SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 5
Descargar para leer sin conexión
สรุปคำศัพท์ กำรบริหำร
1. Balanced Scorecard :BSC หมายถึง เครื่องมือที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพันธกิจ (Mission)และกลยุทธ์
(Strategy) เป็นชุดของการวัดผลการปฏิบัติงานที่มีส่วนช่วยกาหนดกรอบของระบบการวัดและการ บริหารกล
ยุทธ์ที่ครอบคลุมประเด็นครบถ้วน ตัวเลขที่ได้จากการวัดจะทาหน้าที่วัดผลการปฏิบัติงานขององค์การที่
ครอบคลุม ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไว้ครบถ้วน เช่น ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกิจการภายใน และด้านการ
เรียนรู้แลการเติบโตขององค์การ BSC ประกอบไปด้วย มุมมอง 4 ด้านของการวัด คือ ด้านการเงิน (Financial
Perspective)ด้านลูกค้า (Customer Perspective) ด้านกระบวนการ ( Internal-Business – Process
Perspective) และด้านการเรียนรู้และการเติบโต( Learning and Growth Perspective)
2. Quality Control Cycle :QCC หมายถึง การควบคุมคุณภาพด้วยกิจกรรมกลุ่มการควบคุมคุณภาพ คือ
การบริหารงานด้านวัตถุดิบ ขบวนการผลิตและผลผลิต ให้ได้คุณภาพตามความต้องกาของลูกค้า ผู้เกี่ยวข้อง
หรือข้อกาหนดตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ โดยมีเป้าหมายป้องกันและลดปัญหาการสูญเสียทั้งวัตถุดิบ ต้นทุนการ
ผลิต เวลาการทางาน และผลผลิตกิจกรรมกลุ่ม คือ ความร่วมมือร่วมใจในการทางาน หรือสร้างผลงานตาม
เป้าหมายซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร พนักงาน วิธีการทางาน เครื่องจักร เครื่องใช้ ระเบียบ กฏเกณฑ์ และอื่นๆ
กิจกรรม QCC คือ กิจกรรมที่สร้างความร่วมมือร่วมใจในการสร้างผลงานให้ได้คุณภาพตามเป้าหมาย โดยการ
ค้นหาจุดอ่อน และหาสาเหตุแห่งปัญหา แล้วระดมปัญญาแก้ไขปรับปรุงและว่างแผนคุณภาพอย่างเป็นระบบ
3. Total Quality Management :TQM หมายถึง การบริหารคุณภาพที่ทุกคนมีส่วนร่วม การบรรลุถึง
คุณภาพโดยรวม ทุกคนในองค์กรยึดมั่นผูกพันและปฏิบัติตามอย่างจริงจัง TQM มี หลักการที่สาคัญ 3
ประการ 1. การมุ่งเน้นที่คุณภาพ 2. การปรับปรุงกระบวนการ3.ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม การนา TQM มา
ใช้ในการปรับปรุงการบริการภาครัฐ จะเป็นแนวทางหนึ่งที่เอื้ออานวยให้ส่วนราชการสามารถนาไปปฏิบัติ
เพื่อให้บังเกิดผลที่พึงประสงค์ได้โดยไม่ยากนัก อย่างไรก็ตามการนา TQM ไปปฏิบัติก็หมายถึง การนาการ
เปลี่ยนแปลงเข้าไปในองค์การ ซึ่งเป็นธรรมดาที่จะต้องได้รับการต่อต้านจากข้าราชการบ้างไม่มากก็น้อย การ
จัดการฝึกอบรมหรือสัมมนาผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานภาครัฐที่ ให้บริการประชาชน เพื่อขอ ทราบความ
คิดเห็นและให้ได้ข้อสรุปกว้าง ๆ ในการนา TQM ไปปฏิบัติในองค์การ กับการสร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่าง
ข้าราชการในสังกัดในการปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนาคุณภาพในการทางานคุณภาพของผลงาน และการให้บริการ
ต่อประชาชนการปฏิรูประบบมีเป้าหมายของการเพิ่มคุณภาพของการ ให้บริการ และความพึงพอใจของ
ประชาชน
4. Learning Organization + Knowledge Management Lo + Km หมายถึง องค์กรของการเรียนรู้
และ การจัดการความรู้ LO คือ กระบวนการของการปรับปรุงการกระทาด้วยความรู้และความเข้าใจที่ดีกว่า
(Fiol&Lyles)จาก LO องค์กรของการเรียนรู้ จะต้องมีกระบวนการเพื่อนาไปสู่ OL คือ กระบวนการเรียนรู้ใน
ระดับองค์กร จากกระบวนการเรียนรู้จะต้องอาศัยทฤษฎีเพื่อนาไปสู่ OK หรือ ความรู้ที่สาคัญและจาเป็นของ
องค์กร ซึ่งจะต้องมีการระบุว่าอะไรคือความรู้ขององค์กร องค์กรมีความรู้นั้นหรือไม่ และอยู่ที่ไหน เพื่อเข้าไปสู่
องค์ประกอบสุดท้าย คือ การจัดการความรู้ หรือ KM
5. School-Base-Management : SBM หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หมายถึง การบริหาร
จัดการที่โรงเรียนมีอานาจอิสระในการ ดาเนินการ โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประกอบไป
ด้วยผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่า ของสถานศึกษา และผู้แทน
ผู้ทรงคุณวุฒิ ทาหน้าทีกากับและส่งเสริมสนับสนุน 1. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) เป็นการ
กระจายอานาจการจัดการศึกษาจากกระทรวงและส่วนกลางไปยังสถานศึกษา ให้มากที่สุด 2. หลักการมีส่วน
ร่วม (Participation or Collaboration or Invovement) เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้
มี ส่วนร่วมในกาบริหาร ตัดสินใจ และการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนศิษย์
เก่า และตัวแทนนักเรียน การที่บุคคล มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและจะ
รับผิดชอบในการจัดการศึกษามากขึ้น 3.หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน(Retern Power to
People) ท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการ ต่อมามีการรวมการจัดการศึกษาไปให้กระทรวงศึกษาธิการเพื่อก่อให้เกิด
เอกภาพ และมาตรฐานทางการศึกษา แต่เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงต้องมีการคืนอานาจให้ท้องถิ่นและ
ประชาชนได้จัดการศึกษาเองอีกครั้ง 4.หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) สาหรับการบริหารโดยใช้
