SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 9
Descargar para leer sin conexión
การบวก,ลบ,คูณ,หารของเศษส่วน
   หลักการ
   ทาตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วนาตัวเศษมาบวกหรือลบกัน
กล่าวคือ ถ้า และ แทนเศษส่วนใดๆจะได้ว่า
  เศษส่วน

  วิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจานวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน




     วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีท ี่นิยม
ใช ้เมื่อ เศษส่วน เป็นจานวน
 ที่มีค่ามาก
หมายเหตุ การบวกและการลบเศษส่วนอาจทาได้โดยใช้วิธีลัด
ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60



การคูณและการหารเศษส่วน




                      คุณสมบัติของเลขยกกาลัง
1. an = a x a x a x … x a (n ตัว)[เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก]
2. a-n = 1 an [a 0]
3. a0 = 1 [a 0]
4. am x an = am+n [ฐานเหมือนกันคูณกันนากาลังบวกกัน]
5. am an = am-n [ฐานเหมือนกัน หารกันนากาลังลบกัน]
6. (am)n = am x n [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน]
7. (a x b)n = an x bn [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน]
8. [ ]n = an bn , b 0 [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน]
9. (a b)m am bm
10. an / m = ( )n
11. = x [a > 0, b > 0]
คุณสมบัติของอัตราส่วน
  1. a : b = c : d เมื่อ ad = bc
  2. a : b = c : d เมื่อ
  3. a : b = c : d เมื่อ
  4. a : b = c : d เมื่อ
  5. a : b = c : d เมื่อ
  6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c
  7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c


                                   ระบบจานวน
การหา ห.ร.ม.
   1.วิธีการแยกตัวประกอบ
      (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
      (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว แล้วคูณกัน
เป็น ห.ร.ม.
   2. วิธีการตั้งหารสั้น
      (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็น
จานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจานวนทุกตัวที่หา ห.ร.ม. ลงตัวได้
ทั้งหมด
       (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด
การหา ค.ร.น.
    1. วิธีการแยกตัวประกอบ
       (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ
       (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว พร้อมทั้ง
หาตัวที่ไม่ซ้ากันลงมาด้วยและนามาคูณกันเป็น ค.ร.น.
    2. วิธีการตั้งหารสั้น
       (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็น
จานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลงตัวอย่างน้อย 2 ตัว หรือหาก
จานวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหาร
ต่อไปไม่ได้
       (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด
ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น.
       (1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จานวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ
a,b ก็จะได้ว่า a x b =
    cxd
       (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน=

    (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =
การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจานวน
   1. จานวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0
ด้วย
   2. จานวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่นาแต่ละหลักของเลขจานวนนั้น
มาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 สามารถหารได้
ลงตัวซึ่งนั่นคือจานวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัว
เลขที่ 3 ไม่สามารถหารได้ลงตัวก็คือจานวนนั้นสามารถที่จะนา 3 มาหารได้
ลงตัว
   3. จานวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0
เท่านั้น
คุณสมบัติของ 0, 1
   1. a + 0 = 0 + a = a
   2. a x 0 = 0 x a = 0
   3. a x 1 = 1 x a = a
   4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0
โดยกาหนดให้ a แทนจานวนใดๆ
คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ
   1. a + b = b + a
   2. a x b = b x a
โดยกาหนดให้ a, b = จานวนใดๆ
คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ
   1. (a + b) + c = a + (b + c)
2. (b + c) x c = a x (b x c)
โดยกาหนด a, b, c = จานวนใดๆ
คุณสมบัติการแจกแจง
   1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c)
   2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a)
โดยกาหนดให้ a, b, c = จานวนใดๆ
ข้อสังเกตในการบวกและคูณจานวนเลขคู่และเลขคี่
   1. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคู่
   2. จานวนคี่ + จานวนคี่ = จานวนคู่
   3. จานวนคี่ + จานวนคู่ = จานวนคี่
   4. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคี่
   5. จานวนคู่ x จานวนคู่ = จานวนคู่
   6. จานวนคี่ x จานวนคี่ = จานวนคี่
   7. จานวนคี่ x จานวนคู่ = จานวนคู่
   8. จานวนคู่ x จานวนคี่ = จานวนคู่
การหาผลบวกของจานวนเต็ม
   1. การหาผลบวกของจานวนเต็มลบ
จะได้ (-) + (-) = (-)
   2. การหาผลบวกระหว่างจานวนเต็ม
จะได้
       2.1 ถ้า |(+)| > |(-)| (+) + (-)
= |(+)| - |(-)| = (+)
2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-)
= |(+)| - |(-)| = (-)
การหาผลลบของจานวนเต็ม
   สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ
หมายเหตุ จานวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a
จานวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a)
การหาผลคูณของจานวนเต็ม
   1. การผลคูณของจานวนเต็มบวก
จะได้ (+) x (+) = (+)
   2. การผลคูณของจานวนเต็มลบ
จะได้ (-) x (-) = (+)
   3.การผลคูณของจานวนเต็มบวกและจานวนเต็มลบ
จะได้ (+) x (-) = (-)
   4.การหาผลคูณของจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก
จะได้ (-) x (+) = (-)
การหาผลหารของจานวนเต็ม
   สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร
   1. การผลหารของจานวนเต็มบวก
(+) (+) = (+)
   2. การหาผลหารของจานวนเต็มลบ
(-) (-) = (+)
   3. การผลหารระหว่างจานวนต็มบวกและจานวนเต็มลบ
(+) (-) = (-)
   4. การหาผลหารระหว่างจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก
(+) (-) = (-)
คุณสมบัติของจานวนจริง
   1. คุณสมบัติปิดของการบวก
a + b เป็นจานวนจริง
   2. คุณสมบัติของการคูณ
a x b เป็นจานวนจริง
   3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก
(a + b) + c = a + (b + c)
   4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ
(a +b) x c = a x (b x c)
   5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก
a+b=b+a
   6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ
axb=bxa
  7. เอกลักษณ์การบวก
   เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0
0+a=a=a+0
  8. เอกลักษณ์การคูณ
  เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1
1xa=a=ax1
9. อินเวอร์สการบวก
  อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a
(-a) + a = 0 = a + (-a)
  10. อินเวอร์สการคูณ
อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ [a 0] x a = 1 = a x
  11. คุณสมบัติการแจกแจง
a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
guychaipk
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
waranyuati
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
Piyanouch Suwong
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
kroojaja
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
นายเค ครูกาย
 

