  ภาษาไทย
บทที่ 2 ภาษาไทย
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กลุ่มสาระภาษาไทย
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
ยุทธศาสตร์การจัดการศึกษา (ดร.สมหวัง กลุ่ม5)
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Polเค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ Pol
 

บทที่ 2

  • 1. 1 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาวิจัยเรื่อง “สภาพปญหาและพฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ตในการเรียนรูของ นักศึกษาสถาบันการพลศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ” ผูวิจัยไดศึกษาแนวคดทฤษฎและ ิ ี งานวิจัยที่เกี่ยวของในหวขอตอไปน้ี ั   เอกสารทเ่ี ก่ียวกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2552-2559 เอกสารที่เกี่ยวของกับอินเทอรเน็ต 1. ความรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต 1.1 ความหมายของอินเตอรเน็ต 1.2 ความสําคัญของอินเตอรเน็ต 1.3 บรการของอนเตอรเ นต ิ ิ ็ 1.4 ประโยชนในการใชอนเทอรเ นต ในการเรยนรู ิ ็ ี 1.5 พฤติกรรมการใชอินเทอรเน็ต 2. แนวคดและทฤษฎี ิ แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมการของมนุษย เอกสารที่เกี่ยวกับแผนพัฒนาการศึกษาแหงชาติ ป พ.ศ. 2552-2559 ปจจุบันแมสถานการณจะเปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน แตเนื่องจากแผนการ ศึกษาแหงชาติ ฉบับเดิม (พ.ศ. 2545-2559) นน เปนแผนระยะยาวที่สอดคลองกับพระราชบัญญัติ ้ั  (พ.ร.บ.) การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 จงเห็นควรใหคงปรัชญาหลัก เจตนารมณ และวัตถุประสงค ึ ของแผนฉบับเดิมไว แลวปรับปรุงในสวนของนโยบายเปาหมายกรอบการดําเนินงานใหสอดคลอง กับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสรุปสาระสําคัญไดดังนี้ ปรัชญาหลักและกรอบแนวคิด การจัดทําแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559) ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงยึดทางสายกลางอยูบนพื้นฐานของความสมดุลพอดี รูจักพอประมาณ อยางมี พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 2. 2 เหตุผล มีความรอบรูเทาทันโลก เพื่อมุงใหเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนและความอยู ดีมีสุขของคนไทยเกิด การบูรณาการแบบองครวมที่ยึดคนเปนศูนยกลางของการพัฒนาอยางมีดุลยภาพทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่งแวดลอม เปนแผนที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับการศึกษา ทุกระดับ ซึ่งสอดคลองกับการพัฒนาการศึกษาในดานตางๆ ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ ปกครอง วัฒนธรรม สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี เปนตน โดยคํานึงถึงการพัฒนาอยาง ตอเนื่องตลอดชีวิต เจตนารมณของแผน  แผนการศึกษาแหงชาติมีเจตนารมณเพื่อมุงพัฒนาชีวิตใหเปน “มนุษยที่สมบูรณทั้งทาง รางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรม และวัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถ อยูรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข” และพัฒนาสังคมไทยใหเปนสังคมที่มีความเขมแข็งและมีดุลย ภาพใน 3 ดาน คือ เปนสังคมคุณภาพ สังคมแหงภูมิปญญาและการเรียนรู และสังคมสมานฉันท และเอออาทรตอกน ้ื  ั วัตถุประสงคของแผน 1. เพื่อใหบรรลุตามปรัชญาหลักและเจตนารมณของแผนการศึกษาแหงชาติ ฉบับ ปรับปรุง(พ.ศ. 2552 – 2559) จึงกําหนดวัตถุประสงคของแผนฯ ที่สําคัญ 3 ประการ ดังนี้ 2. พัฒนาคนอยางรอบดานและสมดุลเพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา 3. เพื่อสรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู 4. เพื่อพัฒนาสภาพแวดลอมของสังคมเพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และสรางสังคม คุณธรรม ภูมิปญญา และการเรียนรู แนวนโยบาย เปาหมาย และกรอบการดําเนินงาน เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคทั้งสามประการดังกลาว ประกอบกับการคํานึงถึงทิศ ทางการพัฒนาประเทศในอนาคตที่เนนการใชความรูเปนฐานของการพัฒนา ทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประชากร สิ่งแวดลอม วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี จึงไดกําหนดแนวนโยบายใน แตละวัตถุประสงค ดังนี้ วัตถุประสงค 1 พัฒนาคนอยางรอบดาน และสมดุล เพื่อเปนฐานหลักของการพัฒนา แนวนโยบาย พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 3. 3 1.1 พฒนาคุณภาพการศึกษาและการเรียนรูในทุกระดับและประเภทการศึกษา ั 1.2 ปลูกฝงและเสริมสรางใหผูเรียนมีศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยมมี จิตสํานึกและมีความภูมิใจในความเปนไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ คํานึงถึงประโยชน สวนรวมและยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและ รังเกียจการทุจริต ตอตานการซื้อสิทธิ์ขายเสียง 1.3 เพิ่มโอกาสทางการศึกษาใหประชาชนทุกคนตั่งแตแรกเกิดจนตลอดชีวิตไดมี โอกาสเขาถึงบริการการศึกษาและการเรียนรู โดยเฉพาะผูดอยโอกาส ผูพิการ หรือทุพพลภาพ ยากจน อยูในทองถิ่นหางไกล ทุรกันดาร 1.4 ผลิตและพัฒนากําลังคนใหสอดคลองกับความตองการของประเทศ และ เสริมสรางศักยภาพการแขงขัน และรวมมือกับนานาประเทศ 1.5 พัฒนามาตรฐานและระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบประกัน คุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก 1.6 ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย และบุคลากรทางการศึกษาใหมีคุณภาพและ มาตรฐานมีคุณธรรม และมีคุณภาพชีวิตที่ดี วัตถุประสงค 2 สรางสังคมไทยใหเปนสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรู แนวนโยบาย 2.1 สงเสริมการจัดการศึกษา อบรม และเรียนรูของสถาบันศาสนา และสถาบันทาง สังคมทั้งการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย 2.2 สงเสริมสนับสนุนเครือขายภูมิปญญา และการเรียนรูประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม พลศึกษา กีฬาเปนวิถีชีวิตอยางมีคุณภาพและตลอดชีวิต 2.3 สงเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสรางองคความรู นวัตกรรม และทรัพยสินทาง ปญญา พัฒนาระบบบริหารจัดการความรู และสรางกลไกลการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน วัตถุประสงค 3 พัฒนาสภาพแวดลอมของสังคม เพื่อเปนฐานในการพัฒนาคน และ สรางสังคมคุณธรรม ภูมิปญญาและการเรียนรูแนวนโยบาย 3.1 พัฒนาและนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชเพื่อการพัฒนาคุณภาพ เพิ่มโอกาส ทางการศึกษา และการเรียนรูแนวนโยบาย 3.2 เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยเรงรัดกระจายอํานาจการบริหารและ จัดการศึกษา ไปสูสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และองคกรปกครองสวนทองถิ่น พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 4. 4 3.3 สงเสริมการมีสวนรวมของภาคเอกชน ประชาชน ประชาสังคม และทุกภาค  สวนของสังคมในการบริหารจัดการศึกษา และสนับสนุนสงเสริมการศึกษา 3.4 ระดมทรัพยากรจากแหลงตางๆ และการลงทุนเพื่อการศึกษา ตลอดจนบริหาร จัดการ และใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพ 3.5 สงเสริมความรวมมือระหวางประเทศดานการศึกษา พัฒนาความเปนสากลของ การศึกษา เพื่อรองรับรับการเปนประชาคมอาเซียน และเพิ่มศักยภาพการแขงขันของประเทศ ภายใตกระโลกาภิวัฒน ขณะเดียวกันสามารถอยูรวมกันกับพลโลกอยางสันติสุข มีการพึ่งพาอาศัย และเกื้อกูลกัน การบริหารแผนสูการปฏิบัติ แผนการศึกษาแหงชาติฉบับนี้ใหความสําคัญกับการนําแผนสูการปฏิบัติ เพื่อเปน กลไกขับเคลื่อนขอเสนอปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง ที่เนนเปาหมาย 3 ดาน คือ การพัฒนา คุณภาพการศึกษา การขยายโอกาสทางการศึกษา และการสงเสริมการมีสวนรวมในการบริการและ จัดการศึกษา ซึ่งสอดคลองกับระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ จึงเห็นควร กาหนดระเวลาดาเนนงานบรหารแผนสการปฏบตเิ ปน 2 ระยะ ดังนี้ ํ ํ ิ ิ ู ิ ั  ระยะที่ 1 แผนงานรบดวน ระหวางป 2552-2554 ใหเรงดําเนินการตามขอเสนอการ ี   ปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง โดยใหมีการจัดทําแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาตามประเด็น เปาหมายการปฏิรูปการศึกษา ไดแก 1) แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) แผนขยายโอกาสทาง การศึกษา และ 3) แผนสงเสริมการมีสวนรวมในการบริหารและจัดการศึกษา รวมทั้งควรมีการ สรางกลไกเพื่อขับเคลื่อนการดําเนินงานตามแผนการศึกษาแหงชาติ ระยะที่ 2 ระหวางป 2552-2559 ใหเรงดําเนินการตามนโยบายทั้ง 14 ดาน ใหบรรลุผล ตามเปาหมายที่กําหนดไว และติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนฯ เมื่อสิ้นสุดระยะที่ 1 และระยะที่ 2 รวมทั้งการเตรียมการรางแผนการศึกษาแหงชาติฉบับใหมตอไป ความรูเกี่ยวกับอินเตอรเน็ต ความหมาย มีนักวิชาการไดใหความหมายกับอินเทอรเน็ตไวตางกัน ดังนี้ พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 5. 5 ครรชิต มาลัยวงศ (2540) ไดอธิบายวาอินเตอรเน็ต เปนเครือขายคอมพิวเตอรขนาด ใหญโตที่สุดของโลกปจจุบันนี้ อินเตอรเน็ตเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอรขนาดใหญทั่วโลกนับลาน เครื่องเขาดวยกัน คอมพิวเตอรขนาดใหญเหลานี้ยังเชื่อมโยงไปยังคอมพิวเตอรขนาดเล็กอีกมากมาย ทําใหมีผูที่เปนสมาชิกเครือขายอินเตอรเน็ตอยูทั่วโลกหลายสิบลานคน ศรีดา ดัจทะอธิพานิช (2544) ไดกลาววาอินเทอรเน็ต คือ การับสงขอมูลที่เปนตัวหนังสือ รูปภาพ เสียง และภาพเคลื่อนไหว การรับสงขอมูลขาวสารทําไดตลอดเวลา ครอบคลุมพื้นที่หลาย ประเทศทั่วโลก มีการทํางานที่สะดวกและรวดเร็ว ดังนั้นเราอาจสรุปความหมายของอินเตอรเน็ต คือ เปนระบบเครือขายของเครือขาย คอมพิวเตอรขนาดใหญ ที่โยงใยคอมพิวเตอรทั่วทุกมุมโลกเขาดวยกัน ภายใตมาตรฐานการ เชื่อมโยงเดียวกัน โดยใชโปรโตคอล ทซพี/ไอพี (TCP/IP Transmitsion Control Protocol/Internet  ี ี Protocol) ในการติดตอสื่อสาร และสามารถทําใหคนจํานวนมากสื่อสารขอมูลทั้งในรูปของขอความ ภาพและเสยง ไดสะดวกและรวดเรวดวยคอมพวเตอรตางระบบและตางชนดกนจงเป นเครือขายที่ ี  ็  ิ   ิ ั ึ ใหญที่สุดในโลก (วาสนา สุขกระสานติ,2540:6) ความสําคัญของอินเตอรเน็ต การเชื่อมตอคอมพิวเตอรจํานวนมากทําใหเครือขายอินเตอรเน็ต มีการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสารที่เปนประโยชนอยางมากมาย กิจกรรมทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและ การศึกษา ถูกเชื่อมโยงใหเขาถึงกันและกันอินเตอรเน็ตเปนแหลงสารสนเทศที่สําคัญ มีเรื่องราว ตางๆ มากมายทั้งความรู ความบันเทิงหลายรูปแบบเพื่อสนองความตองการ ความสนใจสําหรับ บุคคลทุกวงการและทุกสาขาอาชีพ การเชื่อมตออินเตอรเน็ต ทําใหคนทั่วโลก ตางเพศ ตางวัย ตางเชื้อชาติ ศาสนา สามารถติดตอสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสารกันไดอยางไมมีขอจํากัด  บริการบนอินเตอรเน็ต ระบบอินเตอรเน็ตมีเครือขายทั่วโลกจึงมีผูคนนิยมใชผานบริการตาง ๆ ดังนี้ 1. E-mail (Electronics mail) หรือไปรษณียอิเล็กทรอนิกส เปนบริการรับ สง ขอความผานเครือขายคอมพิวเตอร ผูใชสามารถสงขอมูลขาวสารไปยังผูรับคนอื่น ๆ ได ถาผูรับมีที่อยูตามขอกําหนดการใช E-mail พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 6. 6 2. World Wide Web หรอ WWW เปนบริการขอมูลบนอินเตอรเน็ตที่ไดรับความ ื นิยมสูง ในปจจุบัน จุดเดนของ WWW ที่มีเหนือบริการอื่นๆ ในอินเตอรเน็ตไดแกความ งายในการใชงานและรูปแบบการแสดงผลแบบไฮเปอรเท็กซที่เชื่อมโยงจากขอมูลชุดหนึ่ง ไปสูขอมูลอีกชุดหนึ่ง ซึ่งจะมีทั้งแบบขอความปกติหรือมัลติมีเดีย เสียง ภาพนิ่ง และ ภาพเคลื่อนไหว 3. IRC (Internet Relay Chat) เปนการสนทนาโตตอบกันบนอินเตอรเน็ต โดยใช การพิมพขอความหรือใชเสียง โดยอาจสนทนากันเปนกลุมหรือระหวางบุคคล 2 บุคคลก็ ได การสนทนาในรูปแบบนี้เปนที่นิยมมาก เนื่องจากเปนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น พูดคุยไดทันที เรียกวา Talks หรอ Chat ื อินเทอรเน็ตในการเรยนรู ี ตั้งแตตน ป ค.ศ.1990 เปนตนมา การประยุกตอินเทอรเน็ต ทางการเรียนรูหรือทางการศึกษาได เปลี่ยนจากชวงของการพัฒนาและวิจัยเครือขาย มาเปนชวงของความพยายามในการบูรณาการเครือขาย อนเทอรเ นตกบกจกรรมการเรยนการสอน โดยเฉพาะอยางยิ่งการเรียนการสอนในระดับตั้งแตอนุบาล จนถึง ิ ็ ั ิ ี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย นักการศึกษาในสหรัฐอเมริกา ไดใชอินเทอรเน็ตในการสืบคนสารสนเทศตางๆ บนเครือขาย เชน รายงานการวิจัยการคนควาทางการศึกษา แผนการสอน รวมไปถึงกิจกรรมการเรี ยนการสอน ที่ไดมีการเผยแพรไวบนเครือขาย นอกจากนี้ กลุมขาว หรือ Newsgroup และ กลุมสนทนา หรือ Discussion Groupที่มีบริการบนเครือขายอินเทอรเน็ตนั้น ไดกลายเปนศูนยกลางการติดตอสื่อสาร อภิ ปราย แลกเปลี่ยน และสอบถามขอมูลของผูเรียนตลอดจนครู อาจารย ผูสอนที่สนใจในเรื่องเดียวกัน (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2541) ประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษา ปจจุบัน หลายๆ ประเทศ รวมทั้งประเทศไทย ตางไดนําอินเทอรเน็ ตไปประยุกตใชใน กระบวนการเรียนการสอน จนถือไดวาอินเทอรเน็ตกลายเปนเทคโนโลยีการศึกษาของยุคปจจุ บัน ไปแลว ซึ่งคุณคาทางการศึกษาในการจดกจกรรมการเรยนการสอนผานอนเทอรเน็ต ซึ่ง ั ิ ี  ิ ถนอมพรเลาห จรัสแสง (2541) ไดกลาวถึงประโยชนของอินเทอรเน็ตทางการศึกษาไวดังนี้ 1. การใชกิจกรรมบนเครือขายคอมพิวเตอรชวยทําใหผูเรียนไดเรียนรูเกี่ยวกับสังคม วฒนธรรมและ ั พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 7. 7 โลกมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากเครือขายอินเทอรเน็ต อนุญาตใหผูเรียนสามารถสื่อสารกับผูคนทั่วโลกได อยางรวดเร็ว และสามารถสืบคนหรือเผยแพรขอมูลสารสนเทศจากทั่วโลกไดเชนกัน  2. เปนแหลงความรูขนาดใหญสําหรับผูเรียน โดยที่สื่อประเภทอื่นๆ ไ มสามารถทําได กลาวคือ ผูเรียน สามารถคนหาขอมูลในลักษณะใดๆ ก็ได ไมวาจะเปนขอความ ภาพนิ่ ง ภาพเคลอนไหว หรอในรปแบบของ สื่อประสม โดยการสืบคนผานเครือขายอินเทอรเน็ตที่โยงไย ่ื ื ู กับแหลงขอมูลตางๆ ทั่วโลก 3. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนผานอินเทอรเน็ต ทําใหเกิดผลกร ะทบตอผูเรียนในดาน ทักษะการคิดอยางมีระบบ (high-order thinking skills) โดยเฉพาะทําใหทักษะการวิเคราะหสืบคน (inquiry-basedanalytical skill) การคิดเชิงวิเคราะห (critical thinking) การวิเคราะหขอมูล การ แกปญหา และการคิด อยางอิสระ ทั้งนี้เนื่องจากเครือขา ยคอมพิวเตอรเปนแหลงรวมขอมูลมากมาย มหาศาล ผูเรียนจึงจําเปนตองทําการวิเคราะหอยูเสมอ เพื่อแยกแยะขอมูลที่เปนประโยชนและไม เปนประโยชนสําหรับตนเอง 4. สนับสนุนการสื่อสารและการรวมมือกันของผูเรียน ไมวาจะในลักษณะของผูเรียนรวม หอง หรือผูเรียนตางหองเรียนบนเครือขายดวยกัน เชน การที่ผูเรียนหองหนึ่งตองการที่จะ เตรยม  ี ขอมูลเกี่ยวกับการถายภาพเพื่อสงไปใหอีกหองเรียนหนึ่งนั้น ผูเรียนในหองแรกจะตองชวยกัน ตัดสินใจทีละขั้นตอนในวิธีการที่จะเก็บรวบรวมขอมูลและการเตรียมขอมูลอยางไร เพื่อสงขอมูล เรองการถายภาพนี้ไปใหผูเรียนอีกหองหนึ่งโดยที่ผูเรียนตางหองสามารถเขาใจไดโดยงาย ่ื 5. สนับสนุนกระบวนการ สหสาขาวิชาการ (interdisciplinary) กลาวคือ ในการนําเครือขาย มาใชเชื่อมโยงกับกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น นักการศึกษาสามารถที่จะบู รณาการการเรยนการ ี สอนในวิชาตางๆเชน คณิตศาสตร ภูมิศาสตร สังคม ภาษา วิทยาศาสตร ฯลฯ เขาดวยกัน 6. ชวยขยายขอบเขตของหองเรียนออกไป เพราะผูเรียนสามารถที่ จะใชเครือขายในการ สารวจปญหาตางๆ ที่ผูเรียนมีความสนใจ นอกจากนี้ ยังเปดโอกาสใหผูเรียนไดทํางาน รวมกับผูอื่น ํ  ซึ่งอาจมีความคิดเห็นแตกตางกันออกไป ทําใหมุมมองของตนเองกวางขึ้น 7. การที่เครือขายอินเทอรเน็ตอนุญาตใหผูเรียนสามารถเขาถึงผูเชี่ ยวชาญหรือผูที่ให คําปรึกษาไดและการที่ผูเรียนมีความอิสระในการเลือกศึกษาสิ่งที่ตนเองสนใจ ถือเปนแรงจู งใจ สําคัญอยางหนึ่งในการเรยนรูของผูเรียน ี 8. ผลพลอยไดจากการที่ผูเรียนทําโครงการบนเครือขายตางๆ นี้ ทําใหผูเรียนมีโอกาสที่จะ ทําความ พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 8. 8 คุนเคยกับโปรแกรมประยุกตตางๆ บนคอมพิวเตอรไปดวยในตัว เชน โปรแกรม ประมวลผลคํา เปนตน นอกจากน้ี อธิปตย คลี่สุนทร (2542) กลาววาการนําอินเทอรเน็ตมาใชเพื่อ การศึกษานั้น จะชวยเสริมสรางคุณภาพ และความเสมอภาคกันในหลายเรื่อง ดังนี้ 1. ครู อาจารยผูสอน สามารถพัฒนาคุณภาพบทเรียน หรือแนวคิดในสาขาวิชาที่สอน โดยการเรียกดูจากสถาบันการศึกษาอื่น ไมวาจะเปนเนื้อหาวิชาการ คูมือครู แบบฝกหั ดซึ่งบางเรื่อง สามารถคัดลอกนํามาใชไดทันที เนื่องจากผูผลิตแจงความจํานงใหเปนของสาธารณชน นําไปใชได (PublicMode)ในทางกลับกันครู อาจารยที่มีแนวคิด วิธีการสอน คูมือการสอนที่นาสนใจ สราง ความเขาใจไดดีกวาผูอื่น ก็สามารถนําเสนอเรื่องดังกลาวในเว็บไซตของสถาบันตนเอง เพื่อใหผูอื่น ศึกษาใชงานได สวนหนึ่งของเรื่องดังกลาวอาจจะทําเปนโปรแกรมสําเร็จรูปหรืออยูในรูป ของ ซีดีรอม (CompactDisc-ReadOnlyMemory) ซึ่งโดยทั่วๆไปเรียกกันวา คอมพิวเตอรชวยสอน ซึ่งมี ทั้งชวยสอนวิชาทั่วๆ ไป และชวยสอนวิชาที่เกี่ยวกับวิทยาการดานคอมพวเตอรโดยตรง ิ  2. นักเรียน นักศึกษา สามารถเขาถึงการเรียนการสอนของครู อาจารย จากตางสถาบันและ อาจแลกเปลี่ยนขอมูลที่สถาบันตนเองยังไมมี เชน ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสี ยงประกอบ ของวิชา ตางๆ การทดลองทางวิทยาศาสตร ภาพงานศิลปะ หรือสารคดีที่ เกี่ยวของวิชาภูมิศาสตร ฯลฯ เปน ตน 3. ขอมูลตางๆ ทางการบริหารและการจัดการ สามารถแลกเปลี่ ยนและถายโอนแฟมขอมล    ู ได เชน ทะเบียนประวัตินักเรียน วิชาที่เรียน ผลการเรียน การแนะแนวการศึกษาตอและอ าชีพ หรือ การยายถิ่นที่อยู นอกจากนี้อาจจะบรรจุขอมูลของครู อาจารย เงินเดือน คุณวุฒิ การอบรมฝกฝน ความรูความสามารถพิเศษ ฯลฯ เปนตน ลงไปในเว็บไซต ซึ่งขอมูลดังกลาวอาจมีภาพถายประกอบ ทําใหฝายบริหารสามารถติดตาม แลกเปลี่ยนขอมูลตามความจําเปน เพื่อดูแลใหนักเรียนและอาจารย สามารถพฒนาตนเองไดสงสดตามศักยภาพของแตละคน ระบบขอมูลเชนนี้เรียกกันวา ขอมูลการ ั  ู ุ บริหารการจัดการ 4. งานวิจัย ผูเรียนและครูผูสอน สามารถคนหาเรื่องราวที่สนใจจะศึกษาคน ควา วิเคราะห วิจัย โดยเฉพาะ ในสวนที่เปนวรรณคดีที่เกี่ยวของ (Review of Literature) เพื่อดูวามีใครบางที่ได ศึกษาคนควาเอาไว เพื่อนํามาผลสรุปมาอางอิงหรือนํามาเปนตัวแบบศึกษาคนควาตอ อย างไรก็ตาม งานบางเรื่องอาจจะตองเสียคาใชจายบาง ซึ่งสามารถจายไดผานบัตรเครดิตเนื่องจากเปนงานที่มี ลิขสิทธิ์ทางปญญาแตเอกสาร พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 9. 9 สวนมากทั้งงานวิจัยและเอกสารทั่วไปที่คนควาไดจะเปนเรื่องที่เปดเผยแกสาธารณชนทั่วไปโดยไม คิดมูลคา 5. การประมวลผลหรือการทํางานโดยใชเครื่องอื่นจากบริการของอินเทอรเน็ต รวมถึงการ ขอใชเครื่องที่มีศักยภาพสูงทํางานบางงานใหเราไดหากไดรับอนุญาตหรือเราเปนสมาชิกอยู ดังนั้น งานประมวลผลหรืองานคํานวณที่ตองการความรวดเร็วและมีความซับซอนสูงก็สามารถใชบรการน้ี  ิ ได สถานศึกษาบางแหงอาจมีเครื่องที่มีสมรรถนะไมสูงพอที่จะทํางานบางงาน ก็สามารถทํางานที่ เครื่องของตนเองแตสงงานขามเครื่องไปใหศูนยใหญ หรือศูนยสาขาชวยทํางานใหและสงผลงา น นั้นกลับมายังจอคอมพิวเตอรของเจาของงาน 6. การเลนเกมเพื่อลับสมองและฝกความคิดกับการทํางานของมือ ในเครือขายอินเทอรเน็ต มีเกมใหเลนแทบทุกระดับ โดยที่สวนหนึ่งของเกมดังกลาวจะเปดใหเลนโดยไมคิดมูลคา ซึ่งผูเรียน อาจขอเขาลองศึกษาวิธีการ และลองเลนกับเพื่อนรวมชั้น หรือเลนกับเพื่อนตางสถาบันได โดยสะดวกอยางไรก็ตาม การเลนเกมควรมีขอนาพิจารณาวา เลนเพ่ือฝกสมองหรือคลาย  ความเครียดนั้นจะเปนประโยชนมากกวาทุมเท เสียเวลา เพอจะเอาชนะการเลนในเกมแตเ พยงอยาง ่ื  ี  เดยว ี 7. การศึกษางานดานศิลปวั ฒนธรรมผานเ ครอขายอนเทอรเ นต เนื่องจากสังคมโลกเปน  ื  ิ ็ สังคมที่ประกอบไปดวยผูคนหลายเชื้อชาติ ซึ่งแตชนชาติลวนมีภาษา ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒนธรรม สภาพความเปนอยู สภาวะเศรษฐกิจ ตลอดจนแนวคิด ที่แตกตางกั น แตในเครือขาย ั อนเทอรเ นต การศึกษาแลกเปลี่ยนความรู เพื่อนําสวนที่ดีและเหมาะสมของบางสังคมมาประยุกตใช ิ ็ ใหกับสังคมของตนสามารถทําไดโดยงาย โดยที่ผูเรียน ครู อาจารย รวมถึงผูสนใจทั่วไป อาจจะใช เวลาสวนหนง เพื่อดูขอมูลหรือรับฟงเรื่องราว อีกทั้งดูภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ผานเครือขาย  ่ึ อนเทอรเ นต เพื่อที่จะนําเอาขอ มูลเหลานั้นมาใชประกอบการเรียน การสอน หรือการประยุกตใช ิ ็ ในชีวิตประจําวัน จากที่กลาวมานั้น จะเห็นไดวาประโยชนของอินเทอรเน็ตนั้นมีมากมายมหาศาล หากเรารูจักใชอยางถูกวิธี และจากประโยชนดังกลาวนั้นเอง ศูนยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและ คอมพวเตอร แหงชาติ (เนคเทค ) เห็นวาหากมีการนําอินเทอรเน็ตมาเพื่อพั ฒนาการศึกษาของ ิ ประเทศ ก็จะทําให เกิดประโยชนและสรางความเทาเทียมกันในดานการศึกษาใหมาก ยิ่งขึ้น จึงเปน ที่มาของโครงการเครือขายคอมพิวเตอรเพื่อโรงเรียนไทย ดังจะไดกลาวในหัวขอถัดไป พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 10. 10 พฤติกรรมและสิ่งที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรม พฤตกรรม ิ กันยา สุวรรณแสง (2532) ไดใหความหมายของคําวาพฤติกรรมไววา คือกิริยา อาการ บทบาท ลีลา ทาที การประพฤติ ปฏิบัติ การกระทําที่แสดงออกใหปรากฏสัมผัสไดดวย ประสาทสัมผัสทางใดทางหนึ่งของประสาทสัมผัสทั้งหาซึ่งสามารถวัดไดดวยเครื่องมือ สิ่งที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรม กันยา สุวรรณแสง (2532) 1. พันธุกรรม คือ การถายทอดบุคลิกลักษณะจากปู ยา ตา ยาย พอแมสูลูกหลาน มีลักษณะ ทางกายและทางสติปญญา 2. สิ่งแวดลอม หมายถึง สิ่งตางๆ ที่อยูรอบตัวเปนสิ่งเรากระตุนใหบุคคลแสดงออก โตตอบในลักษณะตางๆ กันซึ่งมีผลตอพฤติกรรมของมนุษย ไดแก 2.1. สิ่งแวดลอมทางบาน เชน การอบรมเลี้ยงดู ฐานะทางเศรษฐกิจและสังคม ของครอบครัว บรรยากาศภายในบาน สิ่งเหลานี้ลวนมีอิทธิพลตอพฤติกรรมของเด็กมาก 2.2. สงแวดลอมทางโรงเรียน อันไดแก ครูอาจารย เพื่อนนักเรียน สภาพ ่ิ บรรยากาศภายในโรงเรียน 2.3. สิ่งแวดลอมทางชุมชน ไดแก ขนบธรรมเนียม สื่อสารมวลชนตางๆ ก็ลวน แลวแตมีอิทธิพลตอพฤติกรรม 2.4. วัฒนธรรม คนที่อยูในชั้นของสังคมที่แตกตางกัน มีพื้นฐานทางสังคมที่ แตกตางกัน จะมีพฤติกรรมตางกัน เพศ อายุ ความเชื่อ คานิยม ฯลฯ 2.5. ภูมิประเทศ มีอิทธิพลโนมนําใหลักษณะนิสัยใจคอและพฤติกรรมตางกัน การจูงใจใหเกิดพฤติกรรม พฤติกรรมเปนผลมาจากมนุษยแสดงปฏิกิริยาตอบสนองตอสิ่งเรา หรือแรงจูงใจ พฤติกรรมบางอยางมีแรงจูงใจหลายอยางรวมกัน ซึ่งปจจัยในการจูงใจใหเกิดพฤติกรรม กันยา สวรรณแสง (2532) ไดแก ุ  พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 11. 11 1. แรงจูงใจทางกาย เปนแรงจูงใจที่เกิดจากความตองการทางรางกาย เชน ความ หว ความกระหาย ิ 2. แรงจูงใจทางสังคม เปนสิ่งที่เกิดขึ้นภายหลังการเรียนรู อาจแบงออกไดหลาย อยาง ดังนี้ 2.1. แสดงความตองการทางสังคมที่คลอยตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรมของชุมชนของตน 2.2. ความตองการอยางเดียวกัน อาจทําใหคนเรามีพฤติกรรมไมเหมือนกัน เชน เมื่อตองการศึกษาคนควาเพิ่มเติม บางคนเขาหองสมุด ในขณะที่บางคนคนควาจากอินเตอรเน็ต 2.3. พฤติกรรมอยางเดียวกันอาจเนื่องมาจากความตองการที่แตกตางกันได เชน บางคนชอบใชอินเตอรเน็ตเพราะตองการหาความรู ในขณะที่บางคนตองการความบันเทิง 2.4.พฤติกรรมอยางใดอยางหนึ่ง อาจสนองความตองการไดมากกวาหนึ่ง อยางในเวลาเดียวกัน เชน นักเรียนที่ใชอินเตอรเน็ตเพราะตองการขาวสารขอมูล และความ เพลดเพลน ิ ิ อยางไรก็ตามสําหรับนักศึกษาสถาบันการพลศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งอยูในชวง วัยรุน ยังมีปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมในหลายดาน ดังตอไปนี้ 1. ปจจัยทางบาน เนื่องจากนักเรียนใชเวลาอยูบานเปนสวนมาก ปจจัยทางบานจึงมี อิทธิพลตอพฤติกรรมของนักศึกษาวัยรุนเปนอยางมากสิ่งตาง ๆ ที่มีอยูและเกิดขึ้นในบานลวนสงผล ถึงพฤติกรรม เชน ความสัมพันธภายในครอบครัว จํานวนสมาชิกภายในบาน ความพรอมของ ครอบครัว ฐานะทางเศรษฐกิจ สภาพแวดลอม สิ่งอํานวยความสะดวก เปนตน 2. ปจจัยทางโรงเรียน เปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมของนักเรียนเปนอยางมาก ถึงแมวานักเรียนจะใชเวลาอยูโรงเรียนนอยกว าอยูบาน แตโรงเรียนก็เปนสถานที่ ที่นักเรียนได เรียนรูสิ่งตางๆ ปจจัยทางโรงเรียน เชน ประเภทของโรงเรียน ขนาดของโรงเรียน ชื่อเสียงของ โรงเรยน สภาพแวดลอมภายในโรงเรยน ี  ี 3. ปจจัยทางชุมชน ถือไดวาเปนปจจัยที่มีอิทธิพลตอพฤติกรรมที่สําคัญอีกประการ หน่ึงการที่นักศึกษาไดอยูในทามกลางชุมชนแบบใด ก็จะมีแนวโนมที่จะแสดงพฤติกรรมตาม แบบอยางที่ไดพบเห็น ปจจัยทางชุมชน เชน ขนาดของชุมชน ที่ตั้งและสภาพแวดลอม เปนตน พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 12. 12 4. เพอน ถือไดวาเปนอิทธิพลที่สําคัญที่สุดของวัยรุน เพราะวัยรุนเปนวัยที่ตองการ ่ื การยอมรับจากกลุมเพื่อน สังคมของวัยรุนสวนใหญจึงเปนสังคมของเพื่อน โดยอิทธิพลของกลุม เพอน ่ื พฤติกรรมการสื่อสาร ในการแสวงหาขอมูลขาวสารผานอินเตอรเน็ต ผูใชสามารถที่จะควบคุมขอมูลขาวสารที่ ตองการเปดรับหรือเลือกปฏิเสธขอมูลขาวสารที่เห็นวาไมนาสนใจไดอยางสะดวก ปจจัยที่สําคัญที่ ใชประกอบการตัดสินใจรับขาวสารแตกตางกันออกไปตามแตละบุคคล Schramm (1973) อางถงใน (ปรมะ สตะเวทิน, 2539) มีดังนี้  ึ 1. ความสะดวกในการใช บุคคลจะเลือกใชสื่อที่อยูใกลตัวและมีความสะดวกในการใช มากที่สุด 2. ความเดน บุคคลเลือกใหความสนใจกับสาร ที่มีจุดเดนตางไปจากสารอื่น 3. ประสบการณ ทําใหผูรับสารแสวงหาขาวสารตางกัน 4. การใชประโยชนของขาวสาร ผูรับสารจะแสวงหาขาวสารเพื่อสนองวัตถุประสงคอยาง ใดอยางหนง  ่ึ 5. การศึกษาและสถานะทางสังคม การศึกษาและชั้นทางสังคมมีอิทธิพลอยางยิ่งตอการ เลือกของผูรับสาร งานวิจัยที่เกี่ยวของ อินเตอรเน็ตไดเขามามีบทบาทในสถาบันการศึกษา ซึ่งก็ไดมีผูทําการศึกษาเกี่ยวกับ พฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ต ไวดังนี้ องอาจ ฤทธิ์ทองพิทักษ (2539) ไดศึกษาเรื่อง พฤติกรรมการสื่อสารผานระบบ เวิลดไวดเว็บของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร พบวา 1. นักศึกษาสวนใหญมีการใชการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บที่มหาวิทยาลัย และสนใจ เปดรับเนื้อหาประเภทบันเทิงมากที่สุด พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั
  • 13. 13 2. นักศึกษาที่มีความแตกตางกันในเรื่อง เพศ อายุ และความเปนเจาของเครื่องคอมพิวเตอร มีพฤติกรรมการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยเพศชายมี พฤตกรรมการสอสารผานระบบเวิลดไวดเว็บมากกวาเพศหญิงและนักศึกษาที่เปนเจาของเครื่อง ิ ่ื คอมพิวเตอรมีพฤติกรรมการสื่อสารผานระบบเวิลดไวดเว็บมากกวานักศึกษาไมเปนเจาของเครื่อง คอมพวเตอร ิ 3. นักศึกษามีการใชประโยชนจากระบบเวิลดไวดเว็บ เพื่อการพัฒนาตนเองในดานวิชาการ และทักษะการใชงานระบบเวิลดไวดเว็บ และใชระบบเวิลดไวดเว็บในการตอบสนองความตองการ ดานขาวสารและการพกผอนหยอนใจ   ั   วอนชนก ไชยสนทร (2546) ไดศึกษาเรื่อง การศึกษาพฤติกรรมการใชอินเตอรเน็ตของ ุ นักศึกษาปริญญาตรี ในสาขาวิชาดานคอมพิวเตอร พบวา 1. นักศึกษาระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาดานคอมพิวเตอร สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สวนใหญเปนเพศชายมากกวาเพศหญิง 2. นกศกษาสวนใหญใน 1 สัปดาห มีการใชอินเตอรเน็ตทุกวัน รองลงมาใชประมาณ 3-4 ั ึ   ครั้ง/สปดาห, ประมาณ 5-6 ครั้ง/สัปดาห และประมาณ 1-2 ครั้ง/สัปดาห ตามลําดับ ั 3. นักศึกษาสวนใหญมีระยะเวลาโดยเฉลี่ยในการใชอินเตอรเน็ตในแตละครั้งระหวาง 1-2 ชั่วโมง รองลงมาคือระหวาง 3-4 ชั่วโมง ,มากกวา 4 ชั่วโมง และนอยกวา 1 ชั่วโมง ตามลําดับ 4. นกศกษาสวนใหญใชอนเตอรเ นตระหวางเวลา 18.01-24.00 น. รองลงมาใชระหวาง ั ึ   ิ ็  เวลา 12.01-18.00 น. , ระหวางเวลา 00.01-06.00 น. และระหวางเวลา 06.01-12.00 น. ตามลําดับ   5. นักศึกษาสวนใหญใชอินเตอรเน็ตที่บาน รองลงมาใชที่สถาบันที่ศึกษา ใชที่ราน อินเตอรเน็ต ตามลําดับ พรรณภา สนตะวงศ นกศกษาปรญญาโทสาขาหลกสตรและการสอน รหส 55120609216 รุน14/2 ั ั ึ ิ ั ู ั