SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 6
Descargar para leer sin conexión
1
บทที่ 1
บทนา
ภูมิหลัง
การเขียนเป็นกระบวนการรวบรวมและจัดระเบียบความคิดของผู้ส่งสารโดยมีการถ่ายทอดสารที่
ต้องการสื่อผ่านทางการเขียนลงไปในกระดาษเพื่อสื่อสารกับผู้รับสารนั้นก็คือผู้อ่าน ในทักษะการเขียนจะมี
โอกาสสื่อสารผิดพลาดได้น้อยกว่าการพูด เพราะการเขียนสามารถแก้ไขจัดการเกี่ยวกับความคิดและสารที่
จะสื่อออกไปให้สมบรูณ์ได้ แต่การพูดผู้รับสารสามารถรับสารได้ทางน้าเสียง คาพูด และการแสดงออก
ทางใบหน้าของผู้พูดซึ่งเป็นการยากต่อการแก้ไข และทาให้เกิดการสื่อสารที่ผิดพลาดได้ทุกเมื่อ
(Wingersky, Boerner and Balogh. 1995 : 2) ความสามารถในการเขียนไดดีนั้นไม่ใช่เป็นทักษะที่
ไดมาโดยธรรมชาติแต่เป็นสิ่งที่ไดจากการเรียนรูหรือการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม โดยผ่านการฝึกฝนใน
สภาพหรือบริบทการเรียนแบบทางการ และทักษะการเขียนสามารถฝึกฝนและเรียนรูไดโดยผ่าน
ประสบการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศกระบวนการเขียนเป็นสิ่งที่
ยากและท้าทาย ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมที่กระตุ้นผู้เรียนโดยการใช้เรื่องราวที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง และ
เป็นที่น่าสนใจของผู้เรียนมาใช้ในการเขียนอย่างเช่น การเล่าเรื่องราวประกอบรูปภาพผ่านทางการเขียน
การติดต่อสื่อสารผ่านการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การส่งข้อความสั้นที่ต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน
การเขียน การทาเช่นนี้จะสามารถกระตุ้นให้เกิดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของผู้เรียน (Myles. 2002
: Website)
เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสาคัญในการเรียนการสอนภาษามีบทบาทมากขึ้นในทุกๆ ช่วงเวลาของ
การดาเนินชีวิต และมีอิทธิพลเพิ่มขึ้นในชั้นเรียนภาษาเทคโนโลยีนั้นให้โอกาสและช่องทางในการเข้าถึง
ข้อมูล การสื่อสาร และการควบคุมกระบวนการการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ยิ่งไปกว่านั้นเทคโนโลยี
ยังมีศักยภาพในการแพร่ไปสู่การฝึกฝนในห้องเรียนอีกด้วย (Reinbers. 2009 : 230) เทคโนโลยียัง
สามารถส่งเสริมการเขียนของผู้เรียนตลอดทั้งการวางแผน การดัดแปลง และการแก้ไขในการเขียน
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนที่ประสบปัญหาในการเขียนสามารถก้าวผ่านปัญหาโดยการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย
ในความเป็นจริงแล้วการเขียนจากการสนับสนุนโดยเทคโนโลยีไม่เป็นเพียงแต่สามารถสร้างทักษะ แต่ยัง
สอนผู้เรียนได้ในเวลาเดียวกัน ดังนั้นผู้เรียนสามารถพัฒนาความเข้าใจในการเรียนภาษาจากการใช้
เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการเขียน เช่น เครื่องมือเพื่อการสะกดคา การจัดองค์ประกอบ และอีก
มากมาย เทคโนโลยีนั้นยังสามารถสรรค์สร้างรูปแบบใหม่ของการเขียนขึ้นซึ่งเป็นแหล่งที่มา และหนทางใน
การรับข้อมูลใหม่ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เครื่องมือค้นหา บล็อก และการส่งข้อความซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้
จะทาให้ผู้เรียนสามารถแบ่งปัน แก้ไข และร่วมมือกันระหว่างผู้เรียน ครู และเพื่อนร่วมชั้นได้อย่าง
ง่ายดาย (Kalann and Parette. 2010 : 1)
เนื่องจากการเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมไปถึงการแพร่หลายของเทคโนโลยีไร้สายและ
อุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาส่งผลต่อกระบวนการศึกษาคือการศึกษาควรนาเทคโนโลยีไร้สายและอุปกรณ์
แบบพกพาเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน หรือที่เรียกว่าการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย (M-learning)
คือการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาเข้ามาประกอบการเรียนการสอน
เช่น คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต หรือ พ็อกเก็ต พีซี เป็นต้น โดยการเรียน
2
ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นเป็นการเรียนผ่านสื่อที่มีความเป็นอิสระในด้านที่ตั้ง เวลา และ พื้นที่
เมื่อออกแบบสื่อการเรียนการสอนสาหรับอุปกรณ์สื่อสารขนาดพกพานั้นต้องใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เหมาะสม
และ การออกแบบทฤษฎีการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และในเวลาเดียวกันนั้นต้อง
ช่วยให้ผู้เรียนได้ประสบความสาเร็จในผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วย (Ally. 2004 : 5) การใช้เทคโนโลยี
ไร้สายในการเรียนการสอนทาให้เกิดการเข้าใจและทัศนคติที่ต่อการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย กล่าวคือ
การเรียนรูปแบบนี้สามารถส่งเสริมการรู้ภาษา เพิ่มความตั้งใจในการทาภาระงาน และการเข้าถึง
การเรียนรู้ของผู้เรียน และการเรียนในรูปแบบนี้จะส่งเสริมการโต้ตอบและการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับ
ผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียน (Donalson. 2011 : 15)
เครื่องมือสาคัญชนิดหนึ่งในการเรียนผ่านเครือขายไร้สายนั่นก็คือโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือ
เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่นิยมใช้ในหมู่นักเรียนนักศึกษา ซึ่งมีความสาคัญเทียบเท่ากับดินสอ สมุดบันทึก
และหนังสือเรียน โดยโปรแกรมที่นิยมใช้มากที่สุดคือการบริการการส่งข้อความ ผู้เรียนสามารถใช้การส่ง
ข้อความในการเขียน ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อส่งข้อความ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านทาง
ข้อความ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการสะกดคา และโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการเขียน
ครูผู้สอนสามารถใช้การเขียนข้อความสั้นในการกาหนดสถานการณ์ในการเรียนที่มีความยืดหยุ่นได้ในการ
สอนคาศัพท์ใหม่ๆ (Tabatabaei and Goojani. 2012 : 47) มากไปกว่านั้นผู้เรียนสามารถ
ติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลโดยง่ายดายโดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น ผู้เรียนสามารถได้รับข้อมูล
เกี่ยวกับการศึกษาในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ผลสะท้อนจากภาระงานของผู้เรียน คะแนน ตารางเรียน
และข้อมูลการศึกษาในเวลา และพื้นที่ที่จากัดได้ ข้อความที่ได้นาส่งโดยการใช้การบริการการส่งข้อความ
สั้นนั้นจะถูกบรรจุไว้เป็นข้อมูลประจาตัวผู้เรียน และได้นาไปเผยแพร่สู่ผู้เรียนโดยผ่านระบบภายใน
สถานศึกษา การใช้การบริการการส่งข้อความสั้นจะช่วยให้เกิดการพัฒนาประสบการณ์ของผู้เรียน และทา
ให้ผู้เรียนเข้าถึงการเรียนรู้ได้ (Richardson and Lenarcic. 2009 : 843)
ด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าวกลุ่มผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะการเขียน
ภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ในการจัดการเรียนการสอนในวิชา
ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะการเขียนให้ดีขึ้น อีกทั้ง
ยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเขียนภาษาอังกฤษ และเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการ
เรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายเพื่อพัฒนา
ทักษะการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเขียนภาษาอังกฤษขณะเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5
ความสาคัญของการวิจัย
3
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้มการพัฒนาทักษะด้านการเขียนภาษาอังกฤษให้ดีขึ้น
ี
โดยการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายเป็นตัวช่วยในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ
2. เป็นแนวทางในกระบวนการจัดการเรียนการสอนแก่ครูผู้สอนและผู้ที่มีบทบาททางการศึกษา
ในการพัฒนาทักษะการเขียนอันเป็นการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแก่ผู้เรียน
3. การใช้การเรียนผ่ายเครือข่ายไร้สายเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนในครั้งนี้จะเป็นแนวทางที่จะ
เป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัย ครูผู้สอนและผู้ที่สนใจ เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มี
ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ขอบเขตของการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้
1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกันทรวิชัย
อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 4 ห้องเรียน
นักเรียนจานวน 157 คน
1.2 ประชากรกลุมตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1
่
โรงเรียนกันทรวิชัย อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2556
จานวน 38 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบแบบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling)
2. ตัวแปรที่ศึกษา
2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย
2.2 ตัวแปรตาม คือ การเขียนภาษาอังกฤษ
3. สมมติฐาน คือ ความสามารถด้านทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกันทรวิชัย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหลังจากการเรียนผ่านเครือข่ายไรสาย
4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 1 ภาคเรียน คือ ปีการศึกษา 2556 เป็นเวลา
4 เดือน เริ่มจากเดือนพฤศจิกายน 2556 – กุมภาพันธ์ 2557
5. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย
เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพิจารณาโดยใช้เนื้อหาจากแหล่งเรียนรู้ที่มีความ
สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2556 ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
จานวน 4 เรื่อง ดังต่อไปนี้
5.1 Unit : People
Topic : Friends
Sub topic : Activity and Friend
มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
5.2 Unit : Myself
Topic : Family: Member and Details
มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
5.3 Unit : Interpersonal
4
Topic : Relationship
Sub topic : Invitation letter
มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
5.4 Unit : Shopping
Topic : Price
มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย (M-Learning) หมายถึง การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายทีช่วย
่
ให้ได้รับความรู้โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาและสถานที่ และสามารถเข้าถึงได้ในทุกๆเวลา ในการวิจัย
ครั้งนี้ผู้วิจัยใช้บริการการส่งข้อความสั้น (SMS) และการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail)
เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของผู้เรียน โดยการให้ผู้เรียนเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และส่งข้อความโดยใช้
การบริการการส่งข้อความสั้น เพื่อการติดต่อสื่อสารและโต้ตอบกับบุคคล
2. ทักษะการเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนเพื่อสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย
กล่าวคือ สามารถสื่อสารโดยการเขียนผ่านทางบริการข้อความสั้น และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ตาม
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้
2.1 ขั้นก่อนเขียน ในขั้นนี้ครูสอนคาศัพท์ โครงสร้าง และเนื้อหาจากตัวอย่างจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) และ การบริการการส่งข้อความสั้น (SMS) ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยการเรียน
2.2 ขั้นขณะเขียน ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายโดยเป็นสื่อการสอนประกอบกิจกรรมใน
การเขียน เช่น การให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับตัวอย่างข้อความสั้นและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้เรียน
โดยส่งข้อความโดยการใช้การบริการการส่งข้อความสั้น หรือเรียงลาดับประโยคในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
โดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น เป็นต้น
2.3 ขั้นหลังเขียน ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายโดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงจากเขียน
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อบรรยายกิจกรรมที่ทา หรือการสั่งซื้อและตอบรับการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์
และส่งให้เพื่อนในห้องผ่านเครือข่ายไร้สายเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เขียนข้อความในการสร้างคาถาม
และตอบคาถามโดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น โดยมีทั้งการส่งข้อความเพื่อการนัดหมาย การถาม
และการตอบกลับ หรือเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แนะนาตนเองกับชาวต่างชาติ เป็นต้น
3. พฤติกรรมการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สาย หมายถึง พฤติกรรมของผู้เรียนที่มีการตอบสนอง
และให้ความสนใจต่อการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความต้องการที่จะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วย
ตนเอง โดยวัดได้จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน โดยมีเกณฑ์ในการวัดดังต่อไปนี้
3.1 ประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้ และการประเมินตนเอง
3.2 การทางานตามกาหนดเวลา
3.3 รับผิดชอบภาระงาน
3.4 ความกระตือรือร้น
3.5 แรงจูงใจในการทากิจกรรม
5

The Use of Text Messages in Mobile Learning for Enhancing English
Writing Skill
การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่าน
เครือข่ายไร้สาย

กลุ่มผู้วิจัย
นางสาวศิรินาถ คารวะบัญชา
53010513041
นางสาวศิโรรัตน์ พินิจพงษ์
53010513042
นายสุริยา ชานกัน
53010513044

คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
6

ครั้งที่ 1 วันที่ 15 มกราคม 2556

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารkrubuatoom
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553Kun Cool Look Natt
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16Tawanny Rawipon
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)Teacher Sophonnawit
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishTeacher Sophonnawit
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านKun Cool Look Natt
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้Waraporn Phimto
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาkingkarn somchit
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...Buabuanana
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 

La actualidad más candente (20)

คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสารคุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
คุณธรรมและมารยาทในการสื่อสาร
 
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
รายงานการปฏิบัติงานสอนที่ยูนนานนอร์มอล 2552 - 2553
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
การใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (SMEDU)
 
แผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fishแผน 1 the curious boy and the fish
แผน 1 the curious boy and the fish
 
หลักภาษา
หลักภาษาหลักภาษา
หลักภาษา
 
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่านแนวการสอน ทักษะการอ่าน
แนวการสอน ทักษะการอ่าน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษาข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
ข้อบกพร่องของการใช้ภาษา
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
The effects of reading method on the comprehension performance of saudi efl s...
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 

Similar a Chapter 1

บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1ssuser4df01d1
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
นาว
นาวนาว
นาวwisnun
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษYoo Ni
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อAnna Wongpattanakit
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3Milmilk
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)nwichunee
 

Similar a Chapter 1 (20)

บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
2562 final-project -1
2562 final-project -12562 final-project -1
2562 final-project -1
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
แผน Eng m.3
แผน Eng m.3แผน Eng m.3
แผน Eng m.3
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่บทที่ 3.ใหม่
บทที่ 3.ใหม่
 
งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)งานเมย์บทที่7นะ (1)
งานเมย์บทที่7นะ (1)
 

Más de Success SC Slac

Más de Success SC Slac (20)

บทท 5 รวมเล_ม
บทท   5 รวมเล_มบทท   5 รวมเล_ม
บทท 5 รวมเล_ม
 
บทท 4 รวมเล_ม
บทท  4 รวมเล_มบทท  4 รวมเล_ม
บทท 4 รวมเล_ม
 
บทท 3 รวมเล_ม
บทท  3 รวมเล_มบทท  3 รวมเล_ม
บทท 3 รวมเล_ม
 
บทท 2 รวมเล_ม
บทท   2 รวมเล_มบทท   2 รวมเล_ม
บทท 2 รวมเล_ม
 
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_มว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
 
Authentic material
Authentic materialAuthentic material
Authentic material
 
Writing (1)
Writing (1)Writing (1)
Writing (1)
 
Exercise 1
Exercise 1Exercise 1
Exercise 1
 
Text
TextText
Text
 
แผนเขียน 2
แผนเขียน 2แผนเขียน 2
แผนเขียน 2
 
Romeo
RomeoRomeo
Romeo
 
แผนการสอน Reading
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน Reading
 
Power point Speaking
Power point SpeakingPower point Speaking
Power point Speaking
 
Activity speaking
Activity speakingActivity speaking
Activity speaking
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4
 
แผน Speaking
แผน Speakingแผน Speaking
แผน Speaking
 
Movie
MovieMovie
Movie
 
Text
TextText
Text
 
แผน Listening
แผน Listeningแผน Listening
แผน Listening
 

Chapter 1

  • 1. 1 บทที่ 1 บทนา ภูมิหลัง การเขียนเป็นกระบวนการรวบรวมและจัดระเบียบความคิดของผู้ส่งสารโดยมีการถ่ายทอดสารที่ ต้องการสื่อผ่านทางการเขียนลงไปในกระดาษเพื่อสื่อสารกับผู้รับสารนั้นก็คือผู้อ่าน ในทักษะการเขียนจะมี โอกาสสื่อสารผิดพลาดได้น้อยกว่าการพูด เพราะการเขียนสามารถแก้ไขจัดการเกี่ยวกับความคิดและสารที่ จะสื่อออกไปให้สมบรูณ์ได้ แต่การพูดผู้รับสารสามารถรับสารได้ทางน้าเสียง คาพูด และการแสดงออก ทางใบหน้าของผู้พูดซึ่งเป็นการยากต่อการแก้ไข และทาให้เกิดการสื่อสารที่ผิดพลาดได้ทุกเมื่อ (Wingersky, Boerner and Balogh. 1995 : 2) ความสามารถในการเขียนไดดีนั้นไม่ใช่เป็นทักษะที่ ไดมาโดยธรรมชาติแต่เป็นสิ่งที่ไดจากการเรียนรูหรือการถ่ายทอดทางวัฒนธรรม โดยผ่านการฝึกฝนใน สภาพหรือบริบทการเรียนแบบทางการ และทักษะการเขียนสามารถฝึกฝนและเรียนรูไดโดยผ่าน ประสบการณ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้เรียนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศกระบวนการเขียนเป็นสิ่งที่ ยากและท้าทาย ผู้สอนควรออกแบบกิจกรรมที่กระตุ้นผู้เรียนโดยการใช้เรื่องราวที่เกิดขึ้นในชีวิตจริง และ เป็นที่น่าสนใจของผู้เรียนมาใช้ในการเขียนอย่างเช่น การเล่าเรื่องราวประกอบรูปภาพผ่านทางการเขียน การติดต่อสื่อสารผ่านการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การส่งข้อความสั้นที่ต้องใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยใน การเขียน การทาเช่นนี้จะสามารถกระตุ้นให้เกิดทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของผู้เรียน (Myles. 2002 : Website) เทคโนโลยีเป็นเครื่องมือสาคัญในการเรียนการสอนภาษามีบทบาทมากขึ้นในทุกๆ ช่วงเวลาของ การดาเนินชีวิต และมีอิทธิพลเพิ่มขึ้นในชั้นเรียนภาษาเทคโนโลยีนั้นให้โอกาสและช่องทางในการเข้าถึง ข้อมูล การสื่อสาร และการควบคุมกระบวนการการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ยิ่งไปกว่านั้นเทคโนโลยี ยังมีศักยภาพในการแพร่ไปสู่การฝึกฝนในห้องเรียนอีกด้วย (Reinbers. 2009 : 230) เทคโนโลยียัง สามารถส่งเสริมการเขียนของผู้เรียนตลอดทั้งการวางแผน การดัดแปลง และการแก้ไขในการเขียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนที่ประสบปัญหาในการเขียนสามารถก้าวผ่านปัญหาโดยการใช้เทคโนโลยีเป็นตัวช่วย ในความเป็นจริงแล้วการเขียนจากการสนับสนุนโดยเทคโนโลยีไม่เป็นเพียงแต่สามารถสร้างทักษะ แต่ยัง สอนผู้เรียนได้ในเวลาเดียวกัน ดังนั้นผู้เรียนสามารถพัฒนาความเข้าใจในการเรียนภาษาจากการใช้ เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการเขียน เช่น เครื่องมือเพื่อการสะกดคา การจัดองค์ประกอบ และอีก มากมาย เทคโนโลยีนั้นยังสามารถสรรค์สร้างรูปแบบใหม่ของการเขียนขึ้นซึ่งเป็นแหล่งที่มา และหนทางใน การรับข้อมูลใหม่ๆ เช่น อินเทอร์เน็ต เครื่องมือค้นหา บล็อก และการส่งข้อความซึ่งเทคโนโลยีเหล่านี้ จะทาให้ผู้เรียนสามารถแบ่งปัน แก้ไข และร่วมมือกันระหว่างผู้เรียน ครู และเพื่อนร่วมชั้นได้อย่าง ง่ายดาย (Kalann and Parette. 2010 : 1) เนื่องจากการเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีรวมไปถึงการแพร่หลายของเทคโนโลยีไร้สายและ อุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาส่งผลต่อกระบวนการศึกษาคือการศึกษาควรนาเทคโนโลยีไร้สายและอุปกรณ์ แบบพกพาเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน หรือที่เรียกว่าการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย (M-learning) คือการนาสื่ออิเล็กทรอนิกส์หรืออุปกรณ์สื่อสารแบบพกพาเข้ามาประกอบการเรียนการสอน เช่น คอมพิวเตอร์พกพาขนาดเล็ก โทรศัพท์มือถือ แท็บเล็ต หรือ พ็อกเก็ต พีซี เป็นต้น โดยการเรียน
  • 2. 2 ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์นั้นเป็นการเรียนผ่านสื่อที่มีความเป็นอิสระในด้านที่ตั้ง เวลา และ พื้นที่ เมื่อออกแบบสื่อการเรียนการสอนสาหรับอุปกรณ์สื่อสารขนาดพกพานั้นต้องใช้ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เหมาะสม และ การออกแบบทฤษฎีการสอนให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน และในเวลาเดียวกันนั้นต้อง ช่วยให้ผู้เรียนได้ประสบความสาเร็จในผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วย (Ally. 2004 : 5) การใช้เทคโนโลยี ไร้สายในการเรียนการสอนทาให้เกิดการเข้าใจและทัศนคติที่ต่อการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย กล่าวคือ การเรียนรูปแบบนี้สามารถส่งเสริมการรู้ภาษา เพิ่มความตั้งใจในการทาภาระงาน และการเข้าถึง การเรียนรู้ของผู้เรียน และการเรียนในรูปแบบนี้จะส่งเสริมการโต้ตอบและการสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับ ผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียน (Donalson. 2011 : 15) เครื่องมือสาคัญชนิดหนึ่งในการเรียนผ่านเครือขายไร้สายนั่นก็คือโทรศัพท์มือถือ โทรศัพท์มือถือ เป็นอุปกรณ์สื่อสารที่นิยมใช้ในหมู่นักเรียนนักศึกษา ซึ่งมีความสาคัญเทียบเท่ากับดินสอ สมุดบันทึก และหนังสือเรียน โดยโปรแกรมที่นิยมใช้มากที่สุดคือการบริการการส่งข้อความ ผู้เรียนสามารถใช้การส่ง ข้อความในการเขียน ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาเพื่อส่งข้อความ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านทาง ข้อความ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการสะกดคา และโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการเขียน ครูผู้สอนสามารถใช้การเขียนข้อความสั้นในการกาหนดสถานการณ์ในการเรียนที่มีความยืดหยุ่นได้ในการ สอนคาศัพท์ใหม่ๆ (Tabatabaei and Goojani. 2012 : 47) มากไปกว่านั้นผู้เรียนสามารถ ติดต่อสื่อสารและเข้าถึงข้อมูลโดยง่ายดายโดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น ผู้เรียนสามารถได้รับข้อมูล เกี่ยวกับการศึกษาในเวลาอันรวดเร็ว เช่น ผลสะท้อนจากภาระงานของผู้เรียน คะแนน ตารางเรียน และข้อมูลการศึกษาในเวลา และพื้นที่ที่จากัดได้ ข้อความที่ได้นาส่งโดยการใช้การบริการการส่งข้อความ สั้นนั้นจะถูกบรรจุไว้เป็นข้อมูลประจาตัวผู้เรียน และได้นาไปเผยแพร่สู่ผู้เรียนโดยผ่านระบบภายใน สถานศึกษา การใช้การบริการการส่งข้อความสั้นจะช่วยให้เกิดการพัฒนาประสบการณ์ของผู้เรียน และทา ให้ผู้เรียนเข้าถึงการเรียนรู้ได้ (Richardson and Lenarcic. 2009 : 843) ด้วยหลักการและเหตุผลดังกล่าวกลุ่มผู้วิจัยจึงเล็งเห็นความสาคัญของการพัฒนาทักษะการเขียน ภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ในการจัดการเรียนการสอนในวิชา ภาษาอังกฤษ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อให้เกิดการพัฒนาทักษะการเขียนให้ดีขึ้น อีกทั้ง ยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจในการเขียนภาษาอังกฤษ และเป็นการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการ เรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ความมุ่งหมายของการวิจัย 1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายเพื่อพัฒนา ทักษะการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2.เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเขียนภาษาอังกฤษขณะเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 ความสาคัญของการวิจัย
  • 3. 3 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ได้มการพัฒนาทักษะด้านการเขียนภาษาอังกฤษให้ดีขึ้น ี โดยการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายเป็นตัวช่วยในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 2. เป็นแนวทางในกระบวนการจัดการเรียนการสอนแก่ครูผู้สอนและผู้ที่มีบทบาททางการศึกษา ในการพัฒนาทักษะการเขียนอันเป็นการส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแก่ผู้เรียน 3. การใช้การเรียนผ่ายเครือข่ายไร้สายเพื่อพัฒนาทักษะการเขียนในครั้งนี้จะเป็นแนวทางที่จะ เป็นประโยชน์ต่อผู้วิจัย ครูผู้สอนและผู้ที่สนใจ เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ขอบเขตของการวิจัย การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีขอบเขตการวิจัยดังนี้ 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกันทรวิชัย อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 4 ห้องเรียน นักเรียนจานวน 157 คน 1.2 ประชากรกลุมตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 ่ โรงเรียนกันทรวิชัย อาเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2556 จานวน 38 คน โดยใช้วิธีการคัดเลือกแบบแบบการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) 2. ตัวแปรที่ศึกษา 2.1 ตัวแปรอิสระ คือ การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย 2.2 ตัวแปรตาม คือ การเขียนภาษาอังกฤษ 3. สมมติฐาน คือ ความสามารถด้านทักษะการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนกันทรวิชัย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนหลังจากการเรียนผ่านเครือข่ายไรสาย 4. ระยะเวลาที่ใช้ในการวิจัยทั้งสิ้น 1 ภาคเรียน คือ ปีการศึกษา 2556 เป็นเวลา 4 เดือน เริ่มจากเดือนพฤศจิกายน 2556 – กุมภาพันธ์ 2557 5. เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัย เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยพิจารณาโดยใช้เนื้อหาจากแหล่งเรียนรู้ที่มีความ สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2556 ช่วงชั้นที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 จานวน 4 เรื่อง ดังต่อไปนี้ 5.1 Unit : People Topic : Friends Sub topic : Activity and Friend มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 5.2 Unit : Myself Topic : Family: Member and Details มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 5.3 Unit : Interpersonal
  • 4. 4 Topic : Relationship Sub topic : Invitation letter มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง 5.4 Unit : Shopping Topic : Price มีจานวน 1 แผนการสอนใช้เวลาทั้งหมด 2 ชั่วโมง นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย (M-Learning) หมายถึง การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายทีช่วย ่ ให้ได้รับความรู้โดยไม่ต้องคานึงถึงเวลาและสถานที่ และสามารถเข้าถึงได้ในทุกๆเวลา ในการวิจัย ครั้งนี้ผู้วิจัยใช้บริการการส่งข้อความสั้น (SMS) และการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของผู้เรียน โดยการให้ผู้เรียนเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์และส่งข้อความโดยใช้ การบริการการส่งข้อความสั้น เพื่อการติดต่อสื่อสารและโต้ตอบกับบุคคล 2. ทักษะการเขียน หมายถึง ความสามารถในการเขียนเพื่อสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย กล่าวคือ สามารถสื่อสารโดยการเขียนผ่านทางบริการข้อความสั้น และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ตาม ขั้นตอนการจัดกิจกรรมดังนี้ 2.1 ขั้นก่อนเขียน ในขั้นนี้ครูสอนคาศัพท์ โครงสร้าง และเนื้อหาจากตัวอย่างจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) และ การบริการการส่งข้อความสั้น (SMS) ที่เกี่ยวข้องกับหน่วยการเรียน 2.2 ขั้นขณะเขียน ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายโดยเป็นสื่อการสอนประกอบกิจกรรมใน การเขียน เช่น การให้ผู้เรียนตอบคาถามเกี่ยวกับตัวอย่างข้อความสั้นและจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ที่ได้เรียน โดยส่งข้อความโดยการใช้การบริการการส่งข้อความสั้น หรือเรียงลาดับประโยคในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น เป็นต้น 2.3 ขั้นหลังเขียน ใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายโดยให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติจริงจากเขียน จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อบรรยายกิจกรรมที่ทา หรือการสั่งซื้อและตอบรับการสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ และส่งให้เพื่อนในห้องผ่านเครือข่ายไร้สายเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เขียนข้อความในการสร้างคาถาม และตอบคาถามโดยใช้การบริการการส่งข้อความสั้น โดยมีทั้งการส่งข้อความเพื่อการนัดหมาย การถาม และการตอบกลับ หรือเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แนะนาตนเองกับชาวต่างชาติ เป็นต้น 3. พฤติกรรมการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สาย หมายถึง พฤติกรรมของผู้เรียนที่มีการตอบสนอง และให้ความสนใจต่อการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายไร้สาย และมีความต้องการที่จะศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมด้วย ตนเอง โดยวัดได้จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียน โดยมีเกณฑ์ในการวัดดังต่อไปนี้ 3.1 ประสบการณ์ที่ได้จากการเรียนรู้ และการประเมินตนเอง 3.2 การทางานตามกาหนดเวลา 3.3 รับผิดชอบภาระงาน 3.4 ความกระตือรือร้น 3.5 แรงจูงใจในการทากิจกรรม
  • 5. 5 The Use of Text Messages in Mobile Learning for Enhancing English Writing Skill การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่าน เครือข่ายไร้สาย กลุ่มผู้วิจัย นางสาวศิรินาถ คารวะบัญชา 53010513041 นางสาวศิโรรัตน์ พินิจพงษ์ 53010513042 นายสุริยา ชานกัน 53010513044 คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม