SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
สามัคคีเภทคาฉันท์




           จัดทาโดย

     นายปิ ยวุฒิ แกล้วกล้า

      เลขที่ ๓ ชั้น ม.๖/๓




             เสนอ

    คุณครูนิตยา ทองดียง
                      ิ่




โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
อุปชาติ ฉันท์ ๑๑
       ๏ เราคิดจะใคร่ ยก                 พยุห์พลสกลไกร
ประชุมประชิดชัย                          รณรัฐวัชชี
       ๏ ฉะนี้แหละเสนา                   บดิฐานมนตรี

คือใครจะใคร่ มี                          พจค้านประการไร
                           ็
          ๏ ฝ่ ายพราหมณ์กกราบทูล         อดิศูรนราศัย
นยาธิบายใน                               วจนัตถทัดทาน
          ๏ พระราชปรารม                  ภนิยมมิควรการณ์
ขอองคภูบาล                               พิเคราะห์ถ่อง ณ ทางดี
          ๏ ข้อที่จะกรี ธา               พลไกรและไปตี
กษัตริ ย ์ ณ วัชชี                       ชนบท บ สมหมาย
          ๏ มิแผกมิผิดพา                 กยข้าพระองค์ทาย
ไป่ ได้สะดวกดาย                          และจะแพ้เพราะไพรี
          ๏ พวกลิจฉวีขต  ั               ติยรัฐวัชชี
ละองค์ละองค์มี                           มิตรพันธมันคง
                                                     ่
          ๏ อนึ่งสิ สามารถ               รณอาจกระทาสง
ครามยุทธยรรยง                            มิระย่อมิเยงใคร
          ๏ เราน้อยจะย่อยยับ             พลทัพปราชัย
กระนี้แหละแน่ใน                          มนข้าพยากรณ์
          ๏ และแสนจะสามารถ               พละอาจกระทาสง
ครามยุทธยรรยง                            มิระย่อมิเยงใคร
          ๏ เราน้อยจะย่อยยับ             พลทัพปราชัย
กระนี้แหละแน่ใน                          มนข้าพยากรณ์
          ๏ และอีกประการเล่า             ผิวเขาคะนึงคลอน
แคลนพาลระรานรอน                          ทุจริ ตผจญเรา
          ๏ เป็ นก่อนกระนั้นชอบ          ทุษตอบก็ทาเนา
มิมีคดีเอา                               ธุระเห็น บ เป็ นธรรม
๏ และโลกจะล่วงวา                           ่
                                                  ทติวาพระองค์จา
       นงเจตนาดา                                  ริ วิรุธประทุษเขา
              ๏ ฉะนี้พระจุ่งปรา                   รภภารเบื่อเบา
       แบ่งกล่อมถนอมเกลา                          มิตรภาพสงบงามฯ


                               ถอดความอุปชาติฉันท์ ๑๑
           เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรู เสด็จออกว่าราชการ ท่ามกลางเหล่าเสนาบดีและอมาตย์ท้ งหลาย
                                                                                    ั
ที่เข้าเฝ้ าฯเรี ยงรายตามฐานันดรศักดิ์ ณ ท้องพระโรงเพื่อคอยรับฟังพระราชโองการเรื่ องต่างๆ
พระองค์จึงมีพระราชดารัสว่า พระองค์มีพระประสงค์จะยกกองทัพอันเกรี ยงไกรไปทาสงคราม
กับแคว้นวัชชี ด้วยเหตุน้ ีบรรดาเสนาบดีและอมาตย์ท้ งหลายมีผใดจะคัดค้านอย่างไรหรื อไม่
                                                      ั       ู้
วัสสการพราหมณ์จึงกราบทูลพระมหากษัตริ ย ์ แสดงความคิดเห็นส่ วนตัวว่า ในข้อที่จะทรง
กรี ธาทัพอันเกรี ยงไกรไปตีเมืองกษัตริ ยแห่งแคว้นวัชชีน้ นคงจะไม่สมดังประราชประสงค์ จะมิ
                                           ์              ั
ผิดไปจากคากราบทูลของข้าพระพุทธเจ้าที่ถวายทานายไว้ จะไม่ได้แคว้นวัชชีอย่างสะดวกสบาย
                         ั               ์              ั                             ั
ทั้งยังจะต้องพ่ายแพ้ศตรู เพราะกษัตริ ยแห่งแคว้นวัชชีน้ นแต่ละองค์ทรงมีความสามัคคีกนอย่าง
มันคง นอกจากนี้ยงมีความสามารถในการทาสงครามไม่เกรงกลัวผูใด พวกของเราน้อยกว่าจะ
   ่                   ั                                          ้
เป็ นฝ่ ายแพ้ ข้าพระพุทธเจ้ามันใจจึงขอทานายเช่นนี้ อีกประการหนึ่งนั้นถ้าหากพวกเขาคิดร้าย
                                ่
กลันแกล้งให้เราเดือดร้อนก่อน ก็เป็ นการสมควรที่จะตอบโต้กลับไปบ้าง แต่น้ ีไม่ได้มีเรื่ อง
     ่
                                                            ่
พิพาทกัน จึงเป็ นสิ่ งที่ไม่ถูกต้อง ชาวโลกจะพากันตาหนิวาพระองค์ทรงมีเจตนาจะคิดร้ายกับเขา
ดังนั้นพระองค์ควรจะคิดรักษามิตรภาพและความสงบสุ ขไว้