La actualidad más candente (20)

หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การหารพหุนาม
การหารพหุนามการหารพหุนาม
การหารพหุนาม
 
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนามการแยกตัวประกอบของพหุนาม
การแยกตัวประกอบของพหุนาม
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)เมทริกซ์ (Matrix)
เมทริกซ์ (Matrix)
 
รากที่สอง..
รากที่สอง..รากที่สอง..
รากที่สอง..
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 5 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
work1
work1work1
work1
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 

Similar a สรุปสูตร ม.1

ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
Piyanouch Suwong
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
guest89040d
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
wisita42
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
Thidarat Termphon
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
Pasit Suwanichkul
 

Similar a สรุปสูตร ม.1 (20)

ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกแนวข้อสอบPat1 พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบทเจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
เจาะลึกการออกข้อสอบ Pat1 คณิตศาสตร์พร้อมสรุปสูตรและทฤษฎีครบทุกบท
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
ระบบจำนวน
ระบบจำนวนระบบจำนวน
ระบบจำนวน
 
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์สรุปสูตรคณิตศาสตร์
สรุปสูตรคณิตศาสตร์
 
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน ค31103
สื่อเรื่องระบบจำนวนจริง ครูขวัญแก้ว มีเหมือน ค31103
 
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
คณิตศาสตร์ ม.ปลาย พค31001
 
Sk7 ma
Sk7 maSk7 ma
Sk7 ma
 
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
สรุปเข้มฯ#7 คณิตศาสตร์
 

Más de krutew Sudarat

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
krutew Sudarat
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
krutew Sudarat
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1
krutew Sudarat
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
krutew Sudarat
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4
krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3
krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2
krutew Sudarat
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1
krutew Sudarat
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมอง
krutew Sudarat
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
krutew Sudarat
 

Más de krutew Sudarat (18)

แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์แบบรูปและความสัมพันธ์
แบบรูปและความสัมพันธ์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงาน 1
ใบงาน 1ใบงาน 1
ใบงาน 1
 
แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1แบบรูปและความสัมพันธ1
แบบรูปและความสัมพันธ1
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  ๑ 2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัดสู่การพัฒนาทักษะการคิด ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ 2
 
ดงมรณะ7
ดงมรณะ7ดงมรณะ7
ดงมรณะ7
 
ดงมรณะ6
ดงมรณะ6ดงมรณะ6
ดงมรณะ6
 
ดงมรณะ5
ดงมรณะ5ดงมรณะ5
ดงมรณะ5
 
ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4ไพรมหากาฬ4
ไพรมหากาฬ4
 
ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3ไพรมหากาฬ3
ไพรมหากาฬ3
 
ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2ไพรมหากาฬ2
ไพรมหากาฬ2
 
ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1ไพรมหากาฬ1
ไพรมหากาฬ1
 
ฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมองฝึกทักษะให้สมอง
ฝึกทักษะให้สมอง
 