โรงเรียนเป็นฐานนั้น ไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการทางานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายของ ส่วนรวม การที่ส่วนกลาง
ทาหน้าที่เพียงกาหนดนโยบายและเป้าหมาย แล้วปล่อยให้ โรงเรียนมีระบบการบริหารด้วยตนเองโดยให้
โรงเรียนมีอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการดาเนินงาน แล้วแต่ความพร้อมและสถานการณ์ของ
โรงเรียน ผลที่ได้ น่าจะมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมที่ทุกอย่างถูกกาหนดมาจากส่วนกลาง ไม่ว่าจะโดยทางตรง
หรือทางอ้อม 5.หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล(Checkand Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่กาหนดนโยบายและ
ควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอิสระทาหน้าที่ตรวจ สอบการศึกษาเพื่อให้มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นไปตาม
นโยบายของชาติ เชื่อมั่นว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จะเป็นการบริหารที่ทาให้เกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล มากกว่ารูปแบบการจัดการศึกษาที่ผ่านมา
6. Results Based Management – RBM หมายถึง การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ วิธีการบริหารจัดการ
ที่เป็นระบบมุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงาน เป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนเพื่อให้
บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์นั้นมีหลัก
1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง ความถูกต้องเป็นธรรม และการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกันไว้
อย่างเคร่งครัดโดยคานึงสิทธิเสรีภาพความยุติธรรมของ สมาชิก
2. หลักคุณธรรม (Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม การส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองไป
พร้อม ๆกัน เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย
3. หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของโดยปรับปรุงกลไก
การทางานขององค์กรให้มีความโปร่งใส
4. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึงการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมรับรู้และเสนอความเห็นในการ
ตัดสินใจปัญหา ต่างๆการแสดงความคิดเห็นอื่น ๆ
5. หลักความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสานึกในหน้าที่
รับผิดชอบ ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับผลดีและผลเสียจากการ
กระทาของตนเช่นรับผิดชอบต่อ ลูกค้าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยอมรับ
6. หลักความคุ้มค่า (Utility) หมายถึงการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจากัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
แก่ส่วนรวม โดยมีความประหยัด ใช้อย่างคุ้มค่าสร้างสรรค์สินค้า และบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ใน
เวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์
7. Benchmarking หมายถึง การเทียบเคียง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุงองค์กรที่ได้รับความนิยมเป็น
อย่างมากใน ปัจจุบัน เนื่องจากทาให้มีการปรับปรุงองค์กรอย่างก้าวกระโดดจึงขยายผลอย่างต่อเนื่อง
จนกระทั่งปัจจุบันมีการทา Benchmarking ทั่วทั้งองค์กร ปัจจุบัน Benchmarking ได้รับการยอมรับและ
นามาใช้มากขึ้น เนื่องจากเหตุผลดังนี้**เพื่อความยั่งยืนขององค์กร : สภาพการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น การที่
องค์กรจะยั่งยืนจาเป็นต้องรักษาและยกระดับความสามารถของตนเองเพื่อให้ แข่งขันได้ จึงต้องมีการเรียนรู้
และปรับปรุงตนเองอย่างต่อเนื่องโดยเครื่องมือหนึ่งที่ นิยมใช้คือ Benchmarking **เพื่อการปรับปรุงอย่างก้าว
กระโดด : ความเร็วในการปรับปรุงตนเองเป็นเงื่อนไขสาคัญขอความได้เปรียบในการแข่งขัน Benchmarking
เป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นนวัตกรรม (Innovation) ในองค์กร ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงปรับปรุงใน
ระยะเวลาอันสั้นเนื่องจากเป็น การเรียนรู้ วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดจากภายนอกองค์กรทาให้สามารถ “เรียนลัด” เพื่อ
ก้าวให้ทันองค์กรอื่น ๆ จึงเป็นการปรับปรุงแบบก้าวกระโดด ***มี 2ส่วน1. การเปรียบเทียบวัด (Benchmark)
ซึ่งในส่วนนี้ต้องมีการกาหนดตัววัด หรือที่เรียกว่า Key Performance Indicator (KPIs) ว่าจะเปรียบเทียบกับ
ใคร ในเรื่องใด 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ดี/เป็นเลิศ (Best Practices)
8. Best Practice หมายถึง วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ วิธีปฏิบัติในกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งที่ทาให้
สถานศึกษาประสบความสาเร็จ ภายใต้เงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมที่สถานศึกษาเผชิญอยู่ *วิธีปฏิบัตินั้น
ดาเนินการบรรลุผลได้สอดคล้องกับความคาดหวังของชุมชนหรือผู้ปกครองที่มีต่อ สถานศึกษาหรือเป็นวิธี
ปฏิบัติที่สร้างความพึงพอใจให้กับทุกคนในสถานศึกษาได้ *วิธีปฏิบัตินั้นผ่านกระบวนการนาไปใช้อย่างเป็น
วงจร จนเห็นผลอย่างชัดเจนว่า ทาให้เกิดคุณภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ *วิธีปฏิบัตินั้น
มีกระบวนการ PDCAจนเห็นแนวโน้มของตัวชี้วัดความสาเร็จที่ดีขึ้น สถานศึกษาสามารถบอกเล่าถึง *วิธีปฏิบัติ
นั้นได้ว่า “ทาอะไร” (what) “ทาอย่างไร” (how) และ “ทาไมจึงทา หรือ ทาไมจึงไม่ทา” (why) *ผลลัพธ์จาก
วิธีปฏิบัตินั้น เป็นไปตามองค์ประกอบข้อกาหนดของการพัฒนาคุณภาพเชิงระบบ *วิธีปฏิบัตินั้น สามารถระบุ
ได้ว่า เกิดจากปัจจัยสาคัญที่ชัดเจน และปัจจัยนั้นก่อให้เกิดการปฏิบัติที่ต่อเนื่องและยั่งยืน วิธีปฏิบัตินั้นใช้
กระบวนการจัดการความรู้ (KM) เช่นการเล่าเรื่อง (Storytelling) ในการถอดบทเรียนจากการดาเนินการ
9. Whole School Approach: WSA หมายถึง แนวคิดการพัฒนาทั้งโรงเรียนการพัฒนาทั้งโรงเรียน เป็น
แนวคิดที่มุ่งให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ (full participation) เป็นแนวคิดที่มุ่งให้ทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันอย่างเป็นระบบ โดยมีการดาเนินการอย่างครอบคลุมในทุกองค์ประกอบ
ของโรงเรียน อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย การพัฒนาทั้งโรงเรียน มีขั้นตอนการดาเนินการ 6
ขั้นตอน 1. ขั้นสารวจ (E-explore)2. ขั้นสนทนา แลกเปลี่ยนความคิด (C-converse)3. ขั้นการวางแผน (P-
plan)4. ขั้นลงมือปฏิบัติตามแผน (I-implement) 5. ขั้นประเมินผลการดาเนินงาน (E-evaluation) 6. ขั้น
การปรับปรุงแผนงาน (R-revision)
10. Theory X Y Z A J ในการบริหารนั้น มีการนาทฤษฎีเชิงจิตวิทยามาใช้จานวนมาก เพราะการบริหาร
เป็นการทางานกับ “คน” และทฤษฎีจิตวิทยาก็พูดเรื่อง “คน” การศึกษาทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการควบคุม
กากับพฤติกรรมของมนุษย์ การสร้างแรงจูงใจในการทางาน และภาวะผู้นา จึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อ
ผู้บริหาร Donglas Mc Gregor ได้ค้นพบแนวคิด “พฤติกรรมองค์การ” และสรุปว่า กิจกรรมการบริหาร
จัดการล้วนมีสาเหตุรากฐานมาจากทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ (Human Behaviors) ซึ่งเป็นไปตามกรอบทฤษฎี
X และทฤษฎี Y คือ
ทฤษฎี X (Theory X) คือคนประเภทเกียจคร้าน ในการบริหารจึงควรใช้มาตรการบังคับ มีระเบียบกฎเกณฑ์
คอยกากับ มีการควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด และมีการลงโทษเป็นหลัก
ทฤษฎี Y (Theory Y) คือคนประเภทขยัน ควรมีการกาหนดหน้าที่การงานที่เหมาะสม ท้าทายความสามารถ
สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเชิงบวก และควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการบริหารงานสรุป Donglas Mc
Gregor เห็นว่าคนมี 2 ประเภท และการบริหารคนทั้ง 2 ประเภท ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกัน
William Quchi ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการของธุรกิจอเมริกันและญี่ปุ่น
ทฤษฎี Y มองคนในแง่ดี และเชื่อว่ามนุษย์มีลักษณะทั้ง 6 ประการ ที่กล่าวมาโดยกาเนิด
ทฤษฎี X มองคนในแง่ร้าย มนุษย์เลวมาตั้งแต่กาเนิด ทาให้ต้องใช้การบริหารแบบเผด็จการ
ทฤษฎี Z เป็นแนวความคิดการจัดการที่ผสมผสานแนวความคิดแบบอเมริกันและญี่ปุ่น โดยองค์การจะให้
ความสาคัญกับความมั่นคงในการจ้างงาน การตัดสินใจที่เป็นเอกฉันท์ การมอบหมายอานาจหน้าที่ และความ
รับผิดชอบให้บุคคล การประเมินผลและการเลื่อนตาแหน่งแบบเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไป แต่มีระบบ
ประเมินที่ชัดเจน การเติบโตในเส้นทางอาชีพมีความชัดเจน
ทฤษฎี A เป็นแนวความคิดการจัดการแบบอเมริกัน ซึ่งให้ความสาคัญกับความเป็นปัจเจกชนที่พนักงานแต่ละ
คนจะรับผิดชอบและตัดสิน ใจในงานของตน จะมีการแข่งขันและประเมินผลงานตามความสามารถ ทาให้
สามารถเลื่อนตาแหน่งและอาจจะต้องเปลี่ยนงานอย่างรวดเร็ว มีระบบควบคุมอย่างเป็นทางการ จะให้
ความสาคัญกับการทางานและความก้าวหน้าตามสายอาชีพของตน
ทฤษฎี J เป็นแนวความคิดการจัดการแบบญี่ปุ่น ซึ่งให้ความสาคัญกับการอยู่ร่วมกัน การรับผิดชอบและการ
ตัดสินใจร่วมกันแบบเป็นเอกฉันท์ การประเมินผลงานและการควบคุมอย่างไม่เป็นทางการ การเลื่อนตาแหน่ง
แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่จะมีความมั่นคงในการจ้างงาน หรือระบบการจ้างงานตลอดชีพ เส้นทางอาชีพไม่เน้น
ความเชี่ยวชาญ แต่จะเกี่ยวข้องและเกื้อหนุนกัน
11. Public Sector Management Quality Award (PMQA) หมายถึงการพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป็นการนาหลักเกณฑ์และแนวคิดตามรางวัล คุณภาพ
แห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และรางวัล
คุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย Thailand Quality Award (TQA) มาปรับให้สอดคล้องกับทิศทางการ
พัฒนาระบบราชการไทย กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รวมทั้ง การประเมินผลตามคารับรองการปฏิบัติ
ราชการ เพื่อให้ มีความเหมาะสมกับบริบทของภาคราชการไทย เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็นกรอบในการ
ประเมินองค์กรด้วยตนเอง และเป็นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กร เพื่อยกระดับคุณภาพ
มาตรฐานการทางานของหน่วยงานภาครัฐไปสู่มาตรฐานสากล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ *ลักษณะสาคัญขององค์กร *เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารguest6b6fea3
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวPacharee Nammon
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 

La actualidad más candente (20)

แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
ทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหารทฤษฏีการบริหาร
ทฤษฏีการบริหาร
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
เงามืด เงามัว
เงามืด เงามัวเงามืด เงามัว
เงามืด เงามัว
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 

Destacado

คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)Phichamon Samansin
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดnative
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภpairop
 
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentations
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentationsMba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentations
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentationsRai University
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานอลิศลา กันทาเดช
 
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกChoatphan Prathiptheeranan
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลียchanok
 
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)Dr. Mahmoud Al-Naimi
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารYeah Pitloke
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานrbsupervision
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาSurapon Boonlue
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกพัน พัน
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 

Destacado (18)

คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
คำศัพท์การบริหารการผลิต (Production Management Vocabulary)
 
คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้คำศัพท์ ต้องรู้
คำศัพท์ ต้องรู้
 
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุดคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
คำศัพท์ภาษาอังกฤษที่มีการใช้มากที่สุด
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentations
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentationsMba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentations
Mba ii unit 2 business vocabulary for marketing presentations
 
T
TT
T
 
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูกสอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
สอนพ่อแม่พูดภาษาอังกฤษกับลูก
 
ออสเตรเลีย
ออสเตรเลียออสเตรเลีย
ออสเตรเลีย
 
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)
Just in time (jit), lean, and toyota production system (tps)
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานการบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
การบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษาการบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการบริหารการศึกษา
 
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลกโครงการปลูกป่ารักษาโลก
โครงการปลูกป่ารักษาโลก
 
ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar a สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
New core values and concepts
New core values and conceptsNew core values and concepts
New core values and conceptsmaruay songtanin
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)maruay songtanin
 

Similar a สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร (20)

Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
L1
L1L1
L1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Ha & army hospitals
Ha & army hospitalsHa & army hospitals
Ha & army hospitals
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
17
1717
17
 
New core values and concepts
New core values and conceptsNew core values and concepts
New core values and concepts
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)
 
Execution premium
Execution premiumExecution premium
Execution premium
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
Pmk internal assessor 3
Pmk internal assessor 3Pmk internal assessor 3
Pmk internal assessor 3
 

Más de ไกรลาศ จิบจันทร์

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ไกรลาศ จิบจันทร์
 

Más de ไกรลาศ จิบจันทร์ (20)

ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
Banner
BannerBanner
Banner
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6เอกสารประกอบการสอน  Dreamweaver8 ม.6
เอกสารประกอบการสอน Dreamweaver8 ม.6
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
การเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรมการเปิดใช้งานโปรแกรม
การเปิดใช้งานโปรแกรม
 
ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้ผลการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
 
การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่การสร้างไซต์ใหม่
การสร้างไซต์ใหม่
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสร้างเว็บไซต์
 
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าประสงค์
 
ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1ข้อมูลบุคลากร1
ข้อมูลบุคลากร1
 
Frameset
FramesetFrameset
Frameset
 
การสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซตการสร้างเฟรมเซต
การสร้างเฟรมเซต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียนการสร้างปกสมุดโรงเรียน
การสร้างปกสมุดโรงเรียน
 
Photosho cs
Photosho csPhotosho cs
Photosho cs
 
ความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Htmlความรู้เกี่ยวกับ Html
ความรู้เกี่ยวกับ Html
 
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
การแสดงข้อความของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
 

สรุปคำศัพท์ทางการบริหาร

  • 1. สรุปคำศัพท์ กำรบริหำร 1. Balanced Scorecard :BSC หมายถึง เครื่องมือที่ทาหน้าที่เปลี่ยนพันธกิจ (Mission)และกลยุทธ์ (Strategy) เป็นชุดของการวัดผลการปฏิบัติงานที่มีส่วนช่วยกาหนดกรอบของระบบการวัดและการ บริหารกล ยุทธ์ที่ครอบคลุมประเด็นครบถ้วน ตัวเลขที่ได้จากการวัดจะทาหน้าที่วัดผลการปฏิบัติงานขององค์การที่ ครอบคลุม ด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องไว้ครบถ้วน เช่น ด้านการเงิน ด้านลูกค้า ด้านกิจการภายใน และด้านการ เรียนรู้แลการเติบโตขององค์การ BSC ประกอบไปด้วย มุมมอง 4 ด้านของการวัด คือ ด้านการเงิน (Financial Perspective)ด้านลูกค้า (Customer Perspective) ด้านกระบวนการ ( Internal-Business – Process Perspective) และด้านการเรียนรู้และการเติบโต( Learning and Growth Perspective) 2. Quality Control Cycle :QCC หมายถึง การควบคุมคุณภาพด้วยกิจกรรมกลุ่มการควบคุมคุณภาพ คือ การบริหารงานด้านวัตถุดิบ ขบวนการผลิตและผลผลิต ให้ได้คุณภาพตามความต้องกาของลูกค้า ผู้เกี่ยวข้อง หรือข้อกาหนดตามมาตรฐานที่ตั้งไว้ โดยมีเป้าหมายป้องกันและลดปัญหาการสูญเสียทั้งวัตถุดิบ ต้นทุนการ ผลิต เวลาการทางาน และผลผลิตกิจกรรมกลุ่ม คือ ความร่วมมือร่วมใจในการทางาน หรือสร้างผลงานตาม เป้าหมายซึ่งประกอบด้วยผู้บริหาร พนักงาน วิธีการทางาน เครื่องจักร เครื่องใช้ ระเบียบ กฏเกณฑ์ และอื่นๆ กิจกรรม QCC คือ กิจกรรมที่สร้างความร่วมมือร่วมใจในการสร้างผลงานให้ได้คุณภาพตามเป้าหมาย โดยการ ค้นหาจุดอ่อน และหาสาเหตุแห่งปัญหา แล้วระดมปัญญาแก้ไขปรับปรุงและว่างแผนคุณภาพอย่างเป็นระบบ 3. Total Quality Management :TQM หมายถึง การบริหารคุณภาพที่ทุกคนมีส่วนร่วม การบรรลุถึง คุณภาพโดยรวม ทุกคนในองค์กรยึดมั่นผูกพันและปฏิบัติตามอย่างจริงจัง TQM มี หลักการที่สาคัญ 3 ประการ 1. การมุ่งเน้นที่คุณภาพ 2. การปรับปรุงกระบวนการ3.ทุกคนในองค์กรมีส่วนร่วม การนา TQM มา ใช้ในการปรับปรุงการบริการภาครัฐ จะเป็นแนวทางหนึ่งที่เอื้ออานวยให้ส่วนราชการสามารถนาไปปฏิบัติ เพื่อให้บังเกิดผลที่พึงประสงค์ได้โดยไม่ยากนัก อย่างไรก็ตามการนา TQM ไปปฏิบัติก็หมายถึง การนาการ เปลี่ยนแปลงเข้าไปในองค์การ ซึ่งเป็นธรรมดาที่จะต้องได้รับการต่อต้านจากข้าราชการบ้างไม่มากก็น้อย การ จัดการฝึกอบรมหรือสัมมนาผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานภาครัฐที่ ให้บริการประชาชน เพื่อขอ ทราบความ คิดเห็นและให้ได้ข้อสรุปกว้าง ๆ ในการนา TQM ไปปฏิบัติในองค์การ กับการสร้างข้อตกลงร่วมกันระหว่าง ข้าราชการในสังกัดในการปฏิบัติงานเพื่อ พัฒนาคุณภาพในการทางานคุณภาพของผลงาน และการให้บริการ ต่อประชาชนการปฏิรูประบบมีเป้าหมายของการเพิ่มคุณภาพของการ ให้บริการ และความพึงพอใจของ ประชาชน 4. Learning Organization + Knowledge Management Lo + Km หมายถึง องค์กรของการเรียนรู้ และ การจัดการความรู้ LO คือ กระบวนการของการปรับปรุงการกระทาด้วยความรู้และความเข้าใจที่ดีกว่า (Fiol&Lyles)จาก LO องค์กรของการเรียนรู้ จะต้องมีกระบวนการเพื่อนาไปสู่ OL คือ กระบวนการเรียนรู้ใน ระดับองค์กร จากกระบวนการเรียนรู้จะต้องอาศัยทฤษฎีเพื่อนาไปสู่ OK หรือ ความรู้ที่สาคัญและจาเป็นของ องค์กร ซึ่งจะต้องมีการระบุว่าอะไรคือความรู้ขององค์กร องค์กรมีความรู้นั้นหรือไม่ และอยู่ที่ไหน เพื่อเข้าไปสู่ องค์ประกอบสุดท้าย คือ การจัดการความรู้ หรือ KM
  • 2. 5. School-Base-Management : SBM หมายถึง การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน หมายถึง การบริหาร จัดการที่โรงเรียนมีอานาจอิสระในการ ดาเนินการ โดยมีคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งประกอบไป ด้วยผู้แทนผู้ปกครอง ผู้แทนครู ผู้แทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้แทนศิษย์เก่า ของสถานศึกษา และผู้แทน ผู้ทรงคุณวุฒิ ทาหน้าทีกากับและส่งเสริมสนับสนุน 1. หลักการกระจายอานาจ (Decentralization) เป็นการ กระจายอานาจการจัดการศึกษาจากกระทรวงและส่วนกลางไปยังสถานศึกษา ให้มากที่สุด 2. หลักการมีส่วน ร่วม (Participation or Collaboration or Invovement) เปิดโอกาสให้ผู้เกี่ยวข้องและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้ มี ส่วนร่วมในกาบริหาร ตัดสินใจ และการมีส่วนร่วมจัดการศึกษาทั้งครู ผู้ปกครอง ตัวแทนชุมชน ตัวแทนศิษย์ เก่า และตัวแทนนักเรียน การที่บุคคล มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของและจะ รับผิดชอบในการจัดการศึกษามากขึ้น 3.หลักการคืนอานาจจัดการศึกษาให้แก่ประชาชน(Retern Power to People) ท้องถิ่นเป็นผู้ดาเนินการ ต่อมามีการรวมการจัดการศึกษาไปให้กระทรวงศึกษาธิการเพื่อก่อให้เกิด เอกภาพ และมาตรฐานทางการศึกษา แต่เมื่อประชากรเพิ่มมากขึ้น จึงต้องมีการคืนอานาจให้ท้องถิ่นและ ประชาชนได้จัดการศึกษาเองอีกครั้ง 4.หลักการบริหารตนเอง (Self-managing) สาหรับการบริหารโดยใช้ โรงเรียนเป็นฐานนั้น ไม่ได้ปฏิเสธเรื่องการทางานให้บรรลุเป้าหมายและนโยบายของ ส่วนรวม การที่ส่วนกลาง ทาหน้าที่เพียงกาหนดนโยบายและเป้าหมาย แล้วปล่อยให้ โรงเรียนมีระบบการบริหารด้วยตนเองโดยให้ โรงเรียนมีอานาจ หน้าที่ และความรับผิดชอบในการดาเนินงาน แล้วแต่ความพร้อมและสถานการณ์ของ โรงเรียน ผลที่ได้ น่าจะมีประสิทธิภาพสูงกว่าเดิมที่ทุกอย่างถูกกาหนดมาจากส่วนกลาง ไม่ว่าจะโดยทางตรง หรือทางอ้อม 5.หลักการตรวจสอบและถ่วงดุล(Checkand Balance) ส่วนกลางมีหน้าที่กาหนดนโยบายและ ควบคุมมาตรฐาน มีองค์กรอิสระทาหน้าที่ตรวจ สอบการศึกษาเพื่อให้มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นไปตาม นโยบายของชาติ เชื่อมั่นว่า การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน จะเป็นการบริหารที่ทาให้เกิดประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล มากกว่ารูปแบบการจัดการศึกษาที่ผ่านมา 6. Results Based Management – RBM หมายถึง การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์ วิธีการบริหารจัดการ ที่เป็นระบบมุ่งเน้นที่ผลสัมฤทธิ์หรือผลการปฏิบัติงาน เป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานที่ชัดเจนเพื่อให้ บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์นั้นมีหลัก 1. หลักนิติธรรม (Rule of Law) หมายถึง ความถูกต้องเป็นธรรม และการปฏิบัติตามกฎ กติกาที่ตกลงกันไว้ อย่างเคร่งครัดโดยคานึงสิทธิเสรีภาพความยุติธรรมของ สมาชิก 2. หลักคุณธรรม (Ethics) หมายถึง การยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม การส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองไป พร้อม ๆกัน เพื่อให้มีความซื่อสัตย์ จริงใจ ขยัน อดทน มีระเบียบวินัย 3. หลักความโปร่งใส (Transparency) หมายถึง การสร้างความไว้วางใจซึ่งกันและกันของโดยปรับปรุงกลไก การทางานขององค์กรให้มีความโปร่งใส 4. หลักการมีส่วนร่วม (Participation) หมายถึงการเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมรับรู้และเสนอความเห็นในการ ตัดสินใจปัญหา ต่างๆการแสดงความคิดเห็นอื่น ๆ 5. หลักความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง การตระหนักในสิทธิหน้าที่ความสานึกในหน้าที่ รับผิดชอบ ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับผลดีและผลเสียจากการ
  • 3. กระทาของตนเช่นรับผิดชอบต่อ ลูกค้าผู้มีส่วนเกี่ยวข้องยอมรับ 6. หลักความคุ้มค่า (Utility) หมายถึงการบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีจากัดเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด แก่ส่วนรวม โดยมีความประหยัด ใช้อย่างคุ้มค่าสร้างสรรค์สินค้า และบริการที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ใน เวทีโลก และรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์ 7. Benchmarking หมายถึง การเทียบเคียง เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการปรับปรุงองค์กรที่ได้รับความนิยมเป็น อย่างมากใน ปัจจุบัน เนื่องจากทาให้มีการปรับปรุงองค์กรอย่างก้าวกระโดดจึงขยายผลอย่างต่อเนื่อง จนกระทั่งปัจจุบันมีการทา Benchmarking ทั่วทั้งองค์กร ปัจจุบัน Benchmarking ได้รับการยอมรับและ นามาใช้มากขึ้น เนื่องจากเหตุผลดังนี้**เพื่อความยั่งยืนขององค์กร : สภาพการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น การที่ องค์กรจะยั่งยืนจาเป็นต้องรักษาและยกระดับความสามารถของตนเองเพื่อให้ แข่งขันได้ จึงต้องมีการเรียนรู้ และปรับปรุงตนเองอย่างต่อเนื่องโดยเครื่องมือหนึ่งที่ นิยมใช้คือ Benchmarking **เพื่อการปรับปรุงอย่างก้าว กระโดด : ความเร็วในการปรับปรุงตนเองเป็นเงื่อนไขสาคัญขอความได้เปรียบในการแข่งขัน Benchmarking เป็นเครื่องมือที่ช่วยกระตุ้นนวัตกรรม (Innovation) ในองค์กร ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในเชิงปรับปรุงใน ระยะเวลาอันสั้นเนื่องจากเป็น การเรียนรู้ วิธีปฏิบัติที่ดีที่สุดจากภายนอกองค์กรทาให้สามารถ “เรียนลัด” เพื่อ ก้าวให้ทันองค์กรอื่น ๆ จึงเป็นการปรับปรุงแบบก้าวกระโดด ***มี 2ส่วน1. การเปรียบเทียบวัด (Benchmark) ซึ่งในส่วนนี้ต้องมีการกาหนดตัววัด หรือที่เรียกว่า Key Performance Indicator (KPIs) ว่าจะเปรียบเทียบกับ ใคร ในเรื่องใด 2. การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีการปฏิบัติที่ดี/เป็นเลิศ (Best Practices) 8. Best Practice หมายถึง วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ วิธีปฏิบัติในกระบวนการใดกระบวนการหนึ่งที่ทาให้ สถานศึกษาประสบความสาเร็จ ภายใต้เงื่อนไขหรือสภาพแวดล้อมที่สถานศึกษาเผชิญอยู่ *วิธีปฏิบัตินั้น ดาเนินการบรรลุผลได้สอดคล้องกับความคาดหวังของชุมชนหรือผู้ปกครองที่มีต่อ สถานศึกษาหรือเป็นวิธี ปฏิบัติที่สร้างความพึงพอใจให้กับทุกคนในสถานศึกษาได้ *วิธีปฏิบัตินั้นผ่านกระบวนการนาไปใช้อย่างเป็น วงจร จนเห็นผลอย่างชัดเจนว่า ทาให้เกิดคุณภาพสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง หรือกล่าวอีกอย่างหนึ่งคือ *วิธีปฏิบัตินั้น มีกระบวนการ PDCAจนเห็นแนวโน้มของตัวชี้วัดความสาเร็จที่ดีขึ้น สถานศึกษาสามารถบอกเล่าถึง *วิธีปฏิบัติ นั้นได้ว่า “ทาอะไร” (what) “ทาอย่างไร” (how) และ “ทาไมจึงทา หรือ ทาไมจึงไม่ทา” (why) *ผลลัพธ์จาก วิธีปฏิบัตินั้น เป็นไปตามองค์ประกอบข้อกาหนดของการพัฒนาคุณภาพเชิงระบบ *วิธีปฏิบัตินั้น สามารถระบุ ได้ว่า เกิดจากปัจจัยสาคัญที่ชัดเจน และปัจจัยนั้นก่อให้เกิดการปฏิบัติที่ต่อเนื่องและยั่งยืน วิธีปฏิบัตินั้นใช้ กระบวนการจัดการความรู้ (KM) เช่นการเล่าเรื่อง (Storytelling) ในการถอดบทเรียนจากการดาเนินการ 9. Whole School Approach: WSA หมายถึง แนวคิดการพัฒนาทั้งโรงเรียนการพัฒนาทั้งโรงเรียน เป็น แนวคิดที่มุ่งให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ (full participation) เป็นแนวคิดที่มุ่งให้ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้องมีการพัฒนาไปพร้อมๆ กันอย่างเป็นระบบ โดยมีการดาเนินการอย่างครอบคลุมในทุกองค์ประกอบ ของโรงเรียน อาศัยการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย การพัฒนาทั้งโรงเรียน มีขั้นตอนการดาเนินการ 6 ขั้นตอน 1. ขั้นสารวจ (E-explore)2. ขั้นสนทนา แลกเปลี่ยนความคิด (C-converse)3. ขั้นการวางแผน (P- plan)4. ขั้นลงมือปฏิบัติตามแผน (I-implement) 5. ขั้นประเมินผลการดาเนินงาน (E-evaluation) 6. ขั้น การปรับปรุงแผนงาน (R-revision)
  • 4. 10. Theory X Y Z A J ในการบริหารนั้น มีการนาทฤษฎีเชิงจิตวิทยามาใช้จานวนมาก เพราะการบริหาร เป็นการทางานกับ “คน” และทฤษฎีจิตวิทยาก็พูดเรื่อง “คน” การศึกษาทฤษฎีจิตวิทยาที่เกี่ยวกับการควบคุม กากับพฤติกรรมของมนุษย์ การสร้างแรงจูงใจในการทางาน และภาวะผู้นา จึงเป็นประโยชน์อย่างมากต่อ ผู้บริหาร Donglas Mc Gregor ได้ค้นพบแนวคิด “พฤติกรรมองค์การ” และสรุปว่า กิจกรรมการบริหาร จัดการล้วนมีสาเหตุรากฐานมาจากทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ (Human Behaviors) ซึ่งเป็นไปตามกรอบทฤษฎี X และทฤษฎี Y คือ ทฤษฎี X (Theory X) คือคนประเภทเกียจคร้าน ในการบริหารจึงควรใช้มาตรการบังคับ มีระเบียบกฎเกณฑ์ คอยกากับ มีการควบคุมการทางานอย่างใกล้ชิด และมีการลงโทษเป็นหลัก ทฤษฎี Y (Theory Y) คือคนประเภทขยัน ควรมีการกาหนดหน้าที่การงานที่เหมาะสม ท้าทายความสามารถ สร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานเชิงบวก และควรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการบริหารงานสรุป Donglas Mc Gregor เห็นว่าคนมี 2 ประเภท และการบริหารคนทั้ง 2 ประเภท ต้องใช้วิธีการบริหารแตกต่างกัน William Quchi ได้ทาการศึกษาเปรียบเทียบการจัดการของธุรกิจอเมริกันและญี่ปุ่น ทฤษฎี Y มองคนในแง่ดี และเชื่อว่ามนุษย์มีลักษณะทั้ง 6 ประการ ที่กล่าวมาโดยกาเนิด ทฤษฎี X มองคนในแง่ร้าย มนุษย์เลวมาตั้งแต่กาเนิด ทาให้ต้องใช้การบริหารแบบเผด็จการ ทฤษฎี Z เป็นแนวความคิดการจัดการที่ผสมผสานแนวความคิดแบบอเมริกันและญี่ปุ่น โดยองค์การจะให้ ความสาคัญกับความมั่นคงในการจ้างงาน การตัดสินใจที่เป็นเอกฉันท์ การมอบหมายอานาจหน้าที่ และความ รับผิดชอบให้บุคคล การประเมินผลและการเลื่อนตาแหน่งแบบเป็นขั้นตอนและค่อยเป็นค่อยไป แต่มีระบบ ประเมินที่ชัดเจน การเติบโตในเส้นทางอาชีพมีความชัดเจน ทฤษฎี A เป็นแนวความคิดการจัดการแบบอเมริกัน ซึ่งให้ความสาคัญกับความเป็นปัจเจกชนที่พนักงานแต่ละ คนจะรับผิดชอบและตัดสิน ใจในงานของตน จะมีการแข่งขันและประเมินผลงานตามความสามารถ ทาให้ สามารถเลื่อนตาแหน่งและอาจจะต้องเปลี่ยนงานอย่างรวดเร็ว มีระบบควบคุมอย่างเป็นทางการ จะให้ ความสาคัญกับการทางานและความก้าวหน้าตามสายอาชีพของตน ทฤษฎี J เป็นแนวความคิดการจัดการแบบญี่ปุ่น ซึ่งให้ความสาคัญกับการอยู่ร่วมกัน การรับผิดชอบและการ ตัดสินใจร่วมกันแบบเป็นเอกฉันท์ การประเมินผลงานและการควบคุมอย่างไม่เป็นทางการ การเลื่อนตาแหน่ง แบบค่อยเป็นค่อยไป แต่จะมีความมั่นคงในการจ้างงาน หรือระบบการจ้างงานตลอดชีพ เส้นทางอาชีพไม่เน้น ความเชี่ยวชาญ แต่จะเกี่ยวข้องและเกื้อหนุนกัน 11. Public Sector Management Quality Award (PMQA) หมายถึงการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐเป็นการนาหลักเกณฑ์และแนวคิดตามรางวัล คุณภาพ แห่งชาติของประเทศสหรัฐอเมริกา Malcolm Baldrige National Quality Award (MBNQA) และรางวัล คุณภาพแห่งชาติของประเทศไทย Thailand Quality Award (TQA) มาปรับให้สอดคล้องกับทิศทางการ พัฒนาระบบราชการไทย กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 รวมทั้ง การประเมินผลตามคารับรองการปฏิบัติ ราชการ เพื่อให้ มีความเหมาะสมกับบริบทของภาคราชการไทย เพื่อให้ส่วนราชการใช้เป็นกรอบในการ ประเมินองค์กรด้วยตนเอง และเป็นแนวทางในการปรับปรุงการบริหารจัดการองค์กร เพื่อยกระดับคุณภาพ
  • 5. มาตรฐานการทางานของหน่วยงานภาครัฐไปสู่มาตรฐานสากล การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ คือ *ลักษณะสาคัญขององค์กร *เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