SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 3
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความใน
การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สรุปผลตามลาดับ ดังนี้
1. ความมุ่งหมายของการวิจัย
2. สรุปผลการวิจัย
3. อภิปรายผลวิจัย
4. ข้อเสนอแนะ
ความมุ่งหมายของการวิจัย
1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย
เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเขียนภาษาอังกฤษขณะเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย
ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
สรุปผลการวิจัย
ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่ง
ข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปรากฏผล ดังนี้
1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งนักเรียนมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
2. ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายอยู่ในเกณฑ์ ดี

อภิปรายผลวิจัย
จากผลการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การ
ส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประเด็นที่นามา
อภิปรายผลได้ ดังนี้
66
1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของ
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งนักเรียนมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี
นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากเป็นการจัดกิจกรรมพัฒนาการเขียนโดยใช้การส่งข้อความใน
การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสนใจในการทากิจกรรม จึงทา
ให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา และการเขียนตามรูปแบบการเขียนจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ตามหัวข้อที่กาหนดได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์และตามโครงสร้างของการเขียน
สอดคล้องกับตาบาตาบัย และกูจานี (Tabatabaei and Goojani. 2012 : 47) ที่กล่าวไว้ว่า
ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาเพื่อส่งข้อความ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
ซึงช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการสะกดคาและโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการเขียน โดย
่
ครูผู้สอนได้กาหนดสถานการณ์ในการเรียนที่มีความยืดหยุ่นในการสอนคาศัพท์ใหม่ๆ อีกทั้งยังนาหัวข้อ
ของการเขียนมาจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน หรือบริบทจริงที่นักเรียนจะต้องได้พบเจอ
เป็นการพัฒนาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนระหว่างการทากิจกรรมอีกด้วย และโดนัลสัน
(Donalson. 2011 : 16) ได้กล่าวไว้ว่า ลักษณะเฉพาะของการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย เป็น
กิจกรรมการเรียนในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน หรือบริบทจริง และการเรียนผ่านเครือข่ายไร้
สายยังสามารถส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งพัฒนาการโต้ตอบสื่อสารภายในสังคม
นอกจากนั้นยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ เกรทเชิน (Gretchen. 2012 : Abstract) ได้ศึกษา
ความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายไร้สายที่มีผลต่อการเขียนและการอ่านของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา
โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะการเขียนข้อความสั้นของผู้เรียนใน
ระดับอุดมศึกษาผ่านโทรศัพท์มือถือและสิ่งแวดล้อมต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียน
จานวน 53 คน จากมหาวิทยาลัยในประเทศออสเตรเลีย ผลการวิจัยปรากฏว่าการส่งข้อความมี
ความสัมพันธ์ทางบวกต่อผู้เรียนที่เรียนด้วยตนเองในทักษะการอ่านและการเขียน และผลการวิจัยยัง
เผยให้เห็นอีกว่า ไม่มีความแตกต่างระหว่างผู้เรียนในแต่ละชั้น ไม่ว่าจะเป็นผู้เรียนระดับแรกที่ใช้การส่ง
ข้อความผ่านเครือข่ายมือถือหรือจะเป็นผู้เรียนในระดับสูงหรือในระดับปริญญา
2. ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่าพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้ในแผนการเรียนรู้ที่ 1 คิดเป็นร้อยละ
70 แผนการเรียนรู้ที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 70.40 แผนการเรียนรู้ที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 77.89