Math m1 book2
Math m1 book2Math m1 book2
Math m1 book2
 
Math m1 book1
Math m1 book1Math m1 book1
Math m1 book1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้นข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.ต้น
 
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่านเสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
เสียดายคนตายไม่ได้อ่าน
 

สรุปสูตร ม.1

  • 1. การบวก,ลบ,คูณ,หารของเศษส่วน หลักการ ทาตัวส่วนของเศษส่วนให้เท่ากัน แล้วนาตัวเศษมาบวกหรือลบกัน กล่าวคือ ถ้า และ แทนเศษส่วนใดๆจะได้ว่า เศษส่วน วิธีที่ 1 เปลี่ยนเศษส่วนจานวนคละให้เป็นเศษส่วนเกิน วิธีที่ 2 ใช้สมบัติการสลับที่และสมบัติการเปลี่ยนกลุ่ม ซึ่งเป็นวิธีท ี่นิยม ใช ้เมื่อ เศษส่วน เป็นจานวน ที่มีค่ามาก
  • 2. หมายเหตุ การบวกและการลบเศษส่วนอาจทาได้โดยใช้วิธีลัด ตัวอย่าง ค.ร.น. ของ 3, 12 และ 20 เท่ากับ 60 การคูณและการหารเศษส่วน คุณสมบัติของเลขยกกาลัง 1. an = a x a x a x … x a (n ตัว)[เมื่อ n เป็นจานวนเต็มบวก] 2. a-n = 1 an [a 0] 3. a0 = 1 [a 0] 4. am x an = am+n [ฐานเหมือนกันคูณกันนากาลังบวกกัน] 5. am an = am-n [ฐานเหมือนกัน หารกันนากาลังลบกัน] 6. (am)n = am x n [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน] 7. (a x b)n = an x bn [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน] 8. [ ]n = an bn , b 0 [กาลังซ้อนกันนากาลังไปคูณกัน] 9. (a b)m am bm 10. an / m = ( )n 11. = x [a > 0, b > 0]
  • 3. คุณสมบัติของอัตราส่วน 1. a : b = c : d เมื่อ ad = bc 2. a : b = c : d เมื่อ 3. a : b = c : d เมื่อ 4. a : b = c : d เมื่อ 5. a : b = c : d เมื่อ 6. a : b = c : d เมื่อb : a = d : c 7. a : b และ b : c จะได้ a : b : c ระบบจานวน การหา ห.ร.ม. 1.วิธีการแยกตัวประกอบ (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว แล้วคูณกัน เป็น ห.ร.ม. 2. วิธีการตั้งหารสั้น (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ห.ร.ม. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็น
  • 4. จานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารจานวนทุกตัวที่หา ห.ร.ม. ลงตัวได้ ทั้งหมด (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณเป็น ห.ร.ม. ทั้งหมด การหา ค.ร.น. 1. วิธีการแยกตัวประกอบ (1) แยกตัวประกอบของแต่ละจานวนให้เป็นตัวประกอบเฉพาะ (2) เลือกเอาตัวประกอบที่ซ้ากันของแต่ละจานวนมา 1 ตัว พร้อมทั้ง หาตัวที่ไม่ซ้ากันลงมาด้วยและนามาคูณกันเป็น ค.ร.น. 2. วิธีการตั้งหารสั้น (1) นาตัวเลขที่ต้องการหา ค.ร.น. มาตั้งหารสั้นโดยหาตัวหารที่เป็น จานวนเฉพาะมาหารและสามารถหารได้ลงตัวอย่างน้อย 2 ตัว หรือหาก จานวนใดที่ไม่สามารถหารลงตัวก็ให้ดึงตัวเลขนั้นลงมาแล้วหารจนหาร ต่อไปไม่ได้ (2) นาตัวหารที่ได้มาคูณกันเป็น ค.ร.น. ทั้งหมด ความสัมพันธ์ของ ห.ร.ม. และ ค.ร.น. (1) ให้ a, b เป็นเลข 2 จานวน โดย c เป็น ห.ร.ม. และ d เป็น ค.ร.น. ของ a,b ก็จะได้ว่า a x b = cxd (2) ห.ร.ม. ของเศษส่วน= (3) ค.ร.น. ของเศษส่วน =
  • 5. การตรวจสอบการหารแบบลงตัวในบางจานวน 1. จานวนที่ 2 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลขคู่ซึ่งจะรวม 0 ด้วย 2. จานวนที่ 3 หารลงตัวจะเป็นจานวนที่นาแต่ละหลักของเลขจานวนนั้น มาบวกเข้าด้อยกันทุกหลัก เมื่อผลบวกออกมาเป็นตัวเลขที่ 3 สามารถหารได้ ลงตัวซึ่งนั่นคือจานวนที่ 3 สามารถหารได้ลงตัว แต่ถ้าผลบวกออกมาเป็นตัว เลขที่ 3 ไม่สามารถหารได้ลงตัวก็คือจานวนนั้นสามารถที่จะนา 3 มาหารได้ ลงตัว 3. จานวนที่ 5 หารลงตัว ซึ่งจะมีเพียงจานวนที่มีหลักหน่วยเป็นเลข 5, 0 เท่านั้น คุณสมบัติของ 0, 1 1. a + 0 = 0 + a = a 2. a x 0 = 0 x a = 0 3. a x 1 = 1 x a = a 4. a 0 จะไม่มีค่า เมื่อ a 0 โดยกาหนดให้ a แทนจานวนใดๆ คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก, การคูณ 1. a + b = b + a 2. a x b = b x a โดยกาหนดให้ a, b = จานวนใดๆ คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มของการบวก, การคูณ 1. (a + b) + c = a + (b + c)
  • 6. 2. (b + c) x c = a x (b x c) โดยกาหนด a, b, c = จานวนใดๆ คุณสมบัติการแจกแจง 1. a x (b +c) = (a x b) + (a x c) 2. (b + c) x a = (b x a) + (c x a) โดยกาหนดให้ a, b, c = จานวนใดๆ ข้อสังเกตในการบวกและคูณจานวนเลขคู่และเลขคี่ 1. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคู่ 2. จานวนคี่ + จานวนคี่ = จานวนคู่ 3. จานวนคี่ + จานวนคู่ = จานวนคี่ 4. จานวนคู่ + จานวนคู่ = จานวนคี่ 5. จานวนคู่ x จานวนคู่ = จานวนคู่ 6. จานวนคี่ x จานวนคี่ = จานวนคี่ 7. จานวนคี่ x จานวนคู่ = จานวนคู่ 8. จานวนคู่ x จานวนคี่ = จานวนคู่ การหาผลบวกของจานวนเต็ม 1. การหาผลบวกของจานวนเต็มลบ จะได้ (-) + (-) = (-) 2. การหาผลบวกระหว่างจานวนเต็ม จะได้ 2.1 ถ้า |(+)| > |(-)| (+) + (-) = |(+)| - |(-)| = (+)
  • 7. 2.2 ถ้า |(+)| < |(-)| (+) +(-) = |(+)| - |(-)| = (-) การหาผลลบของจานวนเต็ม สูตร = ตัวตั้ง – ตัวลบ = ตัวตั้ง + จานวนตรงข้ามของตัวลบ หมายเหตุ จานวนตรงข้ามของ a เขียนด้วย –a จานวนตรงข้ามของ –a เขียนแทนด้วย –(-a) การหาผลคูณของจานวนเต็ม 1. การผลคูณของจานวนเต็มบวก จะได้ (+) x (+) = (+) 2. การผลคูณของจานวนเต็มลบ จะได้ (-) x (-) = (+) 3.การผลคูณของจานวนเต็มบวกและจานวนเต็มลบ จะได้ (+) x (-) = (-) 4.การหาผลคูณของจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก จะได้ (-) x (+) = (-) การหาผลหารของจานวนเต็ม สูตร ตัวตั้ง ตัวหาร 1. การผลหารของจานวนเต็มบวก (+) (+) = (+) 2. การหาผลหารของจานวนเต็มลบ (-) (-) = (+) 3. การผลหารระหว่างจานวนต็มบวกและจานวนเต็มลบ
  • 8. (+) (-) = (-) 4. การหาผลหารระหว่างจานวนเต็มลบและจานวนเต็มบวก (+) (-) = (-) คุณสมบัติของจานวนจริง 1. คุณสมบัติปิดของการบวก a + b เป็นจานวนจริง 2. คุณสมบัติของการคูณ a x b เป็นจานวนจริง 3. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการบวก (a + b) + c = a + (b + c) 4. คุณสมบัติการเปลี่ยนกลุ่มได้ของการคูณ (a +b) x c = a x (b x c) 5. คุณสมบัติการสลับที่ของการบวก a+b=b+a 6. คุณสมบัติการสลับที่ของการคูณ axb=bxa 7. เอกลักษณ์การบวก เอกลักษณ์ของการบวก คือ 0 0+a=a=a+0 8. เอกลักษณ์การคูณ เอกลักษณ์ของการคูณ คือ 1 1xa=a=ax1
  • 9. 9. อินเวอร์สการบวก อินเวอร์สการบวกของ a ได้แก่ –a (-a) + a = 0 = a + (-a) 10. อินเวอร์สการคูณ อินเวอร์สของการคูณของของ a คือ [a 0] x a = 1 = a x 11. คุณสมบัติการแจกแจง a x ( b+ c) = (a x b) + (a x c)