                                     อีทสัง ฉันท์ ๒๐
                                        ิ
              ๏ ภูบดีสดับอุปายะตาม
       ณ วาทวัสสการะพราหมณ                                      ณ บังอาจ
              ๏ เกินประมาณเพราะการณ์ละเมิดประมาท
       บ ควรจะขัดบรมราช                                         วโรงการ
๏ ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน
ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล                   พิโรธจึง
       ๏ ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง
พระศัพทสี หนาทพึง                         สยองภัย
       ๏ เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน                         ก็มาเป็ น
       ๏ ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น
                           ั
จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น                    ประการใด
       ๏ อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทนอะไร
            ั                             ก็หมิ่นกู
       ๏ กลละกากะหวาดขมังธนู
บ ห่อนจะเห็นธวัชริ ปู                     สิ ล่าถอย
       ๏ พ่ายเพราะภัยพะตัวและกลัวจะพลอย
พินาศชิพิตประดิดประดอย                    ประเด็นขัด
       ๏ กูกเ็ อกอุดมบรมกษัตริ ย ์
วิจาระถ้วน บ ควรจะทัด                     จะทานคา
       ๏ นี่นะเห็นเพราะเป็ นอมาตย์กระทา
พระราชการมาฉนา                            สมัยนาน
       ๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประหาร
ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประจาน               ณ ทันที
       ๏ นาคราภิบาลสภาบดี
และราชบุรุษแน่ะเฮ้ยจะรี                   จะรอไย
       ๏ ฉุดกระชากกลีอปรี ยเ์ ถอะไป
บ พักจะต้องกรุ ณอะไร                      กะคนคด
๏ ลงพระราชกรรมกรณบท
       พระอัยการพิพากษกฎ                                         และโกนผม
              ๏ ไล่มิให้สถิต ณ คามนิคม
       นครมหาสิ มานิยม                                           บุรีไร
              ๏ มันสมัครสวามิภกดิใน
                              ั
                   ็
       อมิตรลิจฉวีกไป                                            บ ห้ามกัน
              ๏ เสร็ จประกาศพระราชธูรสรรพ์
       เสด็จนิวตสภาภิมณฑ์
               ั      ั                                          มหาคารฯ



                                ถอดความอีทสัง ฉันท์ ๒๐
                                          ิ
       พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงฟังกลอุบายตามคากราบทูลของวัสสการพราหมณ์ที่หมิ่นพระบรม
เดชานุภาพและขัดคาสังพระองค์ จึงทรงกระทาเสมือนหนึ่งว่าทรงขัดเคืองพระราชหฤทัย ขยับ
                   ่
พระองค์กระทืบพระบาทและทรงตวาดด้วยเสี ยงที่ดงน่าเกรงขาม เจ้าช่างเป็ นทาสที่ชวช้าเลว
                                           ั                               ั่
ทราม เหตุใดจึงตาหนิขาถึงเพียงนี้ ศึกสงครามก็ยงไม่ทนมีมา มึงก็ยงไม่เห็นว่าข้าศึกจะมากหรื อ
                    ้                        ั    ั           ั
น้อยเพียงใด และการทาสงครามจะยากจะง่ายประการใด กลับมาทาอวดฉลาดคาดคะเนเอาก็
เพราะใจมีหวาดกลัวอยู่ ไม่ทนอะไรเลยก็มาหมิ่นกูเสี ยแล้ว เสมือนหนึ่งกาที่หวาดเกรงพรานผู ้
                          ั
ชานาญ นี่ยงไม่ทนเห็นธงของศัตรู เลยก็สงถอยเสี ยแล้ว พ่ายแพ้เพราะเกรงภัยจะมาถึงตัว กลัวว่า
          ั    ั                     ั่
จะพลอยเสี ยชีวตจึงคิดหาประเด็นมาขัดแย้ง เราเป็ นถึงกษัตริ ยผสูงส่ ง มีวิจารณญาณถี่ถวนไม่
              ิ                                            ์ ู้                    ้
สมควรจะมาทัดทาน นี่เราเห็นว่าเป็ นอมาตย์รับราชการมาหลายปี ไม่เช่นนั้นเราจะสังประหาร
                                                                            ่
                                                           ่
ชีวิตตัดหัวเสี ยบประจานทันที นคราภิบาลและราชบุรุษจะรี รออยูทาไม จงรี บลากตัวคนชัวร้าย
                                                                                ่
ออกไปโดยไม่ตองเห็นอกเห็นใจกับคนคด เอาตัวไปลงพระราชอาญาตามกฎหมาย เสร็ จแล้วก็
            ้
จงโกนผม แล้วไล่มนไปให้พนเมืองของเรา มันจะไปสวามิภกดิ์กษัตริ ยลิจฉวีกตามใจไม่ตองไป
                ั      ้                         ั           ์      ็        ้
ห้ามมัน เสร็ จประกาศพระราชโองการก็เสด็จกลับยังที่ประทับที่ตกแต่งอย่างงดงาม
คุณค่ าด้ านวรรณศิลป์
 เรื่ องสามัคคีเภทคาฉันท์ มีที่มาจากหนังสื อธรรมจักษุ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรม
หลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชื่น นภวงศ์) นายชิต บุรทัต ได้อ่านนิทานแล้วเห็นว่าเป็ นเรื่ องที่ดีมีคติ
จึงแต่งเป็ นฉันท์ นายชิต บุรทัต มีฝีมือเชี่ยวชาญในการแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์เป็ นอย่าง
มาก โดยเฉพาะการเลือกฉันท์ชนิดต่างๆ มาใช้สลับกันอย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่ องและลีลาของ
แต่ละตอน จนได้รับการยกย่องว่ามีความไพเราะ งดงาม เป็ นที่นิยมอ่านแล้วจดจาตลอดมา
นายชิต บุรทัต แต่งเรื่ องสามัคคีเภทคาฉันท์เสร็ จเมื่ออายุเพียง ๒๓ ปี

๑. การสรรหาคา เป็ นการเลือกใช้คาในลักษณะต่างๆ เพื่อความคิดและความรู ้สึกได้แก่

 ๑.๑) การเลือกใช้คาได้ถูกต้อง มีความหมายชัดเจน สั้นแต่ได้ใจความ เช่น

               ๏ เราคิดจะใคร่ ยก        พยุห์พลสกลไกร
       ประชุมประชิดชัย                  รณรัฐวัชชี
         ๏ ฉะนี้แหละเสนา                บดิฐานมนตรี

 คือใครจะใคร่ มี                                      พจค้านประการไร


 ๑.๒) การเลือกใช้คาเหมาะสมกับฐานะของบุคคลในเรื่ อง เช่น

                          ั
       - พระเจ้าอชาตศตรู กบวัสสการพราหมณ์

 ๏                 เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
 ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน                   ก็มาเป็ น
 ๏                 ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น
                                     ั
 จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น                    ประการใด
 ๏                 อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
ขยาดขยั้นมิทนอะไร
            ั                        ก็หมิ่นกู


๑.๓) การเลือกใช้คาให้เหมาะแก่ลกษณะคาประพันธ์ เหมาะกับเนื้อเรื่ อง เช่น
                              ั

 ๏               ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน
ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล                     พิโรธจึง
 ๏               ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง
พระศัพทสี หนาทพึง                    สยองภัย


        ๑.๔) การเลือกใช้คาโดยคานึงเสี ยง

 (๑.) มีการเล่นคาสัมผัสคล้องจอง เช่น

 ๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประ                      หาร
ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประ            จาน           ณ ทัน             ที
 ๏ นาคราภิบาลสภาบ                    ดี
และราชบุรุษแน่ะเฮ้ยจะ          รี                             จะรอไย
 ๏               ฉุดกระชากกลีอปรี ยเ์ ถอะไป
บ พักจะต้องกรุ ณอะ        ไร              กะคนคด
  (๒.) การย้าคาที่มีความหมายเหมือนกันหรื อใกล้เคียงกัน เช่น

        - จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น

 (๓.)              การเล่นอักษร เสี ยงสัมผัสสระ และสัมผัสพยัญชนะ ให้มีจงหวะไพเราะ เช่น
                                                                       ั

        - จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น

        - ขยาดขยั้นมิทนอะไร
                      ั
๒. การใช้โวหาร ดังนี้

๒.๑) บรรยายโวหาร เป็ นการใช้ถอยคาเล่าเรื่ องราวต่างๆ ตามลาดับเหตุการณ์จนเห็น
                             ้
ภาพชัดเจน ดังตัวอย่าง

 ๏               ภูบดีสดับอุปายะตาม
 ณ วาทวัสสการะพราหมณ                        ณ บังอาจ
 ๏               เกินประมาณเพราะการณ์ละเมิดประมาท
 บ ควรจะขัดบรมราช                    วโรงการ
 ๏               ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน
 ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล                     พิโรธจึง
 ๏               ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง
 พระศัพทสี หนาทพึง                  สยองภัย
 ๏               เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร
 ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน                  ก็มาเป็ น


       ๒.๒) อุปมาโวหาร เป็ นโวหารที่กวีนามาใช้ประกอบเรื่ องโดยการเล่าแบบเปรี ยบเทียบ
เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิงขึ้น ดังตัวอย่าง
                       ่

 ๏               กลละกากะหวาดขมังธนู
 บ ห่อนจะเห็นธวัชริ ปู                สิ ล่าถอย
 ๏               พ่ายเพราะภัยพะตัวและกลัวจะพลอย
 พินาศชิพิตประดิดประดอย                     ประเด็นขัด
 ๏ กูกเ็ อกอุดมบรมกษัตริ ย ์
 วิจาระถ้วน บ ควรจะทัด                     จะทานคา
๏ นี่นะเห็นเพราะเป็ นอมาตย์กระทา
พระราชการมาฉนา                สมัยนาน
๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประหาร
ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประจาน             ณ ทันที

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nakkarin Keesun
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์niralai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Kannaree Jar
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญSmile Petsuk
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชChoengchai Rattanachai
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 

La actualidad más candente (20)

1กับ2pdf
1กับ2pdf1กับ2pdf
1กับ2pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิงอิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
อิเหนาตอนศึกท้าวกระหมังกุหนิง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12ภุชงคประยาคฉันท์ 12
ภุชงคประยาคฉันท์ 12
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
เห่ครวญ
เห่ครวญเห่ครวญ
เห่ครวญ
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 

Destacado (8)

NDLD
NDLD NDLD
NDLD
 
ppp
pppppp
ppp
 
Demo
DemoDemo
Demo
 
เก๋
เก๋เก๋
เก๋
 
รายงานเจียบ
รายงานเจียบรายงานเจียบ
รายงานเจียบ
 
Welcome to carboline
Welcome to carbolineWelcome to carboline
Welcome to carboline
 
Media evalutaions Q3
Media evalutaions  Q3Media evalutaions  Q3
Media evalutaions Q3
 
รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20รายงานคอมของเม 20
รายงานคอมของเม 20
 

Similar a สามัคคีเภทคำฉันท์2

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์Mu Koy
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2B'Ben Rattanarat
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔Kamonchapat Boonkua
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1Sirisak Promtip
 

Similar a สามัคคีเภทคำฉันท์2 (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2จิรทีปต์ 2
จิรทีปต์ 2
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
น้องบีม
น้องบีมน้องบีม
น้องบีม
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
จิรทีปต์
จิรทีปต์จิรทีปต์
จิรทีปต์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อปสามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
สามัคคีเภทคำฉันท์ท๊อป
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
วราภรณ์
 วราภรณ์ วราภรณ์
วราภรณ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)2
 
เกด
เกดเกด
เกด
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ปสามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
สามัคคีเภทคำฉันท์แก๊ป
 
สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1สามัคคีเภทคำฉันท1
สามัคคีเภทคำฉันท1
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 

Más de ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า (6)

ผ จ_ดทำ
ผ  จ_ดทำผ  จ_ดทำ
ผ จ_ดทำ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
ปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิปิยะวุฒิ
ปิยะวุฒิ
 
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้าPower point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
Power point ปิยะวุฒิ แกล้วกล้า
 

สามัคคีเภทคำฉันท์2

  • 1. สามัคคีเภทคาฉันท์ จัดทาโดย นายปิ ยวุฒิ แกล้วกล้า เลขที่ ๓ ชั้น ม.๖/๓ เสนอ คุณครูนิตยา ทองดียง ิ่ โรงเรียนรัษฎานุประดิษฐ์ อนุสรณ์
  • 2. อุปชาติ ฉันท์ ๑๑ ๏ เราคิดจะใคร่ ยก พยุห์พลสกลไกร ประชุมประชิดชัย รณรัฐวัชชี ๏ ฉะนี้แหละเสนา บดิฐานมนตรี คือใครจะใคร่ มี พจค้านประการไร ็ ๏ ฝ่ ายพราหมณ์กกราบทูล อดิศูรนราศัย นยาธิบายใน วจนัตถทัดทาน ๏ พระราชปรารม ภนิยมมิควรการณ์ ขอองคภูบาล พิเคราะห์ถ่อง ณ ทางดี ๏ ข้อที่จะกรี ธา พลไกรและไปตี กษัตริ ย ์ ณ วัชชี ชนบท บ สมหมาย ๏ มิแผกมิผิดพา กยข้าพระองค์ทาย ไป่ ได้สะดวกดาย และจะแพ้เพราะไพรี ๏ พวกลิจฉวีขต ั ติยรัฐวัชชี ละองค์ละองค์มี มิตรพันธมันคง ่ ๏ อนึ่งสิ สามารถ รณอาจกระทาสง ครามยุทธยรรยง มิระย่อมิเยงใคร ๏ เราน้อยจะย่อยยับ พลทัพปราชัย กระนี้แหละแน่ใน มนข้าพยากรณ์ ๏ และแสนจะสามารถ พละอาจกระทาสง ครามยุทธยรรยง มิระย่อมิเยงใคร ๏ เราน้อยจะย่อยยับ พลทัพปราชัย กระนี้แหละแน่ใน มนข้าพยากรณ์ ๏ และอีกประการเล่า ผิวเขาคะนึงคลอน แคลนพาลระรานรอน ทุจริ ตผจญเรา ๏ เป็ นก่อนกระนั้นชอบ ทุษตอบก็ทาเนา มิมีคดีเอา ธุระเห็น บ เป็ นธรรม
  • 3. ๏ และโลกจะล่วงวา ่ ทติวาพระองค์จา นงเจตนาดา ริ วิรุธประทุษเขา ๏ ฉะนี้พระจุ่งปรา รภภารเบื่อเบา แบ่งกล่อมถนอมเกลา มิตรภาพสงบงามฯ ถอดความอุปชาติฉันท์ ๑๑ เมื่อพระเจ้าอชาตศัตรู เสด็จออกว่าราชการ ท่ามกลางเหล่าเสนาบดีและอมาตย์ท้ งหลาย ั ที่เข้าเฝ้ าฯเรี ยงรายตามฐานันดรศักดิ์ ณ ท้องพระโรงเพื่อคอยรับฟังพระราชโองการเรื่ องต่างๆ พระองค์จึงมีพระราชดารัสว่า พระองค์มีพระประสงค์จะยกกองทัพอันเกรี ยงไกรไปทาสงคราม กับแคว้นวัชชี ด้วยเหตุน้ ีบรรดาเสนาบดีและอมาตย์ท้ งหลายมีผใดจะคัดค้านอย่างไรหรื อไม่ ั ู้ วัสสการพราหมณ์จึงกราบทูลพระมหากษัตริ ย ์ แสดงความคิดเห็นส่ วนตัวว่า ในข้อที่จะทรง กรี ธาทัพอันเกรี ยงไกรไปตีเมืองกษัตริ ยแห่งแคว้นวัชชีน้ นคงจะไม่สมดังประราชประสงค์ จะมิ ์ ั ผิดไปจากคากราบทูลของข้าพระพุทธเจ้าที่ถวายทานายไว้ จะไม่ได้แคว้นวัชชีอย่างสะดวกสบาย ั ์ ั ั ทั้งยังจะต้องพ่ายแพ้ศตรู เพราะกษัตริ ยแห่งแคว้นวัชชีน้ นแต่ละองค์ทรงมีความสามัคคีกนอย่าง มันคง นอกจากนี้ยงมีความสามารถในการทาสงครามไม่เกรงกลัวผูใด พวกของเราน้อยกว่าจะ ่ ั ้ เป็ นฝ่ ายแพ้ ข้าพระพุทธเจ้ามันใจจึงขอทานายเช่นนี้ อีกประการหนึ่งนั้นถ้าหากพวกเขาคิดร้าย ่ กลันแกล้งให้เราเดือดร้อนก่อน ก็เป็ นการสมควรที่จะตอบโต้กลับไปบ้าง แต่น้ ีไม่ได้มีเรื่ อง ่ ่ พิพาทกัน จึงเป็ นสิ่ งที่ไม่ถูกต้อง ชาวโลกจะพากันตาหนิวาพระองค์ทรงมีเจตนาจะคิดร้ายกับเขา ดังนั้นพระองค์ควรจะคิดรักษามิตรภาพและความสงบสุ ขไว้ อีทสัง ฉันท์ ๒๐ ิ ๏ ภูบดีสดับอุปายะตาม ณ วาทวัสสการะพราหมณ ณ บังอาจ ๏ เกินประมาณเพราะการณ์ละเมิดประมาท บ ควรจะขัดบรมราช วโรงการ
  • 4. ๏ ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล พิโรธจึง ๏ ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสี หนาทพึง สยองภัย ๏ เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น ๏ ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น ั จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด ๏ อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ ขยาดขยั้นมิทนอะไร ั ก็หมิ่นกู ๏ กลละกากะหวาดขมังธนู บ ห่อนจะเห็นธวัชริ ปู สิ ล่าถอย ๏ พ่ายเพราะภัยพะตัวและกลัวจะพลอย พินาศชิพิตประดิดประดอย ประเด็นขัด ๏ กูกเ็ อกอุดมบรมกษัตริ ย ์ วิจาระถ้วน บ ควรจะทัด จะทานคา ๏ นี่นะเห็นเพราะเป็ นอมาตย์กระทา พระราชการมาฉนา สมัยนาน ๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประหาร ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประจาน ณ ทันที ๏ นาคราภิบาลสภาบดี และราชบุรุษแน่ะเฮ้ยจะรี จะรอไย ๏ ฉุดกระชากกลีอปรี ยเ์ ถอะไป บ พักจะต้องกรุ ณอะไร กะคนคด
  • 5. ๏ ลงพระราชกรรมกรณบท พระอัยการพิพากษกฎ และโกนผม ๏ ไล่มิให้สถิต ณ คามนิคม นครมหาสิ มานิยม บุรีไร ๏ มันสมัครสวามิภกดิใน ั ็ อมิตรลิจฉวีกไป บ ห้ามกัน ๏ เสร็ จประกาศพระราชธูรสรรพ์ เสด็จนิวตสภาภิมณฑ์ ั ั มหาคารฯ ถอดความอีทสัง ฉันท์ ๒๐ ิ พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงฟังกลอุบายตามคากราบทูลของวัสสการพราหมณ์ที่หมิ่นพระบรม เดชานุภาพและขัดคาสังพระองค์ จึงทรงกระทาเสมือนหนึ่งว่าทรงขัดเคืองพระราชหฤทัย ขยับ ่ พระองค์กระทืบพระบาทและทรงตวาดด้วยเสี ยงที่ดงน่าเกรงขาม เจ้าช่างเป็ นทาสที่ชวช้าเลว ั ั่ ทราม เหตุใดจึงตาหนิขาถึงเพียงนี้ ศึกสงครามก็ยงไม่ทนมีมา มึงก็ยงไม่เห็นว่าข้าศึกจะมากหรื อ ้ ั ั ั น้อยเพียงใด และการทาสงครามจะยากจะง่ายประการใด กลับมาทาอวดฉลาดคาดคะเนเอาก็ เพราะใจมีหวาดกลัวอยู่ ไม่ทนอะไรเลยก็มาหมิ่นกูเสี ยแล้ว เสมือนหนึ่งกาที่หวาดเกรงพรานผู ้ ั ชานาญ นี่ยงไม่ทนเห็นธงของศัตรู เลยก็สงถอยเสี ยแล้ว พ่ายแพ้เพราะเกรงภัยจะมาถึงตัว กลัวว่า ั ั ั่ จะพลอยเสี ยชีวตจึงคิดหาประเด็นมาขัดแย้ง เราเป็ นถึงกษัตริ ยผสูงส่ ง มีวิจารณญาณถี่ถวนไม่ ิ ์ ู้ ้ สมควรจะมาทัดทาน นี่เราเห็นว่าเป็ นอมาตย์รับราชการมาหลายปี ไม่เช่นนั้นเราจะสังประหาร ่ ่ ชีวิตตัดหัวเสี ยบประจานทันที นคราภิบาลและราชบุรุษจะรี รออยูทาไม จงรี บลากตัวคนชัวร้าย ่ ออกไปโดยไม่ตองเห็นอกเห็นใจกับคนคด เอาตัวไปลงพระราชอาญาตามกฎหมาย เสร็ จแล้วก็ ้ จงโกนผม แล้วไล่มนไปให้พนเมืองของเรา มันจะไปสวามิภกดิ์กษัตริ ยลิจฉวีกตามใจไม่ตองไป ั ้ ั ์ ็ ้ ห้ามมัน เสร็ จประกาศพระราชโองการก็เสด็จกลับยังที่ประทับที่ตกแต่งอย่างงดงาม
  • 6. คุณค่ าด้ านวรรณศิลป์ เรื่ องสามัคคีเภทคาฉันท์ มีที่มาจากหนังสื อธรรมจักษุ ซึ่งสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรม หลวงวชิรญาณวงศ์ (ม.ร.ว.ชื่น นภวงศ์) นายชิต บุรทัต ได้อ่านนิทานแล้วเห็นว่าเป็ นเรื่ องที่ดีมีคติ จึงแต่งเป็ นฉันท์ นายชิต บุรทัต มีฝีมือเชี่ยวชาญในการแต่งคาประพันธ์ประเภทฉันท์เป็ นอย่าง มาก โดยเฉพาะการเลือกฉันท์ชนิดต่างๆ มาใช้สลับกันอย่างเหมาะสมกับเนื้อเรื่ องและลีลาของ แต่ละตอน จนได้รับการยกย่องว่ามีความไพเราะ งดงาม เป็ นที่นิยมอ่านแล้วจดจาตลอดมา นายชิต บุรทัต แต่งเรื่ องสามัคคีเภทคาฉันท์เสร็ จเมื่ออายุเพียง ๒๓ ปี ๑. การสรรหาคา เป็ นการเลือกใช้คาในลักษณะต่างๆ เพื่อความคิดและความรู ้สึกได้แก่ ๑.๑) การเลือกใช้คาได้ถูกต้อง มีความหมายชัดเจน สั้นแต่ได้ใจความ เช่น ๏ เราคิดจะใคร่ ยก พยุห์พลสกลไกร ประชุมประชิดชัย รณรัฐวัชชี ๏ ฉะนี้แหละเสนา บดิฐานมนตรี คือใครจะใคร่ มี พจค้านประการไร ๑.๒) การเลือกใช้คาเหมาะสมกับฐานะของบุคคลในเรื่ อง เช่น ั - พระเจ้าอชาตศตรู กบวัสสการพราหมณ์ ๏ เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น ๏ ศึก บ ถึงและมึงก็ยงมิเห็น ั จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น ประการใด ๏ อวดฉลาดและคาดแถลงเพราะใจ
  • 7. ขยาดขยั้นมิทนอะไร ั ก็หมิ่นกู ๑.๓) การเลือกใช้คาให้เหมาะแก่ลกษณะคาประพันธ์ เหมาะกับเนื้อเรื่ อง เช่น ั ๏ ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล พิโรธจึง ๏ ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสี หนาทพึง สยองภัย ๑.๔) การเลือกใช้คาโดยคานึงเสี ยง (๑.) มีการเล่นคาสัมผัสคล้องจอง เช่น ๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประ หาร ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประ จาน ณ ทัน ที ๏ นาคราภิบาลสภาบ ดี และราชบุรุษแน่ะเฮ้ยจะ รี จะรอไย ๏ ฉุดกระชากกลีอปรี ยเ์ ถอะไป บ พักจะต้องกรุ ณอะ ไร กะคนคด (๒.) การย้าคาที่มีความหมายเหมือนกันหรื อใกล้เคียงกัน เช่น - จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น (๓.) การเล่นอักษร เสี ยงสัมผัสสระ และสัมผัสพยัญชนะ ให้มีจงหวะไพเราะ เช่น ั - จะน้อยจะมากจะยากจะเย็น - ขยาดขยั้นมิทนอะไร ั
  • 8. ๒. การใช้โวหาร ดังนี้ ๒.๑) บรรยายโวหาร เป็ นการใช้ถอยคาเล่าเรื่ องราวต่างๆ ตามลาดับเหตุการณ์จนเห็น ้ ภาพชัดเจน ดังตัวอย่าง ๏ ภูบดีสดับอุปายะตาม ณ วาทวัสสการะพราหมณ ณ บังอาจ ๏ เกินประมาณเพราะการณ์ละเมิดประมาท บ ควรจะขัดบรมราช วโรงการ ๏ ท้าวก็ทรงแสดงพระองค์ ธ ปาน ประหนึ่งพระราชหทัยลุดาล พิโรธจึง ๏ ผันพระกายกระทืบพระบาทและอึง พระศัพทสี หนาทพึง สยองภัย ๏ เอออุเหม่นะมึงชิช่างกระไร ทุทาสสถุลฉะนี้ไฉน ก็มาเป็ น ๒.๒) อุปมาโวหาร เป็ นโวหารที่กวีนามาใช้ประกอบเรื่ องโดยการเล่าแบบเปรี ยบเทียบ เพื่อให้เห็นภาพชัดเจนยิงขึ้น ดังตัวอย่าง ่ ๏ กลละกากะหวาดขมังธนู บ ห่อนจะเห็นธวัชริ ปู สิ ล่าถอย ๏ พ่ายเพราะภัยพะตัวและกลัวจะพลอย พินาศชิพิตประดิดประดอย ประเด็นขัด ๏ กูกเ็ อกอุดมบรมกษัตริ ย ์ วิจาระถ้วน บ ควรจะทัด จะทานคา
  • 9. ๏ นี่นะเห็นเพราะเป็ นอมาตย์กระทา พระราชการมาฉนา สมัยนาน ๏ ใช่กระนั้นละไซร้จะให้ประหาร ชิวาตม์และหัวจะเสี ยบประจาน ณ ทันที