แผนการเรียนรู้ที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 80.26 เมื่อพิจารณาของผลการสังเกตนักเรียนแต่ละแผนการรู้
พบว่า แผนการเรียนรู้ที่ 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าทุกแผน อันเนื่องมาจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมที่นักเรียน
ไม่คุ้นเคย และคาศัพท์ที่เรียนเป็นศัพท์ที่ค่อนข้างยากสาหรับนักเรียน และแผนการเรียนรู้ที่ 4 เป็น
แผนการเรียนรู้ที่มีค่าร้อยละสูงสุดเนื่องจากนักเรียนคุ้นเคยกับการทากิจกรรมผ่านการเรียนผ่าน
เครือข่ายไร้สาย จึงทาให้มีพฤติกรรมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายดีขึ้น เพราะว่าผู้สอนมีเวลาในการ
ทาภาระงานมากขึ้น และมีโอกาสในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นักเรียนจึงสนใจการทาภาระงาน ทาให้
เกิดการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์ในขั้นกิจกรรมขณะเขียนโดยการได้แบ่งกลุ่มช่วยกันตอบคาถามจากเรื่องที่
เรียน จึงทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทั้งระหว่างนักเรียนกับนักเรียน และนักเรียนกับครูผู้สอน ทั้งนี้เป็นเพราะ
67
การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ภาษา เพิ่มความตั้งใจในการทาภาระงาน
และการเข้าถึงการเรียนรู้ของผู้เรียน และการเรียนในรูปแบบนี้จะส่งเสริมการโต้ตอบและการสื่อสาร
ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียนสอดคล้องกับการวิจัยของโดนัลสัน (Donalson. 2011
: Abstract) ซึ่งได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมอันพึงประสงค์ในการใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย
เพื่อค้นหาว่าความแตกต่างด้านเพศและวัยมีผลต่อการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายหรือไม่ โดยใช้กลุ่ม
ตัวอย่างคือผู้เรียนจานวน 330 คน ผลการวิจัยพบว่าผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การมีแนวทางในด้าน
สังคม การได้รับความสนุกสนานในการเรียนรู้ การเกิดความสมัครใจจากการใช้การเรียนรู้ดังกล่าวได้
ปรากฏเป็นพฤติกรรมที่เด่นชัด และความแตกต่างในด้านเพศและวัยไม่ส่งผลในการเรียนผ่านเครือข่าย
ไร้สาย งานวิจัยนี้ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อการเข้าใจและพัฒนาการยอมรับในการเรียนผ่าน
เครือข่ายไร้สายสาหรับผู้เรียนที่มีแนวโน้มที่จะเลือกการใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายอย่างถูกต้องและ
เป็นประโยชน์
ข้อเสนอแนะ
1. ข้อเสนอแนะ
1.1 การจัดกลุ่มนักเรียนควรเป็นกลุ่มคละความสามารถ มีทั้งเก่ง ปานกลาง อ่อน
เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารของ
ตนเองอย่างเต็มที่
1.2 การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายนั้น นอกจากใช้การบริการการส่งข้อความ
สั้น และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แล้วยังมีสื่อกลางหรือโปรแกรมอื่นๆอีก เพื่อเป็นการเลือกใช้ตามความ
เหมาะสมของการเรียนการสอน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรเลือกสื่อกลางหรือโปรแกรมต่างๆที่เหมาะสม
กับการจัดกิจกรรมการเรียน เช่น Facebook Line เป็นต้น
1.3 เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายมีหลายรูปแบบ ครูผู้สอน
สามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม นอกจากโทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์แล้ว ยังมีเครื่องเล่น
เพลง กล้องดิจิตอล กล้องวีดิโอ หรือ เครื่องบันทึกเสียง ที่สามารถนามาใช้ในการจัดกิจกรรมและ
เพื่อช่วยในการดึงดูดความสนใจของนักเรียนเพิ่มขึ้น
2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป
2.1 ควรที่จะศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่ใช้โปรแกรมที่มีความรวดเร็ว
เช่น การพัฒนาการอ่านโดยใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายผ่านโปรแกรม Line หรือ Facebook
2.2 ควรมีการศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การ
เรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ที่ส่งผลต่อตัวแปรอื่นๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์ในการเขียน (creative
thinking)
2.2 ควรมีการเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายและรูปแบบการ
เขียน โดยยึดกิจกิจกรรมการเขียนอื่นๆ เช่น การเขียนแบบร่วมมือว่ามีผลแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร

Más contenido relacionado

Similar a Chapter 5

รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกNattapon
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษYoo Ni
 
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...A development of the web based instruction with word press for fundamental en...
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...Kruthai Kidsdee
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหาGratae
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษGratae
 
งานวิจัย (ปรับใหม่)
งานวิจัย (ปรับใหม่)งานวิจัย (ปรับใหม่)
งานวิจัย (ปรับใหม่)ฺBadBoy 20151963
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์Nattapon
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...BlogAseanTraveler
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)Art Nan
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...Siriratbruce
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)Sommawan Keawsangthongcharoen
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คSalisa Khonkhayan
 

Similar a Chapter 5 (20)

รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อกรายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
รายงานการวิจัยเรื่องการพัฒนาทักษะการสรุปองค์ความรู้โดยใช้เว็บบล็อก
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
ภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษภาษาอังกฤษ
ภาษาอังกฤษ
 
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...A development of the web based instruction with word press for fundamental en...
A development of the web based instruction with word press for fundamental en...
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
วิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษวิจัยภาษาอังกฤษ
วิจัยภาษาอังกฤษ
 
งานวิจัย (ปรับใหม่)
งานวิจัย (ปรับใหม่)งานวิจัย (ปรับใหม่)
งานวิจัย (ปรับใหม่)
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
211 578-1-pb
211 578-1-pb211 578-1-pb
211 578-1-pb
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
ผลการจัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน เพื่อพัฒนาทักษะด้านการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
รายงานโครงการคอมพิวเตอร์ กลุ่ม Blog 5 สถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยมในแต่ละประเทศสม...
 
บทที่ ๕
บทที่ ๕บทที่ ๕
บทที่ ๕
 
บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)บทคัดย่อพ..(1)
บทคัดย่อพ..(1)
 
A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...A model of competency development for thai language teachers in international...
A model of competency development for thai language teachers in international...
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน การเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษ (Introductory Stories)
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊คการเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
การเรียนรู้ภาษาอังกฤษโดยการเขียนบันทึกสนทนาโต้ตอบผ่านทางเฟสบุ๊ค
 

Más de Success SC Slac

Más de Success SC Slac (20)

บทท 5 รวมเล_ม
บทท   5 รวมเล_มบทท   5 รวมเล_ม
บทท 5 รวมเล_ม
 
บทท 4 รวมเล_ม
บทท  4 รวมเล_มบทท  4 รวมเล_ม
บทท 4 รวมเล_ม
 
บทท 3 รวมเล_ม
บทท  3 รวมเล_มบทท  3 รวมเล_ม
บทท 3 รวมเล_ม
 
บทท 2 รวมเล_ม
บทท   2 รวมเล_มบทท   2 รวมเล_ม
บทท 2 รวมเล_ม
 
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_มว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
 
Authentic material
Authentic materialAuthentic material
Authentic material
 
Writing (1)
Writing (1)Writing (1)
Writing (1)
 
Exercise 1
Exercise 1Exercise 1
Exercise 1
 
Text
TextText
Text
 
แผนเขียน 2
แผนเขียน 2แผนเขียน 2
แผนเขียน 2
 
Romeo
RomeoRomeo
Romeo
 
แผนการสอน Reading
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน Reading
 
Power point Speaking
Power point SpeakingPower point Speaking
Power point Speaking
 
Activity speaking
Activity speakingActivity speaking
Activity speaking
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4
 
แผน Speaking
แผน Speakingแผน Speaking
แผน Speaking
 
Movie
MovieMovie
Movie
 
Text
TextText
Text
 
แผน Listening
แผน Listeningแผน Listening
แผน Listening
 

Chapter 5

  • 1. บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ เป็นการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความใน การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สรุปผลตามลาดับ ดังนี้ 1. ความมุ่งหมายของการวิจัย 2. สรุปผลการวิจัย 3. อภิปรายผลวิจัย 4. ข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อเปรียบเทียบทักษะเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย เพื่อพัฒนาทักษะการเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 2. เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเขียนภาษาอังกฤษขณะเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 สรุปผลการวิจัย ผลการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่ง ข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปรากฏผล ดังนี้ 1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งนักเรียนมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 นักเรียนมีพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายอยู่ในเกณฑ์ ดี อภิปรายผลวิจัย จากผลการศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การ ส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีประเด็นที่นามา อภิปรายผลได้ ดังนี้
  • 2. 66 1. ผลการเปรียบเทียบทักษะการเขียนก่อนเรียนและหลังเรียนในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้การพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ซึ่งนักเรียนมีคะแนนสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมี นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เนื่องจากเป็นการจัดกิจกรรมพัฒนาการเขียนโดยใช้การส่งข้อความใน การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายดึงดูดความสนใจของผู้เรียน ทาให้ผู้เรียนสนใจในการทากิจกรรม จึงทา ให้ผู้เรียนมีการพัฒนาทักษะการเขียนสะกดคา และการเขียนตามรูปแบบการเขียนจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ตามหัวข้อที่กาหนดได้อย่างถูกต้องตามหลักไวยากรณ์และตามโครงสร้างของการเขียน สอดคล้องกับตาบาตาบัย และกูจานี (Tabatabaei and Goojani. 2012 : 47) ที่กล่าวไว้ว่า ผู้เรียนได้ฝึกใช้ภาษาเพื่อส่งข้อความ และส่งงานที่ได้รับมอบหมายผ่านทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ซึงช่วยให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาทักษะการสะกดคาและโครงสร้างทางไวยากรณ์ในการเขียน โดย ่ ครูผู้สอนได้กาหนดสถานการณ์ในการเรียนที่มีความยืดหยุ่นในการสอนคาศัพท์ใหม่ๆ อีกทั้งยังนาหัวข้อ ของการเขียนมาจากสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน หรือบริบทจริงที่นักเรียนจะต้องได้พบเจอ เป็นการพัฒนาปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนในชั้นเรียนระหว่างการทากิจกรรมอีกด้วย และโดนัลสัน (Donalson. 2011 : 16) ได้กล่าวไว้ว่า ลักษณะเฉพาะของการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย เป็น กิจกรรมการเรียนในสถานการณ์ต่างๆในชีวิตประจาวัน หรือบริบทจริง และการเรียนผ่านเครือข่ายไร้ สายยังสามารถส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือ ซึ่งพัฒนาการโต้ตอบสื่อสารภายในสังคม นอกจากนั้นยังสอดคล้องกับงานวิจัยของ เกรทเชิน (Gretchen. 2012 : Abstract) ได้ศึกษา ความสัมพันธ์ระหว่างเครือข่ายไร้สายที่มีผลต่อการเขียนและการอ่านของผู้เรียนในระดับอุดมศึกษา โดยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนาทักษะการเขียนข้อความสั้นของผู้เรียนใน ระดับอุดมศึกษาผ่านโทรศัพท์มือถือและสิ่งแวดล้อมต่างๆที่เกี่ยวข้อง โดยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียน จานวน 53 คน จากมหาวิทยาลัยในประเทศออสเตรเลีย ผลการวิจัยปรากฏว่าการส่งข้อความมี ความสัมพันธ์ทางบวกต่อผู้เรียนที่เรียนด้วยตนเองในทักษะการอ่านและการเขียน และผลการวิจัยยัง เผยให้เห็นอีกว่า ไม่มีความแตกต่างระหว่างผู้เรียนในแต่ละชั้น ไม่ว่าจะเป็นผู้เรียนระดับแรกที่ใช้การส่ง ข้อความผ่านเครือข่ายมือถือหรือจะเป็นผู้เรียนในระดับสูงหรือในระดับปริญญา 2. ผลการสังเกตพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 พบว่าพฤติกรรมการเรียนผ่านเครือข่ายไร้ในแผนการเรียนรู้ที่ 1 คิดเป็นร้อยละ 70 แผนการเรียนรู้ที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 70.40 แผนการเรียนรู้ที่ 3 คิดเป็นร้อยละ 77.89 แผนการเรียนรู้ที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 80.26 เมื่อพิจารณาของผลการสังเกตนักเรียนแต่ละแผนการรู้ พบว่า แผนการเรียนรู้ที่ 1 มีค่าร้อยละต่ากว่าทุกแผน อันเนื่องมาจากกิจกรรมเป็นกิจกรรมที่นักเรียน ไม่คุ้นเคย และคาศัพท์ที่เรียนเป็นศัพท์ที่ค่อนข้างยากสาหรับนักเรียน และแผนการเรียนรู้ที่ 4 เป็น แผนการเรียนรู้ที่มีค่าร้อยละสูงสุดเนื่องจากนักเรียนคุ้นเคยกับการทากิจกรรมผ่านการเรียนผ่าน เครือข่ายไร้สาย จึงทาให้มีพฤติกรรมในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายดีขึ้น เพราะว่าผู้สอนมีเวลาในการ ทาภาระงานมากขึ้น และมีโอกาสในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นักเรียนจึงสนใจการทาภาระงาน ทาให้ เกิดการโต้ตอบ ปฏิสัมพันธ์ในขั้นกิจกรรมขณะเขียนโดยการได้แบ่งกลุ่มช่วยกันตอบคาถามจากเรื่องที่ เรียน จึงทาให้เกิดปฏิสัมพันธ์ทั้งระหว่างนักเรียนกับนักเรียน และนักเรียนกับครูผู้สอน ทั้งนี้เป็นเพราะ
  • 3. 67 การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ภาษา เพิ่มความตั้งใจในการทาภาระงาน และการเข้าถึงการเรียนรู้ของผู้เรียน และการเรียนในรูปแบบนี้จะส่งเสริมการโต้ตอบและการสื่อสาร ระหว่างผู้เรียนกับผู้สอน และผู้เรียนกับผู้เรียนสอดคล้องกับการวิจัยของโดนัลสัน (Donalson. 2011 : Abstract) ซึ่งได้ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมอันพึงประสงค์ในการใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย เพื่อค้นหาว่าความแตกต่างด้านเพศและวัยมีผลต่อการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายหรือไม่ โดยใช้กลุ่ม ตัวอย่างคือผู้เรียนจานวน 330 คน ผลการวิจัยพบว่าผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง การมีแนวทางในด้าน สังคม การได้รับความสนุกสนานในการเรียนรู้ การเกิดความสมัครใจจากการใช้การเรียนรู้ดังกล่าวได้ ปรากฏเป็นพฤติกรรมที่เด่นชัด และความแตกต่างในด้านเพศและวัยไม่ส่งผลในการเรียนผ่านเครือข่าย ไร้สาย งานวิจัยนี้ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อการเข้าใจและพัฒนาการยอมรับในการเรียนผ่าน เครือข่ายไร้สายสาหรับผู้เรียนที่มีแนวโน้มที่จะเลือกการใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายอย่างถูกต้องและ เป็นประโยชน์ ข้อเสนอแนะ 1. ข้อเสนอแนะ 1.1 การจัดกลุ่มนักเรียนควรเป็นกลุ่มคละความสามารถ มีทั้งเก่ง ปานกลาง อ่อน เพื่อให้นักเรียนได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน และเพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้และพัฒนาความสามารของ ตนเองอย่างเต็มที่ 1.2 การส่งข้อความในการเรียนผ่านเครือข่ายนั้น นอกจากใช้การบริการการส่งข้อความ สั้น และจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แล้วยังมีสื่อกลางหรือโปรแกรมอื่นๆอีก เพื่อเป็นการเลือกใช้ตามความ เหมาะสมของการเรียนการสอน ดังนั้น ครูผู้สอนจึงควรเลือกสื่อกลางหรือโปรแกรมต่างๆที่เหมาะสม กับการจัดกิจกรรมการเรียน เช่น Facebook Line เป็นต้น 1.3 เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้ในการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายมีหลายรูปแบบ ครูผู้สอน สามารถเลือกใช้ตามความเหมาะสม นอกจากโทรศัพท์มือถือ และคอมพิวเตอร์แล้ว ยังมีเครื่องเล่น เพลง กล้องดิจิตอล กล้องวีดิโอ หรือ เครื่องบันทึกเสียง ที่สามารถนามาใช้ในการจัดกิจกรรมและ เพื่อช่วยในการดึงดูดความสนใจของนักเรียนเพิ่มขึ้น 2. ข้อเสนอแนะในการทาวิจัยครั้งต่อไป 2.1 ควรที่จะศึกษาการพัฒนาทักษะการอ่านภาษาอังกฤษที่ใช้โปรแกรมที่มีความรวดเร็ว เช่น การพัฒนาการอ่านโดยใช้การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายผ่านโปรแกรม Line หรือ Facebook 2.2 ควรมีการศึกษาหรือวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาทักษะการเขียนภาษาอังกฤษโดยใช้การ เรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย ที่ส่งผลต่อตัวแปรอื่นๆ เช่น ความคิดสร้างสรรค์ในการเขียน (creative thinking) 2.2 ควรมีการเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบการเรียนผ่านเครือข่ายไร้สายและรูปแบบการ เขียน โดยยึดกิจกิจกรรมการเขียนอื่นๆ เช่น การเขียนแบบร่วมมือว่ามีผลแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร