SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 17
Descargar para leer sin conexión
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                        86




                                                                                       บทที่ 7
                                 รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา

7.1  รูป [Form/ Morph]
                  หนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดที่เปนองคประกอบของภาษา คือ หนวยเสียง [phoneme]
โดยคําจํากัดความแลว หนวยเสียงไมมีความหมาย แตอาจนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของ
ความหมายหนวยเสียงในภาษามักจะรวมตัวกัน และอาจจะเกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําเลา ตราบที่มนุษยยัง
ใชภาษาพูดในการติดตอสื่อสารกัน ในทางภาษาศาสตร เมื่อใดก็ตามที่ปรากฏหนวยเสียงรวมตัว
กัน เราเรียกกลุมของหนวยเสียงเหลานั้นวา "รูป" (ซึ่งมาจากคําในภาษาอังกฤษวา form หรือ
morph) รูปที่กลาวถึงนี้อาจมีความหมายหรือไมก็ได เชน [kankrai] "กรรไกร" จากหนวยเสียงที่
เรียงติดตอกัน เมื่อเราตัดแบงออกเปนรูป 2 รูปไดแก kan + krai และ kank + rai ซึ่งไมวาเราจะ
ตัดแบงหนวยเสียงที่เรียงตัวกันแบบแรกหรือแบบหลังสวนของหนวยเสียงที่ตัดแบงออกมานั้น จะ
เรียกวา "รูป" [Delbridge and Bernard, 1966 : 83-93]
                  นักภาษาศาสตรไมไดใหความสนใจรูปทุกรูป แตจะเลือกศึกษาเฉพาะรูปที่มี
ความสัมพันธหรือมีความสําคัญ หรือมีสวนเกี่ยวของกับระบบภาษาเทานั้น ซึ่งหมายความวา
นักภาษาศาสตรจะศึกษาเฉพารูปที่มีความหมายเทานั้น

7.2  คํา [Word]
               คํา หรือ word คือ หนวยอิสระที่เล็กที่สุดที่มีความหมาย ดังนั้นจากคํานิยามนี้
หนวยใดๆจะเปนคําได จะตองมีคุณสมบัติครบทั้งสามประการคือ
               1. อยูเปนอิสระได
               2. เล็กที่สุด แบงแยกใหเล็กลงเปนหนวยอิสระไมได
               3. มีความหมาย
               เราจึงสรุปไดวา
                        'dis-' ในคํา dislike ไมใชคํา เพราะอยูเปนอิสระไมได (แมวาจะเล็กที่สุด
และมีความหมาย)
                        'bird' เปนคํา เพราะอยูเปนอิสระได เล็กที่สุด และมีความหมาย
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                          87




                         '-ed'   ใน   talked   ไมใชคํา เพราะอยูเปนอิสระไมได (แมวาจะเล็กที่สุด
และมีความหมาย)
                         'wished'   เปนคํา เพราะอยูเปนอิสระได และมีความหมาย ถาเราแยกเปน
'wish' กับ 'ed' จะพบวา '-ed' อยูโดยอิสระไมไดทําให 'ed' ตองอยูรวมกับ 'wish' ถาพิจารณาดาน
การเกิดอิสระ เราถือวา 'wished' เปนหนวยที่เล็กที่สุดแลว เราไมสามารถแยก 'wish' กับ 'ed' ออก
จากกันได
                 ในภาษาหลายๆภาษา เชน ภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย ฯลฯ ในการเขียนจะมีการ
เวนวรรคระหวางคํา [juncture] ทําใหสังเกตคําไดงาย แตสําหรับภาษาที่เขียนโดยไมมีชองวาง
ระหวางคํา เชน ภาษาไทย อาจมีปญหาบางในการสังเกตคํา เชน คํา "ลูกเสือ" [boyscout] เปนคํา
เพราะถาเราแยกเปน ลูก และ เสือ เราจะไมไดความหมายเดิมวา boyscout เราจึงถือวา "ลูกเสือ" ที่
แปลวา boyscout เปนหนวยที่เล็กที่สุด ที่แบงแยกลงไปไมไดแลว และถือวาเปน 1 คํา

7.3  หนวยคํา [Morpheme]
                "หนวยคํา" หรือ morpheme คือ หนวยที่เล็กที่สุดในภาษาที่มีความหมาย จะอยู
เปนอิสระไดหรือไมไดก็ได ดังนั้นขอแตกตางระหวางคําและหนวยคําที่สําคัญที่สุดก็คือการที่
หนวยคําสามารถอยูเปนอิสระไดหรือไมไดก็ได แตคําตองสามารถเปนอิสระไดเทานั้น ในกรณีที่
หนวยใดๆ เปนหนวยคําอิสระ หนวยคํานั้นก็สามารถเปนคําไดดวย
                'dis' ใน 'dislike' เปนหนวยคํา แตไมเปนคํา เพราะไมสามารถปรากฏลําพังได
                'bird' เปนหนวยคําอิสระ และเปนคําดวย
                'ed' ใน 'wished' เปนหนวยคํา แตไมเปนคํา เพราะไมสามารถปรากฏลําพังได
                'wished' เปนคําเดียว ประกอบดวย 2 หนวยคํา
                'saw' เปนคําเดียว ประกอบดวย 2 หนวยคํา เพราะเปนหนวยคํา see รวมกับหนวย
คําบอกอดีตกาล [past tense] แตบังเอิญวาเปนหนวยคําที่เมื่อเติมแลวไมปรากฏรูปใหเห็น
                หนวยคําเปนองคประกอบของคํา คําบางคําประกอบดวยหนวยคํา 1 หนวย บาง
คําก็ประกอบดวยหนวยคํามากกวา 1 หนวย ดังตัวอยางตอไปนี้
                quickly                    ประกอบดวย 2 หนวยคําคือ quick + ly
                play                       ประกอบดวย 1 หนวยคําคือ play
                player                     ประกอบดวย 2 หนวยคําคือ play + er
                players                    ประกอบดวย 3 หนวยคําคือ play + er + s
                softening                  ประกอบดวย 3 หนวยคําคือ soft + en + ing
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                                 88




                  ungentlemanliness           ประกอบดวย 5 หนวยคําคือ un + gentle + man+ly +
                                              ness

                   สํ า หรั บ กลุ ม พร า ก [Prague]ซึ่ ง เป น กลุ ม โครงสร า งรุ น แรก ยั ง พิ จ ารณา
ความสั ม พัน ธ ระหว า งหน ว ยคํ า และหนว ยเสี ย ง                  และเรีย กความสัมพั น ธดั ง กลา ววา
'morphophonemics' หรือ 'morphophology' นั่นคือพิจารณาวาหนวยเสียงใดบางจะมีหนาที่เปน
หนวยคําใหพิจารณาจากการรวมกลุมของสวนยอยแสดงหนวยคําหรือเรียกวา morph เชน ในคํา
'girls' ประกอบดวย 5 หนวยเสียง คือ [g-з:-r-l-z] ซึ่งเมื่อพิจารณาสวนยอยแสดงหนวยคําหรือ
morph แลวจัดได 2 สวนคือ [gз:rl] และ [z] ตอไปจึงพิจารณาใหสวนยอยแสดงหนวยคํานี้เปน 2
หนวยคํา คือ {gз:rl} และ {z} (ใหสังเกตการใชเครื่องหมายวงเล็บที่แตกตางกันดวย)
                   สวน Leonard Bloomfield นักภาษาศาสตรในกลุมโครงสราง ไดใหคํานามวา
"หนวยคํา คือ คือหนวยเสียง 1 หนวยเสียงหรือมากกวา 1 หนวยเสียงขึ้นไปที่มีการจัดรูปแบบ
เฉพาะ" และเขายังกลาวไววา ภาษาแตกตางกันที่ระบบหนวยคํามากกวาที่จะแตกตางกันที่ระบบ
วากยสัมพันธเสียอีกปญหาสําคัญในการศึกษาเรื่องความหมายในระบบหนวยคําในภาษาใดภาษา
หนึ่ง จึงมีอยางนอยที่สุด 3 ขั้นตอน คือ
                   1. เนนการเรียนรูที่จะตัดคําออกเปนสวนๆ รูวาสวนใดเปนหนวยคําประเภทใด
หรืออีกนัยหนึ่ง รูวาขอบเขตของหนวยคําสิ้นสุดที่ใด รวมทั้งรูกฎเกณฑตางๆ ที่ตองใชเมื่อหนวยคํา
สองหนวยคําอยูติดกัน
                   2. แตละหนวยคํา มีความหมายอยางไร
                   3. หนวยคําใดเปนหนวยคําสําคัญ ที่ทําหนาที่เปนหลักใหหนวยคําอื่นมาเกาะ


               ในทางภาษาศาสตร สัญลักษณที่ใชแสดงหนวยคํา คือวงเล็บปกกา {                      } ดังนั้น
ถาเราจะเขียนหนวยคํา "กระดาษ" จะเขียนเปนสัญลักษณดังนี้ {kradàat}

7.4 ประเภทของหนวยคํา
               เราสามารถแบงหนวยคําออกเปนชนิดตางๆไดหลายวิธี เชน จําแนกตามความเปน
อิสระและไมอิสระ และจําแนกตามหนาที่
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                 89




       7.4.1.ชนิดของหนวยคําจําแนกตามความเปนอิสระหรือไมอิสระ
               1. หนวยคําอิสระ [free morpheme] คือ หนวยคําที่เกิดตามลําพังได หรือ
สามารถนําไปใชเปนคําโดยไมตองเปลี่ยนรูป ในภาษาไทย เชน นก บาน สวย ในภาษาอังกฤษ เชน
home person cat
                         หนวยคําอิสระในภาษาสวนใหญมักเปนสวนสําคัญหรือแกนของคํา ซึ่ง
เรียกวา รากศัพท หรือ ธาตุ [root] เชน bean ใน beans, slow ใน slowly, use ใน useful เปนตน
                         ในกรณีที่หนวยคําอิสระ 1 หนวยคําขึ้นไปเปนฐานของคําใหหนวยคําอื่น
มาเกาะ เราเรียกสวนของคํานี้วา ตนเคาศัพท [stem] เชน man ใน manly, friend ใน friends,
bookstore ใน bookstores           ในสองคําแรกตนเคาศัพทประกอบดวยรากศัพท 1 คํา แตใน
bookstores ตนเคาศัพทประกอบดวยรากศัพท 2 คํา
                 2. หนวยคําไมอิสระ หรือบางครั้งเรียกวาหนวยคําผูกพัน [bound morpheme]
คือ หนวยคําที่ไมสามารถปรากฏตามลําพังได ตองเกาะอยูกับหนวยคําอื่น หนวยคําเติม [affix]
ทั้งหลายมักเปนหนวยคําไมอิสระ เชน หนวยคําเติมหนา [prefix] หนวยคําเติมกลาง [infix] และ
หนวยคําเติมทาย [suffx]
                         ในภาษาสวนใหญ หนวยคําไมอิสระมักรวมตัวกันหรือรวมกับหนวยคํา
อิสระกลายเปนสวนสําคัญของคํา เรียกวา ตนเคาศัพท [stem] เชน re-ceive, con-cept, ab-norm,
dis-gust ในคําวา receives, conceptual, abnormal, disgusted เปนตน
                         - หนวยคําเติมหนา หรือ อุปสรรค [prefix] คือหนวยคําที่เติมขางหนา
หนวยคําอื่น เชน un- ในภาษาอังกฤษ ในคําวา unhappy, untidy, unimportant, unreleased
การ- ในภาษาไทย ในคําวา การบาน การเมือง การชุมนุม การประทวง เปนตน
                         - หนวยคําเติมกลาง หรือ อาคม [infix] คือหนวยคําที่เติมที่กลางศัพท
ในภาษาเขมร เชน /-am-/ ในคําวา ตํารวจ /tamruat/ (มาจาก ตรวจ /traut/) /-do-/ ในภาษา
กรีกโบราณ ในคําวา /neo:ridos/ 'of a dockyard' มาจาก /neo:ris/ 'dockyard' เปนตน
                         หนวยคําเติมกลาง หรืออาคม [infix] พบมากในภาษาเขมร เชน
                                  [trɔŋ] 'straight' → [tɔmrɔŋ] 'to straighten'
                                  [kaɤt] 'to be born' → [kɔmnaɤt] 'birth'
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                      90




                         - หนวยคําเติมทาย หรือ ปจจัย [suffix] คือ หนวยคําที่เติมทาย
หนวยคําอื่น เชน -er ในภาษาอังกฤษ ในคําวา teacher, waiter, painter -กร ในภาษาไทย ในคํา
วา จิตรกร กรรมกร พิธีกร วิทยากร ฆาตกร เปนตน
                         นอกจากนี้ยังมีหนวยคําเติมครอมหนวยคําอื่น [circumfix] เชน ใน
ภาษาเยอรมัน [German] ที่บอกความเปน past participle คือ ge - t ตัวอยางเชน
                                 lieb 'love' → geliebt 'loved'
                                 mach 'make' → gemacht 'made'
                         ในบางกรณีหนวยคําไมอิสระก็ไมปรากฏรูปใหเห็นชัดเจนแยกออกมาจาก
หนวยคําหลักตามตัวอยางขางตน แตกลับทําใหสระของหนวยคําหลักเปลี่ยนไป หนวยคําไม
อิสระชนิดนี้เรียกวา simulfix พบมากในหลายภาษารวมทั้งในภาษาอังกฤษ เชน
                                 give + หนวยคําแสดง past tense กลายเปน gave
                                 foot + หนวยคําแสดงพหูพจน กลายเปน feet

        7.4.2.     ชนิดของหนวยคําจําแนกตามหนาที่
                             หนวยคําทําหนาที่ทางไวยากรณตางกัน เชนแปลงคําใหเปนอีกชนิดหนึ่ง
หรือผันใหมีความสัมพันธกับคําอื่นๆได เราจึงสามารถแบงประเภทของหนวยคําตามหนาที่ ไดดังนี้
                    1. หนวยคําแปลง [derivational morpheme] คือ หนวยคําที่ทําหนาที่แปลงคํา
ชนิดหนึ่งใหเปนอีกชนิดหนึ่ง เชน -ness แปลงคําวา lonely, dark, sad ซึ่งเปน adjective ใหเปน
loneliness, darkness, sadness ซึ่งเปน noun หรือแปลงคําที่มีความหมายหนึ่งเปนอีกความหมาย
หนึ่งซึ่งเกี่ยวของกัน เชน im- ใน impossible, impolite, immodest re- ใน replay, rewind, rewrite
เปนตน
                    2. หนวยคําวิภัตติปจจัย [inflectional morpheme] คือ หนวยคําที่เติมเขาไปที่
หนวยคําที่เปนรากศัพท [root] หรือศัพทตนเคา [stem] เพื่อทําใหเกิดคําที่สามารถปรากฏใน
ประโยคและมีความสัมพันธทางไวยากรณกับคําอื่นๆ ไดอยางถูกตอง หนวยคําประเภทนี้อยูในรูป
หนวยคําเติมประเภทตางๆ เชน หนวยคําพหูพจน หนวยคําอดีตกาล หนวยคําแสดงความเปน
เจาของ ในภาษาอังกฤษ ในคําวา houses, visited, man's ตามลําดับ
                      ภาษาที่มีหนวยคําประเภทนี้จํานวนมาก หรือใชหนวยคําประเภทนี้แสดง
ความสัมพันธทางไวยากรณเปนหลัก เรียกวา ภาษาวิภัตติปจจัย [inflectional language] ไดแก
ภาษาตระกูลอินโด ยูโรเปยน [Indo-European Language Family]
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                     91




7.5   หนวยตางๆที่เกี่ยวของกับหนวยคํา
        7.5.1 หนวยคํายอย [allomorph]
                         หนวยคํายอย คือรูปตางๆของหนวยคํา ซึ่งปรากฏในสิ่งแวดลอมที่อธิบาย
ได [Gleason 1955 : 61]
                         หนวยคําพหูพจนที่เติมทายคํานามในภาษาอังกฤษมีหลายหนวยคํายอย
(หมายความวาออกเสียงไดหลายแบบ แตความหมายเดียวกัน) ไดแก /-s/ ในคําเชน hats, /-z/
ในคําเชน dogs, /Iz-əz/ ในคําเชน churches รูปทั้งสามรูปนี้เปนหนวยคํายอยของหนวยคํา
เดียวกัน คือหนวยคําพหูพจนของคํานามในภาษาอังกฤษ เราสามารถอธิบายไดวา ในสิ่งแวดลอม
ใดรูปใดจะปรากฏ กลาวคือ รูป /əz/ หรือ /Iz/ จะปรากฏหลังนามที่ลงทายดวยเสียงเสียดแทรก
/s/, /z/, / /, / /, / /, / / รูป /s/ ปรากฏทายคํานามที่ลงทายดวยเสียงอโฆษะ [voiceless]
อื่นๆ สวนรูป /z/ ปรากฏทายคํานามที่ลงทายดวยเสียงโฆษะ [voiced] ที่เหลือ หนวยคํายอย
ประเภทนี้เปน หนวยคํายอยที่มีเงื่อนไขทางเสียง [phonologically conditioned allomorph]

         7.5.2  หนวยศัพท [Lexeme]
                         หนวยศัพท หมายถึง หนวยพื้นฐานดานศัพท หนวยศัพทซึ่งเปนชุดกับ
หนวยเสียง [phoneme] หนวยคํา [morpheme] หนวยศัพทเปนหนวยนามธรรมของคํา เชน cry,
cries, crying, cried นับเปน 4 คํา แตรวมเปน 1 หนวยศัพทเทานั้นคือ CRY คําวา tooth, teeth
เปน 2 คํา (เอกพจน และพหูพจน) ของหนวยศัพท TOOTH เราสามารถกลาวไดวา หนวยศัพท
CRY เปนคํากริยา และหนวยศัพท TOOTH เปนคํานาม ในภาษาไทย หนวยศัพทกับคํามีรูป
เหมือนกันเพราะภาษาไทยไมมีวิภัตติปจจัย แตเราอาจถือวา คําวา คะ กับ คะ นาจะเปนหนวย
ศัพทเดียวกัน

         7.5.3  คําประสม หรือคําผสม [Compound word]
                            คําประสม หรือคําผสม คือคําที่ประกอบดวยหนวยคําอิสระ 2 หนวยคํา
ขึ้นไป เชน แมน้ํา พิมพดีด เปลี่ยนแปลง ตูเย็น, aircraft waterfall housewife เปนตน คําประสม
หรือคําผสมมีความหมายเฉพาะตัวที่ไมตรงกับความหมายของทั้ง 2 หนวยคํานัก แตมีเคาอยูบาง
เชน แม ใน แมน้ํา ไมไดหมายถึง "แม" แตหมายถึง "ใหญ", "สําคัญ" ซึ่งเปนลักษณะหนึ่งของคําวา
แม
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                    92




                    เกณฑในการดูคําประสม หรือคําผสม
                          1       เกณฑการแทนที่ [substitution] ถาเปนคําประสมแลว ไม
สามารถแยกโดยนําคําอื่นไปแทนที่ไมวาในตําแหนงใด เชน cold feet "กลัว” ถาเราทดลองใชเกณฑ
การแทนที่ โดยนําคําวา hot ไปแทน cold เปน hot feet ซึ่งแปลวา เทารอน ก็จะกลายเปนนามวลี
[noun phrase] แทน หรือ ประโยคทักทายในภาษาอังกฤษวา 'Good day' ก็ไมสามารถเปลี่ยนเปน
'Excellent day' หรือ 'Bad day' ที่ใชในการทักทายได
                          2       เกณฑการเพิ่มสวนขยายไมได คําประสมหรือคําผสม ไมเหมือน
นามวลีและไมเหมือนวลีชนิดอื่นๆ วลีอาจมีคําขยายเติมเขาไป และทําใหความหมายเกิดเปน
ความหมายของวลีนั้นบวกความหมายของคําสวนขยายที่มาเติม เชน green house → very green
house (ขอใหสังเกตการณลงเสียงเนนหนักในนามวลี เสียงเนนหนักที่สุดจะลงที่นามตัวหลัง เสียง
เนนหนักที่สองจะลงที่นามตัวแรก แตถาเปนคําประสม เสียงเนนหนักที่สุดจะลงที่นามตัวแรก เสียง
เนนหนักที่สามจะลงที่นามตัวหลัง เชน greenhouse "เรือนกระจก")
                                  คําประสมหรือคําผสมเปนจํานวนมากที่มีคําสวนขยายมาเติม
ไมไดถาเติมไดก็จะทําใหความหมายเปลี่ยนไป เชน "red handed' (แปลวาทําความผิดแลวถูกจับ
ไดอยางคาหนังคาเขา) → *very red handed ไมได
                          3       เกณฑทางความหมาย คําประสมหรือคําผสมเปนคําคําเดียวที่มี
ความหมายจําเพาะพิเศษ ในภาษาอังกฤษ เชน คําวา sister-in-law (พี่/นองสะใภ), jack-in-the-
box (ตุกตามีสปริงที่อัดไวกลอง พอเปดฝาตุกตาจะเดงออกมา), half sister (พี่สาว หรือนองสาวที่
มีพอหรือแมคนเดียวกัน), passers-by (คนที่ผานไปมาหลายคน) (ที่มา : สุริยา รัตนกุล : 2544 :
175-179)

        7.5.4 คําประสานหรือคําผสาน [Complex word]
                        คําประสาน หรือคําผสาน คือ คําที่ประกอบดวยหนวยคําอิสระกับหนวย
คําไมอิสระ ภาษาอังกฤษมีคําประเภทนี้มากและสรางคําโดยใชหนวยคําเติม [affix] ทําใหเกิดคํา
ประสาน หรือคําผสาน เชน beautiful [beauty + ful], happiness [happy + ness], incorrect [in
+ corret], education [educate + ation] เปนตน

7.6    การวิเคราะหหนวยคํา
                 การวิเคราะหหนวยคํา คือการระบุวาในขอมูลภาษาตางๆ ที่วิเคราะหมีหนวยคํา
อะไรบาง หรือหมายถึงการแยกขอมูลคําเปนหนวยคํานั่นเอง ในการวิเคราะหหนวยคําตองยึดหลัก
ดังนี้
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                     93




        1.     ความหมายเหมือนและรูปเหมือน
                           คํา หรือสวนของคํา ที่มีความหมายเหมือนกัน และมีรูปเหมือนกันทุกที่
ที่ปรากฏ ใหถือวารูปเหลานั้นเปนหนวยคําเดียวกัน คือเปน 1 หนวยคําหรือหนวยคํายอยของ
หนวยคําเดียวตัวอยางเชน -ess ซึ่งปรากฏทายคําวา hostess, actress, waitress etc. ถือเปน 1
หนวยคํา เพราะมีความหมายเหมือนกันคือบอก "เพศ" โปรดสังเกต ที่กลาววา "มีรูปเหมือนกัน"
หมายถึง "ออกเสียงเหมือนกัน" (ไมใช สะกดเหมือนกัน)
         2. ความหมายเหมือนและรูปคลายกัน
                           คํา หรือสวนของคํา ที่มีความหมายเหมือนกัน และมีรูปทางเสียงคลายกัน
คือแตกตางกันเล็กนอย และความแตกตางนั้นสามารถอธิบายไดตามระบบเสียง [phonologically
conditioned feature] ใหถือวารูปที่แตกตางกันเล็กนอยนั้นเปนหนวยคําเดียวกัน คือเปน 1
หนวยคํา อีกนัยหนึ่ง ถาเราสามารถอธิบายเงื่อนไขทางเสียงของการปรากฏของรูปตางๆ ที่มี
ความหมายเหมือนกันไดใหถือวารูปเหลานั้นเปนหนวยคํายอย [allomorph] ของหนวยคํา
[morpheme] เดียวกัน ตัวอยางเชน ในคําภาษาอังกฤษตอไปนี้
                           im- (/im-/)               ในคํา immortal, impossible, impolite
                           in- (/-in/)               ในคํา intolerant, intangible, indecent
                           ir- (/ir-/)               ในคํา irrelevant, irregular, irreplaceable
                           il- (/il-/)               ในคํา illegal, illiterate, illogical
                             รูปที่ปรากฏ /im-, in-, ir-, il-/ เปนรูปทางเสียงที่มีความแตกตางกัน
เล็กนอย แตมีความหมายที่เหมือนกัน ซึ่งแปลวา "ไม” เราสามารถอธิบายความแตกตางตามระบบ
เสียงไดดังนี้
                             - รูป /im-/ เกิดหนาเสียงริมฝปาก [occurs before bilabial sounds]
                             - รูป /in-/ เกิดหนาเสียงปุมเหงือก [occurs before alveolar sounds]
                             - รูป /ir-/ เกิดหนาเสียงลิ้นสะบัด [occurs before flap sounds]
                             - รูป /il-/ เกิดหนาเสียงขางลิ้น [occurs before lateral sounds]
                  รูปทั้งสามนี้ เกิดสับหลีกกัน [complentary distribution] และถือวาเปนหนวยคํา
ยอย [allomorphs] ของหนวยคํา [morpheme] เดียวกัน
                  อนึ่ง การที่เรากลาววา การเกิดของหนวยคํายอยสามารถอธิบายไดตามระบบ
เสียงหมายความวา เราสามารถระบุการปรากฏของรูปเหลานั้นดวยกระบวนการทางเสียงนั่นเอง
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                   94




หนวยคํายอยประเภทนี้เรียกวา หนวยคํายอยที่มีเงื่อนไขทางเสียง   [phonologically condition
morpheme]
      3. ความหมายเหมือนแตรูปตาง
                         คํา หรือสวนของคําใดที่มีความหมายเหมือนกัน แตมีรูปทางเสียงที่
ตางกัน และการปรากฏของรูปที่แตกตางเหลานี้ ไมสามารถอธิบายไดตามระบบเสียง แตสามารถ
ใชลักษณะบังคับทางคํา [morphologically conditioned feature] มาเปนเกณฑพิสูจนได ใหถือวา
รูปเหลานั้นเปนหนวยคํายอย [allomorph] ของหนวยคํา [morpheme] เดียวกัน ตัวอยางในคํา
ภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนจากคํานามเอกพจน เปนพหูพจน เชน
                         ox → oxen
                         child → children

        4.    ความหมายคลายและรูปเหมือน
                           หมายความวา รูปใดก็ตามที่ปรากฏซ้ําๆ และเหมือนกันทุกประการ หรือ
ที่เราเรียกวา "พองเสียง" จะถือเปนหนวยคําเดียวกันก็ตอเมื่อมีความหมายคลายกัน หรือใกลเคียง
กัน หรือ เกี่ยวของกัน เชน They run, Their run, The run in their stocking ควรถือเปน
หนวยคําเดียวกัน แตคําวา sun กับ son ไมใชหนวยคําเดียวกันทั้งๆที่มีรูปทางเสียงเหมือนกัน
เพราะความหมายตางกัน การใชหลักขอนี้ตัดสินวาอะไรเปนหนวยคําเดียวกันหรือไม มีปญหาเสมอ
ไมวาจะวิเคราะหภาษาใด เพราะเปนเรื่องยากที่จะตัดสินวาความหมายคลายกันหรือไม ถาคลาย
จะคลายกันพอที่จะถือวาเปนหนวยคําเดียวกันหรือไม เชน He picks the pen under his chair. กับ
He picks me up.เปนตน

                ปญหาในการวิเคราะหหนวยคํา
                        ถึงแมจะมีหลักในการวิเคราะหหนวยคําดังกลาวขางตน แตเราอาจ
ประสบปญหาดังนี้
                1        ในคําบางคํา เราสามารถระบุบางสวนเปนหนวยคําไดโดยงาย เพราะ
ปรากฏรูปซ้ําๆกันและมีรูปเหมือนกัน เชน berry ในคํา cranberry, raspberry แตในสวนที่เหลือ
คือ cran, rasp ไมพบวาไปปรากฏที่อื่นเลย และเราไมทราบดวยวาหมายความวาอะไร จึงยากที่จะ
ตัดสินใจใหเปนหนวยคําตามหลักที่กลาวมาขางตน อยางไรก็ตามนักภาษาศาสตรบางคน เชน ยู
จีน เอ ไนดา [Eugene A. Nida 1946] ถือวาสวนที่เหลือคือ cran, rasp เปนหนวยคํา ถึงแมจะไมมี
ความหมาย
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                     95




                2.    สวนประกอบของคําที่ปรากฏซ้ําในคําจํานวนมาก ดูเหมือนเปนหนวยคํา เชน
นา ในคํา นาฬิกา นารี นายก นาวา และ -er ในคํา hammer, ladder, hadger, under, bitter, Roger
เมื่อเราแยกหนวยคํา นา กับ -er ออกมา ปญหาที่พบคือสวนที่เหลือไมมีความหมายรวมกันเลย
ดังนั้นเราไมควรแยก นา และ -er
                 3. เสียงที่ฟงดูมีความหมาย เชน /sl-/ ในคํา slide, slush, slip, slime, slopper,
slick อาจถูกแยกเปนหนวยคําสําหรับบางคน ถาเราทําเชนนั้นจะเกิดปญหาวา หนวยคํา /sl-/ มี
ความหมายวาอยางไร และสวนที่เหลือก็ไมมีความหมายเชนกัน วิธีที่ปลอดภัยคือ เราไมควรแยก
เปนหนวยคํา
                 4. ถาเรายอมรับความคิดวา ภาษามีหนวยคํา และคําทุกคําประกอบดวย
หนวยคําอยางนอย 1 หนวย เราอาจมีปญหาเมื่อหนวยคําไมปรากฏรูปในที่ที่ควรปรากฏ เชน ใน
ภาษาอังกฤษมีการแยกความแตกตางระหวางเอกพจนและพหูพจน หนวยคําแสดงพหูพจนไมมี
ปญหาเพราะเรามองเห็นรูปเชน girls, bats, boys แตคําวา girl, bat, boy ที่เปนเอกพจนไมมี
หนวยคําแสดงเอกพจน แตมีความหมายเปนเอกพจนอยูในคํา มีผูหาทางออกใหกับปญหานี้คือ ให
หนวยคําเอกพจน = ø คือเปนหนวยไรรูป ถึงจะดูไมสมเหตุสมผลนัก แตก็ทําใหการวิเคราะหเปน
ระบบขึ้น
                 5. ในบางกรณีเราพบหนวยคําที่ไมธรรมดา กลาวคือไมใชหนวยคําที่เติมเขากับ
หนวยคําอื่น แลวคงรูปใหเห็นชัดเจน ในภาษาอังกฤษ เชน ในคํา spoke, drew, saw เราดูจาก
ความหมายแลว จะตองใหคํานี้ประกอบดวย 2 หนวยคํา หนวยคําหนึ่งคือ หนวยคําแสดงอดีตกาล
เมื่อเทียบกับ speak, draw, see ซึ่งมีความหมายเปนปจจุบัน แตเราไมสามารถตัดแยกหนวยคํา
อดีตกาลออกจากคําทั้งสามได ทางออกของนักวิทยาหนวยคํา คือ สรางชนิดของหนวยคําแทนที่ขึ้น
เพื่อใชอธิบายการที่ speak กลายเปน spoke, draw กลายเปน drew และ see กลายเปน saw เมื่อ
เปนอดีตกาล เพราะ /i:/ → /əʊ/ , / ɔ:/→ /u:/, / i:/ →/ ɔ: / ตามลําดับ
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                        96




7.7   แบบฝกหัดวิเคราะหหนวยคํา

1.    ตัวอยางจากภาษา Tuvaluan (Polynesian) (จาก Finegan 1994)
      จงพิจารณาขอมูลทางภาษา และหาหนวยคําแสดงกริยาพหูพจน
                กริยาเอกพจน         กริยาพหูพจน         ความหมาย
         #1     kai                    kakai                    'eat'

         #2     mafuli                 mafufuli                 'turn around'

         #3     fepaki                 fepapaki                 'collide'

         #4    apulu                   apupulu                  'capsize'

         #5     nofo                   nonofo                   'stay'

         #6     maasei                 maasesei                 'bad'

         #7    takato                  takakato                 'lie down'

         #8     valean                 valelea                  'stupid'

2.    ตัวอยางจากภาษา Michoacan Aztec (Mexico) (จาก กมลา นาคะศิริ 2541a)
      จงวิเคราะหขอมูลภาษา
         #1     nimoita                'I see myself'

         #2     nimichita              'I see you'

         #3     nikita                 'I see him'

         #4     tinečta                'You see me'

         #5     timoita                    'You see yourself'

         #6     tikita                     'You see him'

         #7     nimoaniltia            'I dirty myself'

         #8     nimicaniltia               'I dirty you'

         #9     nikaniltia                 ' I dirty him'

         #10    tinečaniltia               'You dirty me'
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                                     97




          #11      timoaniltia                  'You dirty yourself'

          #12      tikaniltia                   'You dirty him'

3.     จงพิจารณาภาษา Tok Pisin (Finegan, 1999)
manmeri            ol                  wokabout                    long              rot.

People             they                stroll                      on                road

'People are strolling on the road.'

mi                 harim               toktok                      bilong            yupela

I                  listen              speech                      of                you [plural]

'I listen to your [plural] speech.'
mi               harim           toktok                            bilong            yu

I                  listen              speech                      of                you [singular]

'I listen to your [singular] speech.'

em        no       brata               em       ol        harim             toktok          bilong         mi.

he        and      brother             he       they      listen            speech          of             me

'He and his brother listen to my speech.'

mi        laikim             dispela            manmeri            long     rot.

I         like               these              people             on       road

'I like these people [who are] on the road.'

dispela            man       no        prend         bilong        mi       ol     laikim        dispela

this               man       and       friend        of            me       they     like        this

toktok.

speech

'This man and my friend like this speech.'
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                 98




        จงแปลประโยคตอไปนี้ เปนภาษา Tok Pisin
        1      These people like my speech.

        2      I am strolling on the road.

        3      I like my friend's speech.

        4      I like my brother and these people.

        5      These people on the road and my friend like his speech.

        6      You and my brother like the speech of these people.

        7      These people listen to my friend's and my brother's speech.

4.   ภาษาสมมุติ
     จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงพหูพจน

        #1     nibeci          'I fall.'       #5    nitlakwa         'I eat.'

        #2     tibeci           'You fall.'    #6    titlakwa         'You eat.'

        #3     nikoči           'I sleep.'     #7    ničuka           'I cry.'

        #4     tikoči           'You sleep.'   #8    tičuka           'You cry.'


5.   ภาษาสมมุติ
     จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงพหูพจนและหนวยคําแสดงอนาคต

        #1     patani       'He flies.'        #7    koniah     'They drink it.'

        #2     pina'wa      'He's ashamed.'    #8    weckas      'He will laugh.'

        #3     wecka        'He laughs'        #9    patanish    'He will fly.'

        #4     patanih      'They fly.'        #10   pina'was    'He will be ashamed.'

        #5     weckah       'They laugh.'      #11   koniash     'They will drink it.'

        #6     konia        'He drinks it.     #12   pina'wah    'They are ashamed.'
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                                   99




6.   ภาษาสมมุติ
     จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําสรรพนามแสดงเอกพจนบุรุษที่ 1 และ2

        #1      laulan 'I sing.'            #3         youn   'I drink.'

        #2      laulat     'You sing.'      #4         yout   'You drinh.'

7.   ภาษาสมมุติ
     จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'house' และหนวยคํา 'stool'

        #1      kincaq ٨           'my house'          #4     kint ٨ nc'           'my stool'

        #2      mincaq ٨           'your house'        #5     mint ٨ nc'           'your stool'

        #3      iscaq ٨                         'his house'   #6       ist ٨ nc'             'his stool'

     กําหนดให { tʌpaqaʔut} 'name' จงเขียนหนวยคํา my name, your name และ his name
     ของภาษาสมมุตินี้

8.   ภาษาสมมุติ
     จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาความหมายของหนวยคํา {ka-}, {-luʔ} {-du}

        #1      ñee                'foot'              #8     žigi                 'chin'

        #2      kañee              'feet'              #9     kažigi               'chins'

        #3      ñeebe              'his chin'          #10    žigibe               'his chin'

        #4      kañeebe            'his feet'          #11    žigilu               'your chin'

        #5      ñeelu              'your foot'         #12    kažigitu             'your chins'

        #6      kañeetu            'your feet'         #13    kažigidu             'our cins'

        #7      kañeedu            'our feet'
       กําหนดใหหนวยคํา     'ear' {diaga} จงสรางหนวยคําตอไปนี้ 'his ear', 'your ears', 'our
        ears'


9.   ภาษาสมมุติ
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                                100




      จากพิจารณาขอมูลทางภาษาตอไปนี้
           #1     k٨ye         'tree'                       #3    k٨yezi              'trees'
           #2     p٨k٨ye                  'It is a tree.'         #4        p٨k٨yezi            'They   are
trees.'

           กําหนดใหหนวยคํา {zike} 'shoulder' จงหาความหมายของ {p zikezi} , และ
           กําหนดใหหนวยคํา {bišoze} 'father' จงหาความหมายของ {bišozezi}

10.   ภาษาสมมุติ
      จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงหูพจน
           #1     fikas     'friend'                        #6    lenziet 'boys'
           #2     fikaset 'friends'                         #7    wala       'girl'
           #3     kumid 'stone'                             #8    walaet 'girls'
           #4     kumidet 'stones'                          #9    dibi       'man'
           #5     lenzi     'boy'                           #10   dibiet 'men'

11.   ภาษาสมมุติ
       จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'very'
           #1     bumato               'red'                #6    bumimato            'very red'

           #2     balazi               'strong'             #7    bamilazi            'very strong'

           #3     fusal                'nice'               #8    fumisal             ' very nice'

           #4     ganað                'good'               #9    gaminað             'very good'

           #5     payatok              'brave'              #10   pamiyatok           'very brave'

12.   ภาษาสมมุติ
      จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'my'
           #1     tugawko              'my chair'           #3    sidako              'my food'

           #2     bagasko              'my rice'            #4    sadamko             'my banana'

          กําหนดใหหนวยคํา {gözűn}       'eye' จงเขียนหนวยคํา 'my eye'
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                     101




13.   ภาษาสมมุติ
       จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'I', 'She', และ 'You'

        #1      badam              'I sit.'        #6    gagoz              'You climb.'

        #2      danam              'She speaks.' #7      badunlɔ            'I play.'

        #3      gatul              'You go.'       #8    dajowa             'She smiles.'

        #4      batani             'I cook.'       #9    gabana             'You drink.'

        #5      dale im            'She wants.'

14.   ภาษาสมมุติ
       จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงหาความหมายของหนวยคํา {ma-}, {pu-} และ {la-}

        #1      lalaga             'will sing'     #6    lagato             'will be sung'

        #2      manao              'He writes.'    #7    lapese             'will sweep'

        #3      punou              'She learns.'   #8    mavavi             'He travels.'

        #4      naoto              'wrote'         #9    puniwa             'She weaves.'

        #5      nouto              'learnt'


15.   ภาษาสมมุติ
      จงพิสูจน หนวยคํา {m-, n-, ŋ-} 'to be -ing'

        #1      mba      'is overtaking'           #7    ŋgun      'is climbing'

        #2      mpu      'is hiding'               #8    nlǽ       'is going'

        #3      mphe     'is sitting'              #9    nsun      'is sleeping'

        #4      mfɔ      'is breaking'             #10   nlo       'is fighting'

        #5      ŋkɔ      'is writing'              #11   ntз       'is speaking'

        #6      ŋwa      'is coming'               #12   ndin      'is painting'


16.   ภาษาสมมุติ
รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา                                                  102




       จงพิสูจน หนวยคํา {-na-} และ    {-ma-} '-ing'

        #1      pionatet         'firing'          #5     unmagok     'making'

        #2      temadeh          'eating'          #6   epanakon      'borrowing'

        #3      kimabat          'joining'         #7   bemadip       'stealing

        #4      tocinape         'putting'

17.   ภาษาสมมุติ
       จงพิสูจน หนวยคํา {-kї-} และ    {-nї-} 'can'


        #1      takїsa           'can die'         #5   sakїko        'can predict'

        #2      punїdi           'can play'        #6   irnїla        'can accept'

        #3      zukїɒ           'can hide'        #7     ǽkїθε               'can read'

        #4      kõnїb            'can break'       #8   wanїð         'can sing'

18.   ภาษาสมมุติ
       จากพิจารณาขอมูลทางภาษาตอไปนี้

        #1      fikas       'friend'               #4   fiθзkaset     'They are friends.'

        #2      fikaset     'friends'              #5   nefiθзkas     'Is he a friend?'

        #3      fiθзkas     'He is a friend.'      #6   nefiθзkaset   'Are they friends?'

      กําหนดใหหนวยคํา {žigit} 'lover'
      จงหาความหมายของหนวยคํา {nežiθзgit}
      จงหาหนวยคํา 'They are lovers.'

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson planBelinda Bow
 
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseสื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseComputer ITSWKJ
 
Present continuous tense
Present continuous tensePresent continuous tense
Present continuous tenseBen Benjawan
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food Nim Kotarak
 
12tenses
12tenses12tenses
12tensesmookpps
 
การอนุมาน หรือ Inference
การอนุมาน หรือ Inferenceการอนุมาน หรือ Inference
การอนุมาน หรือ InferenceAj Muu
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆGesso Hog'bk
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์Wilawun Wisanuvekin
 
Grade6 p6 weather(nature)
Grade6 p6 weather(nature)Grade6 p6 weather(nature)
Grade6 p6 weather(nature)Pat Chinpada
 
Unit 11 Sense Relations (2)
Unit 11   Sense Relations (2)Unit 11   Sense Relations (2)
Unit 11 Sense Relations (2)Ashwag Al Hamid
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)Suraiya Andris
 
บทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesบทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesKruthai Kidsdee
 
บทที่ 9 adverbs(1)
บทที่ 9 adverbs(1)บทที่ 9 adverbs(1)
บทที่ 9 adverbs(1)Kruthai Kidsdee
 

La actualidad más candente (20)

If Clause
If ClauseIf Clause
If Clause
 
Context clues
Context cluesContext clues
Context clues
 
Speaking lesson plan
Speaking lesson planSpeaking lesson plan
Speaking lesson plan
 
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clauseสื่อการสอนเรื่อง If-clause
สื่อการสอนเรื่อง If-clause
 
Present continuous tense
Present continuous tensePresent continuous tense
Present continuous tense
 
แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food แผนการสอน ป3 our food
แผนการสอน ป3 our food
 
Pinyin
PinyinPinyin
Pinyin
 
12tenses
12tenses12tenses
12tenses
 
การอนุมาน หรือ Inference
การอนุมาน หรือ Inferenceการอนุมาน หรือ Inference
การอนุมาน หรือ Inference
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆสรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
สรุปเรื่อง ตำแหน่งการเกิดเสียง และเสียงในตำแหน่งต่างๆ
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
Grade6 p6 weather(nature)
Grade6 p6 weather(nature)Grade6 p6 weather(nature)
Grade6 p6 weather(nature)
 
Unit 11 Sense Relations (2)
Unit 11   Sense Relations (2)Unit 11   Sense Relations (2)
Unit 11 Sense Relations (2)
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Morphology
MorphologyMorphology
Morphology
 
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
(การเปรียบเทียบขั้นกว่าและขั้นสูงสุด)
 
บทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesบทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessives
 
Adjektiivien vertailu
Adjektiivien vertailuAdjektiivien vertailu
Adjektiivien vertailu
 
บทที่ 9 adverbs(1)
บทที่ 9 adverbs(1)บทที่ 9 adverbs(1)
บทที่ 9 adverbs(1)
 

Destacado

Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
Meeting phoneme & phonetic transcription
Meeting phoneme & phonetic transcriptionMeeting phoneme & phonetic transcription
Meeting phoneme & phonetic transcriptionIOne Quadrat
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมkrupanida sornkheang
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดjibjoy_butsaya
 
Morphological process
Morphological processMorphological process
Morphological processGhozali Affan
 
Derivational and inflectional morphemes
Derivational and inflectional morphemesDerivational and inflectional morphemes
Derivational and inflectional morphemesDewi Maharani
 
Allophone and phoneme. persentation
Allophone and phoneme. persentationAllophone and phoneme. persentation
Allophone and phoneme. persentationDessy Restu Restu
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signskanpapruk
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (20)

Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 17+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
Meeting phoneme & phonetic transcription
Meeting phoneme & phonetic transcriptionMeeting phoneme & phonetic transcription
Meeting phoneme & phonetic transcription
 
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสมชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
ชุดฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนคำประสม
 
พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปดระบบเลขฐานสองฐานแปด
ระบบเลขฐานสองฐานแปด
 
Morphological process
Morphological processMorphological process
Morphological process
 
Derivational and inflectional morphemes
Derivational and inflectional morphemesDerivational and inflectional morphemes
Derivational and inflectional morphemes
 
Allophone
AllophoneAllophone
Allophone
 
Allophone and phoneme. persentation
Allophone and phoneme. persentationAllophone and phoneme. persentation
Allophone and phoneme. persentation
 
Phonemes and allophones
Phonemes and allophonesPhonemes and allophones
Phonemes and allophones
 
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
แบบฝึกทักษะที่  1  signsแบบฝึกทักษะที่  1  signs
แบบฝึกทักษะที่ 1 signs
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 

Similar a 1276933222 morpheme

สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษาsukuman139
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
Subject-verb agreement
Subject-verb agreementSubject-verb agreement
Subject-verb agreementLeeanittha
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำPiyarerk Bunkoson
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80Rose Banioki
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 

Similar a 1276933222 morpheme (20)

สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
Subject-verb agreement
Subject-verb agreementSubject-verb agreement
Subject-verb agreement
 
Context clues
Context cluesContext clues
Context clues
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
ใบความรู้ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
Report
ReportReport
Report
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01+บาลีไวยกรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
บาลี 01 80
บาลี 01 80บาลี 01 80
บาลี 01 80
 
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
1 01 บาลีไวยกรณ์ สมัญญาภิธานและสนธิ
 

1276933222 morpheme

  • 1. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 86 บทที่ 7 รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 7.1 รูป [Form/ Morph] หนวยพื้นฐานที่เล็กที่สุดที่เปนองคประกอบของภาษา คือ หนวยเสียง [phoneme] โดยคําจํากัดความแลว หนวยเสียงไมมีความหมาย แตอาจนํามาซึ่งการเปลี่ยนแปลงของ ความหมายหนวยเสียงในภาษามักจะรวมตัวกัน และอาจจะเกิดขึ้นซ้ําแลวซ้ําเลา ตราบที่มนุษยยัง ใชภาษาพูดในการติดตอสื่อสารกัน ในทางภาษาศาสตร เมื่อใดก็ตามที่ปรากฏหนวยเสียงรวมตัว กัน เราเรียกกลุมของหนวยเสียงเหลานั้นวา "รูป" (ซึ่งมาจากคําในภาษาอังกฤษวา form หรือ morph) รูปที่กลาวถึงนี้อาจมีความหมายหรือไมก็ได เชน [kankrai] "กรรไกร" จากหนวยเสียงที่ เรียงติดตอกัน เมื่อเราตัดแบงออกเปนรูป 2 รูปไดแก kan + krai และ kank + rai ซึ่งไมวาเราจะ ตัดแบงหนวยเสียงที่เรียงตัวกันแบบแรกหรือแบบหลังสวนของหนวยเสียงที่ตัดแบงออกมานั้น จะ เรียกวา "รูป" [Delbridge and Bernard, 1966 : 83-93] นักภาษาศาสตรไมไดใหความสนใจรูปทุกรูป แตจะเลือกศึกษาเฉพาะรูปที่มี ความสัมพันธหรือมีความสําคัญ หรือมีสวนเกี่ยวของกับระบบภาษาเทานั้น ซึ่งหมายความวา นักภาษาศาสตรจะศึกษาเฉพารูปที่มีความหมายเทานั้น 7.2 คํา [Word] คํา หรือ word คือ หนวยอิสระที่เล็กที่สุดที่มีความหมาย ดังนั้นจากคํานิยามนี้ หนวยใดๆจะเปนคําได จะตองมีคุณสมบัติครบทั้งสามประการคือ 1. อยูเปนอิสระได 2. เล็กที่สุด แบงแยกใหเล็กลงเปนหนวยอิสระไมได 3. มีความหมาย เราจึงสรุปไดวา 'dis-' ในคํา dislike ไมใชคํา เพราะอยูเปนอิสระไมได (แมวาจะเล็กที่สุด และมีความหมาย) 'bird' เปนคํา เพราะอยูเปนอิสระได เล็กที่สุด และมีความหมาย
  • 2. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 87 '-ed' ใน talked ไมใชคํา เพราะอยูเปนอิสระไมได (แมวาจะเล็กที่สุด และมีความหมาย) 'wished' เปนคํา เพราะอยูเปนอิสระได และมีความหมาย ถาเราแยกเปน 'wish' กับ 'ed' จะพบวา '-ed' อยูโดยอิสระไมไดทําให 'ed' ตองอยูรวมกับ 'wish' ถาพิจารณาดาน การเกิดอิสระ เราถือวา 'wished' เปนหนวยที่เล็กที่สุดแลว เราไมสามารถแยก 'wish' กับ 'ed' ออก จากกันได ในภาษาหลายๆภาษา เชน ภาษาอังกฤษ ภาษามาเลย ฯลฯ ในการเขียนจะมีการ เวนวรรคระหวางคํา [juncture] ทําใหสังเกตคําไดงาย แตสําหรับภาษาที่เขียนโดยไมมีชองวาง ระหวางคํา เชน ภาษาไทย อาจมีปญหาบางในการสังเกตคํา เชน คํา "ลูกเสือ" [boyscout] เปนคํา เพราะถาเราแยกเปน ลูก และ เสือ เราจะไมไดความหมายเดิมวา boyscout เราจึงถือวา "ลูกเสือ" ที่ แปลวา boyscout เปนหนวยที่เล็กที่สุด ที่แบงแยกลงไปไมไดแลว และถือวาเปน 1 คํา 7.3 หนวยคํา [Morpheme] "หนวยคํา" หรือ morpheme คือ หนวยที่เล็กที่สุดในภาษาที่มีความหมาย จะอยู เปนอิสระไดหรือไมไดก็ได ดังนั้นขอแตกตางระหวางคําและหนวยคําที่สําคัญที่สุดก็คือการที่ หนวยคําสามารถอยูเปนอิสระไดหรือไมไดก็ได แตคําตองสามารถเปนอิสระไดเทานั้น ในกรณีที่ หนวยใดๆ เปนหนวยคําอิสระ หนวยคํานั้นก็สามารถเปนคําไดดวย 'dis' ใน 'dislike' เปนหนวยคํา แตไมเปนคํา เพราะไมสามารถปรากฏลําพังได 'bird' เปนหนวยคําอิสระ และเปนคําดวย 'ed' ใน 'wished' เปนหนวยคํา แตไมเปนคํา เพราะไมสามารถปรากฏลําพังได 'wished' เปนคําเดียว ประกอบดวย 2 หนวยคํา 'saw' เปนคําเดียว ประกอบดวย 2 หนวยคํา เพราะเปนหนวยคํา see รวมกับหนวย คําบอกอดีตกาล [past tense] แตบังเอิญวาเปนหนวยคําที่เมื่อเติมแลวไมปรากฏรูปใหเห็น หนวยคําเปนองคประกอบของคํา คําบางคําประกอบดวยหนวยคํา 1 หนวย บาง คําก็ประกอบดวยหนวยคํามากกวา 1 หนวย ดังตัวอยางตอไปนี้ quickly ประกอบดวย 2 หนวยคําคือ quick + ly play ประกอบดวย 1 หนวยคําคือ play player ประกอบดวย 2 หนวยคําคือ play + er players ประกอบดวย 3 หนวยคําคือ play + er + s softening ประกอบดวย 3 หนวยคําคือ soft + en + ing
  • 3. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 88 ungentlemanliness ประกอบดวย 5 หนวยคําคือ un + gentle + man+ly + ness สํ า หรั บ กลุ ม พร า ก [Prague]ซึ่ ง เป น กลุ ม โครงสร า งรุ น แรก ยั ง พิ จ ารณา ความสั ม พัน ธ ระหว า งหน ว ยคํ า และหนว ยเสี ย ง และเรีย กความสัมพั น ธดั ง กลา ววา 'morphophonemics' หรือ 'morphophology' นั่นคือพิจารณาวาหนวยเสียงใดบางจะมีหนาที่เปน หนวยคําใหพิจารณาจากการรวมกลุมของสวนยอยแสดงหนวยคําหรือเรียกวา morph เชน ในคํา 'girls' ประกอบดวย 5 หนวยเสียง คือ [g-з:-r-l-z] ซึ่งเมื่อพิจารณาสวนยอยแสดงหนวยคําหรือ morph แลวจัดได 2 สวนคือ [gз:rl] และ [z] ตอไปจึงพิจารณาใหสวนยอยแสดงหนวยคํานี้เปน 2 หนวยคํา คือ {gз:rl} และ {z} (ใหสังเกตการใชเครื่องหมายวงเล็บที่แตกตางกันดวย) สวน Leonard Bloomfield นักภาษาศาสตรในกลุมโครงสราง ไดใหคํานามวา "หนวยคํา คือ คือหนวยเสียง 1 หนวยเสียงหรือมากกวา 1 หนวยเสียงขึ้นไปที่มีการจัดรูปแบบ เฉพาะ" และเขายังกลาวไววา ภาษาแตกตางกันที่ระบบหนวยคํามากกวาที่จะแตกตางกันที่ระบบ วากยสัมพันธเสียอีกปญหาสําคัญในการศึกษาเรื่องความหมายในระบบหนวยคําในภาษาใดภาษา หนึ่ง จึงมีอยางนอยที่สุด 3 ขั้นตอน คือ 1. เนนการเรียนรูที่จะตัดคําออกเปนสวนๆ รูวาสวนใดเปนหนวยคําประเภทใด หรืออีกนัยหนึ่ง รูวาขอบเขตของหนวยคําสิ้นสุดที่ใด รวมทั้งรูกฎเกณฑตางๆ ที่ตองใชเมื่อหนวยคํา สองหนวยคําอยูติดกัน 2. แตละหนวยคํา มีความหมายอยางไร 3. หนวยคําใดเปนหนวยคําสําคัญ ที่ทําหนาที่เปนหลักใหหนวยคําอื่นมาเกาะ ในทางภาษาศาสตร สัญลักษณที่ใชแสดงหนวยคํา คือวงเล็บปกกา { } ดังนั้น ถาเราจะเขียนหนวยคํา "กระดาษ" จะเขียนเปนสัญลักษณดังนี้ {kradàat} 7.4 ประเภทของหนวยคํา เราสามารถแบงหนวยคําออกเปนชนิดตางๆไดหลายวิธี เชน จําแนกตามความเปน อิสระและไมอิสระ และจําแนกตามหนาที่
  • 4. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 89 7.4.1.ชนิดของหนวยคําจําแนกตามความเปนอิสระหรือไมอิสระ 1. หนวยคําอิสระ [free morpheme] คือ หนวยคําที่เกิดตามลําพังได หรือ สามารถนําไปใชเปนคําโดยไมตองเปลี่ยนรูป ในภาษาไทย เชน นก บาน สวย ในภาษาอังกฤษ เชน home person cat หนวยคําอิสระในภาษาสวนใหญมักเปนสวนสําคัญหรือแกนของคํา ซึ่ง เรียกวา รากศัพท หรือ ธาตุ [root] เชน bean ใน beans, slow ใน slowly, use ใน useful เปนตน ในกรณีที่หนวยคําอิสระ 1 หนวยคําขึ้นไปเปนฐานของคําใหหนวยคําอื่น มาเกาะ เราเรียกสวนของคํานี้วา ตนเคาศัพท [stem] เชน man ใน manly, friend ใน friends, bookstore ใน bookstores ในสองคําแรกตนเคาศัพทประกอบดวยรากศัพท 1 คํา แตใน bookstores ตนเคาศัพทประกอบดวยรากศัพท 2 คํา 2. หนวยคําไมอิสระ หรือบางครั้งเรียกวาหนวยคําผูกพัน [bound morpheme] คือ หนวยคําที่ไมสามารถปรากฏตามลําพังได ตองเกาะอยูกับหนวยคําอื่น หนวยคําเติม [affix] ทั้งหลายมักเปนหนวยคําไมอิสระ เชน หนวยคําเติมหนา [prefix] หนวยคําเติมกลาง [infix] และ หนวยคําเติมทาย [suffx] ในภาษาสวนใหญ หนวยคําไมอิสระมักรวมตัวกันหรือรวมกับหนวยคํา อิสระกลายเปนสวนสําคัญของคํา เรียกวา ตนเคาศัพท [stem] เชน re-ceive, con-cept, ab-norm, dis-gust ในคําวา receives, conceptual, abnormal, disgusted เปนตน - หนวยคําเติมหนา หรือ อุปสรรค [prefix] คือหนวยคําที่เติมขางหนา หนวยคําอื่น เชน un- ในภาษาอังกฤษ ในคําวา unhappy, untidy, unimportant, unreleased การ- ในภาษาไทย ในคําวา การบาน การเมือง การชุมนุม การประทวง เปนตน - หนวยคําเติมกลาง หรือ อาคม [infix] คือหนวยคําที่เติมที่กลางศัพท ในภาษาเขมร เชน /-am-/ ในคําวา ตํารวจ /tamruat/ (มาจาก ตรวจ /traut/) /-do-/ ในภาษา กรีกโบราณ ในคําวา /neo:ridos/ 'of a dockyard' มาจาก /neo:ris/ 'dockyard' เปนตน หนวยคําเติมกลาง หรืออาคม [infix] พบมากในภาษาเขมร เชน [trɔŋ] 'straight' → [tɔmrɔŋ] 'to straighten' [kaɤt] 'to be born' → [kɔmnaɤt] 'birth'
  • 5. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 90 - หนวยคําเติมทาย หรือ ปจจัย [suffix] คือ หนวยคําที่เติมทาย หนวยคําอื่น เชน -er ในภาษาอังกฤษ ในคําวา teacher, waiter, painter -กร ในภาษาไทย ในคํา วา จิตรกร กรรมกร พิธีกร วิทยากร ฆาตกร เปนตน นอกจากนี้ยังมีหนวยคําเติมครอมหนวยคําอื่น [circumfix] เชน ใน ภาษาเยอรมัน [German] ที่บอกความเปน past participle คือ ge - t ตัวอยางเชน lieb 'love' → geliebt 'loved' mach 'make' → gemacht 'made' ในบางกรณีหนวยคําไมอิสระก็ไมปรากฏรูปใหเห็นชัดเจนแยกออกมาจาก หนวยคําหลักตามตัวอยางขางตน แตกลับทําใหสระของหนวยคําหลักเปลี่ยนไป หนวยคําไม อิสระชนิดนี้เรียกวา simulfix พบมากในหลายภาษารวมทั้งในภาษาอังกฤษ เชน give + หนวยคําแสดง past tense กลายเปน gave foot + หนวยคําแสดงพหูพจน กลายเปน feet 7.4.2. ชนิดของหนวยคําจําแนกตามหนาที่ หนวยคําทําหนาที่ทางไวยากรณตางกัน เชนแปลงคําใหเปนอีกชนิดหนึ่ง หรือผันใหมีความสัมพันธกับคําอื่นๆได เราจึงสามารถแบงประเภทของหนวยคําตามหนาที่ ไดดังนี้ 1. หนวยคําแปลง [derivational morpheme] คือ หนวยคําที่ทําหนาที่แปลงคํา ชนิดหนึ่งใหเปนอีกชนิดหนึ่ง เชน -ness แปลงคําวา lonely, dark, sad ซึ่งเปน adjective ใหเปน loneliness, darkness, sadness ซึ่งเปน noun หรือแปลงคําที่มีความหมายหนึ่งเปนอีกความหมาย หนึ่งซึ่งเกี่ยวของกัน เชน im- ใน impossible, impolite, immodest re- ใน replay, rewind, rewrite เปนตน 2. หนวยคําวิภัตติปจจัย [inflectional morpheme] คือ หนวยคําที่เติมเขาไปที่ หนวยคําที่เปนรากศัพท [root] หรือศัพทตนเคา [stem] เพื่อทําใหเกิดคําที่สามารถปรากฏใน ประโยคและมีความสัมพันธทางไวยากรณกับคําอื่นๆ ไดอยางถูกตอง หนวยคําประเภทนี้อยูในรูป หนวยคําเติมประเภทตางๆ เชน หนวยคําพหูพจน หนวยคําอดีตกาล หนวยคําแสดงความเปน เจาของ ในภาษาอังกฤษ ในคําวา houses, visited, man's ตามลําดับ ภาษาที่มีหนวยคําประเภทนี้จํานวนมาก หรือใชหนวยคําประเภทนี้แสดง ความสัมพันธทางไวยากรณเปนหลัก เรียกวา ภาษาวิภัตติปจจัย [inflectional language] ไดแก ภาษาตระกูลอินโด ยูโรเปยน [Indo-European Language Family]
  • 6. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 91 7.5 หนวยตางๆที่เกี่ยวของกับหนวยคํา 7.5.1 หนวยคํายอย [allomorph] หนวยคํายอย คือรูปตางๆของหนวยคํา ซึ่งปรากฏในสิ่งแวดลอมที่อธิบาย ได [Gleason 1955 : 61] หนวยคําพหูพจนที่เติมทายคํานามในภาษาอังกฤษมีหลายหนวยคํายอย (หมายความวาออกเสียงไดหลายแบบ แตความหมายเดียวกัน) ไดแก /-s/ ในคําเชน hats, /-z/ ในคําเชน dogs, /Iz-əz/ ในคําเชน churches รูปทั้งสามรูปนี้เปนหนวยคํายอยของหนวยคํา เดียวกัน คือหนวยคําพหูพจนของคํานามในภาษาอังกฤษ เราสามารถอธิบายไดวา ในสิ่งแวดลอม ใดรูปใดจะปรากฏ กลาวคือ รูป /əz/ หรือ /Iz/ จะปรากฏหลังนามที่ลงทายดวยเสียงเสียดแทรก /s/, /z/, / /, / /, / /, / / รูป /s/ ปรากฏทายคํานามที่ลงทายดวยเสียงอโฆษะ [voiceless] อื่นๆ สวนรูป /z/ ปรากฏทายคํานามที่ลงทายดวยเสียงโฆษะ [voiced] ที่เหลือ หนวยคํายอย ประเภทนี้เปน หนวยคํายอยที่มีเงื่อนไขทางเสียง [phonologically conditioned allomorph] 7.5.2 หนวยศัพท [Lexeme] หนวยศัพท หมายถึง หนวยพื้นฐานดานศัพท หนวยศัพทซึ่งเปนชุดกับ หนวยเสียง [phoneme] หนวยคํา [morpheme] หนวยศัพทเปนหนวยนามธรรมของคํา เชน cry, cries, crying, cried นับเปน 4 คํา แตรวมเปน 1 หนวยศัพทเทานั้นคือ CRY คําวา tooth, teeth เปน 2 คํา (เอกพจน และพหูพจน) ของหนวยศัพท TOOTH เราสามารถกลาวไดวา หนวยศัพท CRY เปนคํากริยา และหนวยศัพท TOOTH เปนคํานาม ในภาษาไทย หนวยศัพทกับคํามีรูป เหมือนกันเพราะภาษาไทยไมมีวิภัตติปจจัย แตเราอาจถือวา คําวา คะ กับ คะ นาจะเปนหนวย ศัพทเดียวกัน 7.5.3 คําประสม หรือคําผสม [Compound word] คําประสม หรือคําผสม คือคําที่ประกอบดวยหนวยคําอิสระ 2 หนวยคํา ขึ้นไป เชน แมน้ํา พิมพดีด เปลี่ยนแปลง ตูเย็น, aircraft waterfall housewife เปนตน คําประสม หรือคําผสมมีความหมายเฉพาะตัวที่ไมตรงกับความหมายของทั้ง 2 หนวยคํานัก แตมีเคาอยูบาง เชน แม ใน แมน้ํา ไมไดหมายถึง "แม" แตหมายถึง "ใหญ", "สําคัญ" ซึ่งเปนลักษณะหนึ่งของคําวา แม
  • 7. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 92 เกณฑในการดูคําประสม หรือคําผสม 1 เกณฑการแทนที่ [substitution] ถาเปนคําประสมแลว ไม สามารถแยกโดยนําคําอื่นไปแทนที่ไมวาในตําแหนงใด เชน cold feet "กลัว” ถาเราทดลองใชเกณฑ การแทนที่ โดยนําคําวา hot ไปแทน cold เปน hot feet ซึ่งแปลวา เทารอน ก็จะกลายเปนนามวลี [noun phrase] แทน หรือ ประโยคทักทายในภาษาอังกฤษวา 'Good day' ก็ไมสามารถเปลี่ยนเปน 'Excellent day' หรือ 'Bad day' ที่ใชในการทักทายได 2 เกณฑการเพิ่มสวนขยายไมได คําประสมหรือคําผสม ไมเหมือน นามวลีและไมเหมือนวลีชนิดอื่นๆ วลีอาจมีคําขยายเติมเขาไป และทําใหความหมายเกิดเปน ความหมายของวลีนั้นบวกความหมายของคําสวนขยายที่มาเติม เชน green house → very green house (ขอใหสังเกตการณลงเสียงเนนหนักในนามวลี เสียงเนนหนักที่สุดจะลงที่นามตัวหลัง เสียง เนนหนักที่สองจะลงที่นามตัวแรก แตถาเปนคําประสม เสียงเนนหนักที่สุดจะลงที่นามตัวแรก เสียง เนนหนักที่สามจะลงที่นามตัวหลัง เชน greenhouse "เรือนกระจก") คําประสมหรือคําผสมเปนจํานวนมากที่มีคําสวนขยายมาเติม ไมไดถาเติมไดก็จะทําใหความหมายเปลี่ยนไป เชน "red handed' (แปลวาทําความผิดแลวถูกจับ ไดอยางคาหนังคาเขา) → *very red handed ไมได 3 เกณฑทางความหมาย คําประสมหรือคําผสมเปนคําคําเดียวที่มี ความหมายจําเพาะพิเศษ ในภาษาอังกฤษ เชน คําวา sister-in-law (พี่/นองสะใภ), jack-in-the- box (ตุกตามีสปริงที่อัดไวกลอง พอเปดฝาตุกตาจะเดงออกมา), half sister (พี่สาว หรือนองสาวที่ มีพอหรือแมคนเดียวกัน), passers-by (คนที่ผานไปมาหลายคน) (ที่มา : สุริยา รัตนกุล : 2544 : 175-179) 7.5.4 คําประสานหรือคําผสาน [Complex word] คําประสาน หรือคําผสาน คือ คําที่ประกอบดวยหนวยคําอิสระกับหนวย คําไมอิสระ ภาษาอังกฤษมีคําประเภทนี้มากและสรางคําโดยใชหนวยคําเติม [affix] ทําใหเกิดคํา ประสาน หรือคําผสาน เชน beautiful [beauty + ful], happiness [happy + ness], incorrect [in + corret], education [educate + ation] เปนตน 7.6 การวิเคราะหหนวยคํา การวิเคราะหหนวยคํา คือการระบุวาในขอมูลภาษาตางๆ ที่วิเคราะหมีหนวยคํา อะไรบาง หรือหมายถึงการแยกขอมูลคําเปนหนวยคํานั่นเอง ในการวิเคราะหหนวยคําตองยึดหลัก ดังนี้
  • 8. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 93 1. ความหมายเหมือนและรูปเหมือน คํา หรือสวนของคํา ที่มีความหมายเหมือนกัน และมีรูปเหมือนกันทุกที่ ที่ปรากฏ ใหถือวารูปเหลานั้นเปนหนวยคําเดียวกัน คือเปน 1 หนวยคําหรือหนวยคํายอยของ หนวยคําเดียวตัวอยางเชน -ess ซึ่งปรากฏทายคําวา hostess, actress, waitress etc. ถือเปน 1 หนวยคํา เพราะมีความหมายเหมือนกันคือบอก "เพศ" โปรดสังเกต ที่กลาววา "มีรูปเหมือนกัน" หมายถึง "ออกเสียงเหมือนกัน" (ไมใช สะกดเหมือนกัน) 2. ความหมายเหมือนและรูปคลายกัน คํา หรือสวนของคํา ที่มีความหมายเหมือนกัน และมีรูปทางเสียงคลายกัน คือแตกตางกันเล็กนอย และความแตกตางนั้นสามารถอธิบายไดตามระบบเสียง [phonologically conditioned feature] ใหถือวารูปที่แตกตางกันเล็กนอยนั้นเปนหนวยคําเดียวกัน คือเปน 1 หนวยคํา อีกนัยหนึ่ง ถาเราสามารถอธิบายเงื่อนไขทางเสียงของการปรากฏของรูปตางๆ ที่มี ความหมายเหมือนกันไดใหถือวารูปเหลานั้นเปนหนวยคํายอย [allomorph] ของหนวยคํา [morpheme] เดียวกัน ตัวอยางเชน ในคําภาษาอังกฤษตอไปนี้ im- (/im-/) ในคํา immortal, impossible, impolite in- (/-in/) ในคํา intolerant, intangible, indecent ir- (/ir-/) ในคํา irrelevant, irregular, irreplaceable il- (/il-/) ในคํา illegal, illiterate, illogical รูปที่ปรากฏ /im-, in-, ir-, il-/ เปนรูปทางเสียงที่มีความแตกตางกัน เล็กนอย แตมีความหมายที่เหมือนกัน ซึ่งแปลวา "ไม” เราสามารถอธิบายความแตกตางตามระบบ เสียงไดดังนี้ - รูป /im-/ เกิดหนาเสียงริมฝปาก [occurs before bilabial sounds] - รูป /in-/ เกิดหนาเสียงปุมเหงือก [occurs before alveolar sounds] - รูป /ir-/ เกิดหนาเสียงลิ้นสะบัด [occurs before flap sounds] - รูป /il-/ เกิดหนาเสียงขางลิ้น [occurs before lateral sounds] รูปทั้งสามนี้ เกิดสับหลีกกัน [complentary distribution] และถือวาเปนหนวยคํา ยอย [allomorphs] ของหนวยคํา [morpheme] เดียวกัน อนึ่ง การที่เรากลาววา การเกิดของหนวยคํายอยสามารถอธิบายไดตามระบบ เสียงหมายความวา เราสามารถระบุการปรากฏของรูปเหลานั้นดวยกระบวนการทางเสียงนั่นเอง
  • 9. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 94 หนวยคํายอยประเภทนี้เรียกวา หนวยคํายอยที่มีเงื่อนไขทางเสียง [phonologically condition morpheme] 3. ความหมายเหมือนแตรูปตาง คํา หรือสวนของคําใดที่มีความหมายเหมือนกัน แตมีรูปทางเสียงที่ ตางกัน และการปรากฏของรูปที่แตกตางเหลานี้ ไมสามารถอธิบายไดตามระบบเสียง แตสามารถ ใชลักษณะบังคับทางคํา [morphologically conditioned feature] มาเปนเกณฑพิสูจนได ใหถือวา รูปเหลานั้นเปนหนวยคํายอย [allomorph] ของหนวยคํา [morpheme] เดียวกัน ตัวอยางในคํา ภาษาอังกฤษที่เปลี่ยนจากคํานามเอกพจน เปนพหูพจน เชน ox → oxen child → children 4. ความหมายคลายและรูปเหมือน หมายความวา รูปใดก็ตามที่ปรากฏซ้ําๆ และเหมือนกันทุกประการ หรือ ที่เราเรียกวา "พองเสียง" จะถือเปนหนวยคําเดียวกันก็ตอเมื่อมีความหมายคลายกัน หรือใกลเคียง กัน หรือ เกี่ยวของกัน เชน They run, Their run, The run in their stocking ควรถือเปน หนวยคําเดียวกัน แตคําวา sun กับ son ไมใชหนวยคําเดียวกันทั้งๆที่มีรูปทางเสียงเหมือนกัน เพราะความหมายตางกัน การใชหลักขอนี้ตัดสินวาอะไรเปนหนวยคําเดียวกันหรือไม มีปญหาเสมอ ไมวาจะวิเคราะหภาษาใด เพราะเปนเรื่องยากที่จะตัดสินวาความหมายคลายกันหรือไม ถาคลาย จะคลายกันพอที่จะถือวาเปนหนวยคําเดียวกันหรือไม เชน He picks the pen under his chair. กับ He picks me up.เปนตน ปญหาในการวิเคราะหหนวยคํา ถึงแมจะมีหลักในการวิเคราะหหนวยคําดังกลาวขางตน แตเราอาจ ประสบปญหาดังนี้ 1 ในคําบางคํา เราสามารถระบุบางสวนเปนหนวยคําไดโดยงาย เพราะ ปรากฏรูปซ้ําๆกันและมีรูปเหมือนกัน เชน berry ในคํา cranberry, raspberry แตในสวนที่เหลือ คือ cran, rasp ไมพบวาไปปรากฏที่อื่นเลย และเราไมทราบดวยวาหมายความวาอะไร จึงยากที่จะ ตัดสินใจใหเปนหนวยคําตามหลักที่กลาวมาขางตน อยางไรก็ตามนักภาษาศาสตรบางคน เชน ยู จีน เอ ไนดา [Eugene A. Nida 1946] ถือวาสวนที่เหลือคือ cran, rasp เปนหนวยคํา ถึงแมจะไมมี ความหมาย
  • 10. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 95 2. สวนประกอบของคําที่ปรากฏซ้ําในคําจํานวนมาก ดูเหมือนเปนหนวยคํา เชน นา ในคํา นาฬิกา นารี นายก นาวา และ -er ในคํา hammer, ladder, hadger, under, bitter, Roger เมื่อเราแยกหนวยคํา นา กับ -er ออกมา ปญหาที่พบคือสวนที่เหลือไมมีความหมายรวมกันเลย ดังนั้นเราไมควรแยก นา และ -er 3. เสียงที่ฟงดูมีความหมาย เชน /sl-/ ในคํา slide, slush, slip, slime, slopper, slick อาจถูกแยกเปนหนวยคําสําหรับบางคน ถาเราทําเชนนั้นจะเกิดปญหาวา หนวยคํา /sl-/ มี ความหมายวาอยางไร และสวนที่เหลือก็ไมมีความหมายเชนกัน วิธีที่ปลอดภัยคือ เราไมควรแยก เปนหนวยคํา 4. ถาเรายอมรับความคิดวา ภาษามีหนวยคํา และคําทุกคําประกอบดวย หนวยคําอยางนอย 1 หนวย เราอาจมีปญหาเมื่อหนวยคําไมปรากฏรูปในที่ที่ควรปรากฏ เชน ใน ภาษาอังกฤษมีการแยกความแตกตางระหวางเอกพจนและพหูพจน หนวยคําแสดงพหูพจนไมมี ปญหาเพราะเรามองเห็นรูปเชน girls, bats, boys แตคําวา girl, bat, boy ที่เปนเอกพจนไมมี หนวยคําแสดงเอกพจน แตมีความหมายเปนเอกพจนอยูในคํา มีผูหาทางออกใหกับปญหานี้คือ ให หนวยคําเอกพจน = ø คือเปนหนวยไรรูป ถึงจะดูไมสมเหตุสมผลนัก แตก็ทําใหการวิเคราะหเปน ระบบขึ้น 5. ในบางกรณีเราพบหนวยคําที่ไมธรรมดา กลาวคือไมใชหนวยคําที่เติมเขากับ หนวยคําอื่น แลวคงรูปใหเห็นชัดเจน ในภาษาอังกฤษ เชน ในคํา spoke, drew, saw เราดูจาก ความหมายแลว จะตองใหคํานี้ประกอบดวย 2 หนวยคํา หนวยคําหนึ่งคือ หนวยคําแสดงอดีตกาล เมื่อเทียบกับ speak, draw, see ซึ่งมีความหมายเปนปจจุบัน แตเราไมสามารถตัดแยกหนวยคํา อดีตกาลออกจากคําทั้งสามได ทางออกของนักวิทยาหนวยคํา คือ สรางชนิดของหนวยคําแทนที่ขึ้น เพื่อใชอธิบายการที่ speak กลายเปน spoke, draw กลายเปน drew และ see กลายเปน saw เมื่อ เปนอดีตกาล เพราะ /i:/ → /əʊ/ , / ɔ:/→ /u:/, / i:/ →/ ɔ: / ตามลําดับ
  • 11. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 96 7.7 แบบฝกหัดวิเคราะหหนวยคํา 1. ตัวอยางจากภาษา Tuvaluan (Polynesian) (จาก Finegan 1994) จงพิจารณาขอมูลทางภาษา และหาหนวยคําแสดงกริยาพหูพจน กริยาเอกพจน กริยาพหูพจน ความหมาย #1 kai kakai 'eat' #2 mafuli mafufuli 'turn around' #3 fepaki fepapaki 'collide' #4 apulu apupulu 'capsize' #5 nofo nonofo 'stay' #6 maasei maasesei 'bad' #7 takato takakato 'lie down' #8 valean valelea 'stupid' 2. ตัวอยางจากภาษา Michoacan Aztec (Mexico) (จาก กมลา นาคะศิริ 2541a) จงวิเคราะหขอมูลภาษา #1 nimoita 'I see myself' #2 nimichita 'I see you' #3 nikita 'I see him' #4 tinečta 'You see me' #5 timoita 'You see yourself' #6 tikita 'You see him' #7 nimoaniltia 'I dirty myself' #8 nimicaniltia 'I dirty you' #9 nikaniltia ' I dirty him' #10 tinečaniltia 'You dirty me'
  • 12. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 97 #11 timoaniltia 'You dirty yourself' #12 tikaniltia 'You dirty him' 3. จงพิจารณาภาษา Tok Pisin (Finegan, 1999) manmeri ol wokabout long rot. People they stroll on road 'People are strolling on the road.' mi harim toktok bilong yupela I listen speech of you [plural] 'I listen to your [plural] speech.' mi harim toktok bilong yu I listen speech of you [singular] 'I listen to your [singular] speech.' em no brata em ol harim toktok bilong mi. he and brother he they listen speech of me 'He and his brother listen to my speech.' mi laikim dispela manmeri long rot. I like these people on road 'I like these people [who are] on the road.' dispela man no prend bilong mi ol laikim dispela this man and friend of me they like this toktok. speech 'This man and my friend like this speech.'
  • 13. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 98 จงแปลประโยคตอไปนี้ เปนภาษา Tok Pisin 1 These people like my speech. 2 I am strolling on the road. 3 I like my friend's speech. 4 I like my brother and these people. 5 These people on the road and my friend like his speech. 6 You and my brother like the speech of these people. 7 These people listen to my friend's and my brother's speech. 4. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงพหูพจน #1 nibeci 'I fall.' #5 nitlakwa 'I eat.' #2 tibeci 'You fall.' #6 titlakwa 'You eat.' #3 nikoči 'I sleep.' #7 ničuka 'I cry.' #4 tikoči 'You sleep.' #8 tičuka 'You cry.' 5. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงพหูพจนและหนวยคําแสดงอนาคต #1 patani 'He flies.' #7 koniah 'They drink it.' #2 pina'wa 'He's ashamed.' #8 weckas 'He will laugh.' #3 wecka 'He laughs' #9 patanish 'He will fly.' #4 patanih 'They fly.' #10 pina'was 'He will be ashamed.' #5 weckah 'They laugh.' #11 koniash 'They will drink it.' #6 konia 'He drinks it. #12 pina'wah 'They are ashamed.'
  • 14. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 99 6. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําสรรพนามแสดงเอกพจนบุรุษที่ 1 และ2 #1 laulan 'I sing.' #3 youn 'I drink.' #2 laulat 'You sing.' #4 yout 'You drinh.' 7. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'house' และหนวยคํา 'stool' #1 kincaq ٨ 'my house' #4 kint ٨ nc' 'my stool' #2 mincaq ٨ 'your house' #5 mint ٨ nc' 'your stool' #3 iscaq ٨ 'his house' #6 ist ٨ nc' 'his stool' กําหนดให { tʌpaqaʔut} 'name' จงเขียนหนวยคํา my name, your name และ his name ของภาษาสมมุตินี้ 8. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาความหมายของหนวยคํา {ka-}, {-luʔ} {-du} #1 ñee 'foot' #8 žigi 'chin' #2 kañee 'feet' #9 kažigi 'chins' #3 ñeebe 'his chin' #10 žigibe 'his chin' #4 kañeebe 'his feet' #11 žigilu 'your chin' #5 ñeelu 'your foot' #12 kažigitu 'your chins' #6 kañeetu 'your feet' #13 kažigidu 'our cins' #7 kañeedu 'our feet' กําหนดใหหนวยคํา 'ear' {diaga} จงสรางหนวยคําตอไปนี้ 'his ear', 'your ears', 'our ears' 9. ภาษาสมมุติ
  • 15. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 100 จากพิจารณาขอมูลทางภาษาตอไปนี้ #1 k٨ye 'tree' #3 k٨yezi 'trees' #2 p٨k٨ye 'It is a tree.' #4 p٨k٨yezi 'They are trees.' กําหนดใหหนวยคํา {zike} 'shoulder' จงหาความหมายของ {p zikezi} , และ กําหนดใหหนวยคํา {bišoze} 'father' จงหาความหมายของ {bišozezi} 10. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคําแสดงหูพจน #1 fikas 'friend' #6 lenziet 'boys' #2 fikaset 'friends' #7 wala 'girl' #3 kumid 'stone' #8 walaet 'girls' #4 kumidet 'stones' #9 dibi 'man' #5 lenzi 'boy' #10 dibiet 'men' 11. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'very' #1 bumato 'red' #6 bumimato 'very red' #2 balazi 'strong' #7 bamilazi 'very strong' #3 fusal 'nice' #8 fumisal ' very nice' #4 ganað 'good' #9 gaminað 'very good' #5 payatok 'brave' #10 pamiyatok 'very brave' 12. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'my' #1 tugawko 'my chair' #3 sidako 'my food' #2 bagasko 'my rice' #4 sadamko 'my banana' กําหนดใหหนวยคํา {gözűn} 'eye' จงเขียนหนวยคํา 'my eye'
  • 16. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 101 13. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงพิจารณาหาหนวยคํา 'I', 'She', และ 'You' #1 badam 'I sit.' #6 gagoz 'You climb.' #2 danam 'She speaks.' #7 badunlɔ 'I play.' #3 gatul 'You go.' #8 dajowa 'She smiles.' #4 batani 'I cook.' #9 gabana 'You drink.' #5 dale im 'She wants.' 14. ภาษาสมมุติ จากขอมูลทางภาษาตอไปนี้ จงหาความหมายของหนวยคํา {ma-}, {pu-} และ {la-} #1 lalaga 'will sing' #6 lagato 'will be sung' #2 manao 'He writes.' #7 lapese 'will sweep' #3 punou 'She learns.' #8 mavavi 'He travels.' #4 naoto 'wrote' #9 puniwa 'She weaves.' #5 nouto 'learnt' 15. ภาษาสมมุติ จงพิสูจน หนวยคํา {m-, n-, ŋ-} 'to be -ing' #1 mba 'is overtaking' #7 ŋgun 'is climbing' #2 mpu 'is hiding' #8 nlǽ 'is going' #3 mphe 'is sitting' #9 nsun 'is sleeping' #4 mfɔ 'is breaking' #10 nlo 'is fighting' #5 ŋkɔ 'is writing' #11 ntз 'is speaking' #6 ŋwa 'is coming' #12 ndin 'is painting' 16. ภาษาสมมุติ
  • 17. รูป คํา หนวยคํา และการวิเคราะหหนวยคํา 102 จงพิสูจน หนวยคํา {-na-} และ {-ma-} '-ing' #1 pionatet 'firing' #5 unmagok 'making' #2 temadeh 'eating' #6 epanakon 'borrowing' #3 kimabat 'joining' #7 bemadip 'stealing #4 tocinape 'putting' 17. ภาษาสมมุติ จงพิสูจน หนวยคํา {-kї-} และ {-nї-} 'can' #1 takїsa 'can die' #5 sakїko 'can predict' #2 punїdi 'can play' #6 irnїla 'can accept' #3 zukїɒ 'can hide' #7 ǽkїθε 'can read' #4 kõnїb 'can break' #8 wanїð 'can sing' 18. ภาษาสมมุติ จากพิจารณาขอมูลทางภาษาตอไปนี้ #1 fikas 'friend' #4 fiθзkaset 'They are friends.' #2 fikaset 'friends' #5 nefiθзkas 'Is he a friend?' #3 fiθзkas 'He is a friend.' #6 nefiθзkaset 'Are they friends?' กําหนดใหหนวยคํา {žigit} 'lover' จงหาความหมายของหนวยคํา {nežiθзgit} จงหาหนวยคํา 'They are lovers.'