SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
Descargar para leer sin conexión
หน่ วยการเรียนรู้ ที
                                อารมณ์ และความเครียด
  รายวิชา สุ ขศึกษา                            กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา
  ชันมัธยมศึกษาปี ที                                                    เวลาเรียน ชัวโมง


1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด
     พ .      ม. /     อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                                      ้
              ม. /     เสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                                      ั

2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
    อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตใจของมนุษย์ทุกคน การมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด
ตลอดจนมีวธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่างเหมาะสม ย่อมทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตสดชืนแจ่มใส
         ิ                                                               ้

3.สาระการเรียนรู้
      . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
        1) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                       ้
          ) วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                    ั
      . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
        -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      . ความสามารถในการสื อสาร
      . ความสามารถในการคิด
         ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
         ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                ิ
         ) ทักษะการสร้างความรู ้
      . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                              ั    ิ
        1) กระบวนการทํางานกลุ่ม

                                             138
5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
     1. มีวนย
            ิ ั
     2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
     3. มุ่งมันในการทํางาน

6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
     การจัดป้ ายนิ เทศ เรื อง อารมณ์และความเครี ยด

7.การวัดและการประเมินผล
      . การประเมินก่ อนเรียน
        - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
         ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง
         ) ประเมินการนําเสนอผลงาน
         ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม
      . การประเมินหลังเรียน
        - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที
      . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
        - ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง อารมณ์และความเครี ยด

8.กิจกรรมการเรียนรู้
        นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

                                 กิจกรรมที อารมณ์ และความเครียด

  วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ ,
  กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ                                                  เวลา ชั วโมง

      . นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปราย
        แสดงความคิดเห็นเกียวกับคําว่า “อารมณ์ศิลปิ น” ในความหมายของนักเรี ยน แล้วให้แต่ละกลุ่ม
        ร่ วมกันสรุ ปผลการอภิปราย จากนันส่ งตัวแทนกลุ่มออกมานําเสนอทีหน้าชันเรี ยน

                                                 139
. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจพฤติกรรมของนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องว่า อารมณ์
                       ั                                    ่
    ศิลปิ นในช่วงวัยรุ่ นนัน เป็ นอารมณ์ทีฉาบฉวยทีเกิดขึนชัวขณะ โดยอาจเกิดจากภาวะความเครี ยด
    ซึ งเป็ นสาเหตุสาคัญทีทําให้พฤติกรรมเปลียนไป
                         ํ
 . ครู อธิ บายเพิมเติมเพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์ แล้วให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้
                                 ั                                              ั
    เรื อง อารมณ์และความเครี ยดทีมีผลต่อสุ ขภาพ จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม
    ตามความเหมาะสม
4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน โดยคละเพศ เพือให้แต่ละกลุ่มมีมุมมองทีกว้างขึน และสามารถ
    แลกเปลียนความรู ้ความคิดเห็นได้ดียงขึน ิ
 . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุของความเครี ยดทีเกิดกับวัยรุ่ น โดยครู กาหนดสาเหตุ
                   ั                                                                   ํ
    ทีเป็ นประเด็นกว้างๆ ดังนี
      ) ภาวะด้านร่ างกาย
      ) ภาวะด้านจิตใจ
      ) ภาวะด้านสังคม หรื อสิ งแวดล้อม
 . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการวิเคราะห์ทีหน้าชันเรี ยน เพือแลกเปลียนความรู ้
    กับกลุ่มอืนๆ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม
 . ครู อธิ บายถึงสาเหตุและลักษณะทีบ่งบอกเมือเกิดความเครี ยด พร้อมทังกล่าวถึงผลของอารมณ์และ
    ความเครี ยดต่อสุ ขภาพ แล้วให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง เสร็ จแล้วนําส่ ง
                                       ั
    ครู ผสอน
          ู้
 . ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับลักษณะอาการของคนทีมีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต
 . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน
                     ั                                        ้
    หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
  . ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน
             ั                                                                             ั
    อภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันในชันเรี ยน
  . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด จากหนังสื อเรี ยน
               ั                             ั
    หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
  . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด แล้วให้
                 ั
    นําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผังความคิด
  . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผัง
    ความคิด เมือนําเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า วิธีการจัดการกับอารมณ์และ
                                                          ั
    ความเครี ยดแต่ละวิธีมีความเหมาะสมกับบุคคลต่างๆ แตกต่างกัน ดังนันจึงควรเลือกวิธีทีเหมาะสม
    กับตนเองมากทีสุ ด
                                            140
. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุ ปความรู ้ทีได้จากการเรี ยน มาจัดทําเป็ นป้ ายนิเทศ เรื อง อารมณ์
                 ั
         และความเครี ยด โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลา
         ในการส่ งผลงาน

           นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     9.1 สื อการเรี ยนรู้
         1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
          ) ใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด
          ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง
      . แหล่ งการเรียนรู้
          ) ห้องสมุด
         2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
              www.psyclin.co.th/new_page_82.htm
              www.allsands.com/health/copingskillsfo_rkt_gh.htm
              www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?...




                                                    141
การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
                      แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง อารมณ์ และความเครียด
                                                          คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน
 รายการประเมิน
                               ดีมาก (4)                      ดี (3)                 พอใช้ (2)               ปรับปรุง ( )
. ลักษณะอารมณ์        บอกลักษณะอารมณ์             บอกลักษณะอารมณ์ บอกลักษณะอารมณ์                    บอกลักษณะอารมณ์
  และความเครียด       และความเครี ยดของ           และความเครี ยดของ และความเครี ยดของ                และความเครี ยดของ
  ของวัยรุ่น          วัยรุ่ นได้ถูกต้อง ชัดเจน   วัยรุ่ นได้ถูกต้อง        วัยรุ่ นได้ถูกต้อง       วัยรุ่ นได้ถูกต้อง
                                                  เป็ นส่วนใหญ่             เป็ นบางส่วน             เพียงส่วนน้อย
. ลักษณะอาการ     อธิบายลักษณะอาการ               อธิบายลักษณะอาการ อธิบายลักษณะอาการ                อธิบายลักษณะอาการ
                  เบืองต้นของผูมีปัญหา
  เบืองต้ นของผู้มี            ้                  เบืองต้นของผูมีปัญหา เบืองต้นของผูมีปัญหา
                                                                     ้                       ้       เบืองต้นของผูมีปัญหา
                                                                                                                      ้
  ปัญหาสุ ขภาพจิต สุขภาพจิตได้ถูกต้อง             สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง            สุขภาพจิตได้ถูกต้อง
                  ชัดเจน                          เป็ นส่วนใหญ่             เป็ นบางส่วน             เพียงส่วนน้อย
. การเสนอแนะวิธี เสนอแนะวิธีปฏิบติตนั             เสนอแนะวิธีปฏิบติตน เสนอแนะวิธีปฏิบติตน
                                                                       ั                         ั   เสนอแนะวิธีปฏิบติตน  ั
  ปฏิบัตตนเพือ
        ิ         เพือจัดการกับอารมณ์             เพือจัดการกับอารมณ์ เพือจัดการกับอารมณ์            เพือจัดการกับอารมณ์
  จัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้               และความเครี ยดได้         และความเครี ยดได้        และความเครี ยดได้
  และความเครียด ถูกต้อง เหมาะสม และ               ถูกต้อง เหมาะสม           ถูกต้องเป็ นบางส่วน      ถูกต้องเพียงส่วนน้อย
                  นําไปปฏิบติได้ง่าย
                            ั                     เป็ นส่วนใหญ่ และ         และนําไปปฏิบติ     ั     และนําไปปฏิบติ     ั
                                                  นําไปปฏิบติได้ง่าย
                                                                 ั          ได้ค่อนข้างยาก           ได้ยาก
. การจัดระบบของ เรี ยงลําดับข้อมูลบน              เรี ยงลําดับข้อมูลบน เรี ยงลําดับข้อมูลบน          เรี ยงลําดับข้อมูลบน
  ข้ อมูลบนป้ าย ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น             ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น      ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น     ป้ ายนิเทศ
  นิเทศ          ขันตอน และมีการ                  ขันตอน และมีการ           ขันตอน และมีการ          ไม่เหมาะสม และไม่มี
                 เชือมโยงกันอย่าง                 เชือมโยงกันอย่าง          เชือมโยงกันอย่าง         การเชือมโยงกัน
                 เหมาะสมทุกประเด็น                เหมาะสมเป็ นส่วนใหญ่ เหมาะสมเป็ นบางส่วน


                                             เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ
                                   ช่ วงคะแนน                         ระดับคุณภาพ
                                       14-16                             ดีมาก
                                       11-13                               ดี
                                        8-10                             พอใช้
                                      ตํากว่า                           ปรับปรุ ง


                                                            142
แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

คําชี แจง    ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว
                 ั

1.     ข้อใดอธิ บายความหมายของความเครี ยดได้ถูกต้อง
       ก. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้รู้สึกกลัว
                             ้
       ข. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้มีความสุ ข
                               ้
       ค. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้ตืนเต้น หรื อวิตกกังวล
                                 ้
       ง. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้เกิดความเศร้าโศกเสี ยใจ
                                   ้

 .     การกระทําของบุคคลในข้อใดเห็นได้ชดว่า เริ มเกิดความเครี ยดแล้ว
                                         ั
       ก. นําชารู ้สึกเบืออาหาร
                     ่
       ข. นําอบอยูกลางแจ้งได้ไม่นาน
       ค. นําฝนรับประทานอาหารบ่อยมาก
       ง. นําหวานอารมณ์เสี ยบ่อย และหงุดหงิดง่าย

 .     หากปล่อยให้ตนเองมีความเครี ยดสะสมไว้เป็ นเวลานาน จะส่ งผลให้เกิดการเจ็บป่ วยทีรุ นแรงได้
       ยกเว้ นข้อใด
       ก. โรคจิต                                 ข. โรคเก๊าท์
       ข. โรคประสาทบางชนิด                       ง. โรคกระเพาะอาหาร

 .     การทีบุคคลรู ้จกควบคุมอารมณ์ สามารถยอมรับได้ทงความสําเร็ จและความผิดหวัง แสดงให้เห็นอะไร
                      ั                             ั
       ก. การรู ้จกและเข้าใจตนเอง
                  ั
       ข. การรู ้จกตนเองและเข้าใจผูอืน
                    ั              ้
       ค. ความสามารถในการเผชิ ญปั ญหา
       ง. การยอมรับความเป็ นจริ งของชีวต
                                       ิ

 .     ปั ญหาสุ ขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่ างกาย ยกเว้ นข้อใด
       ก. ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย                       ข. หายใจติดขัด ใจสัน
       ค. ยิม และหัวเราะตลอดเวลา                    ง. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี ยวแรง
                                                   143
6.      ใครจัดการกับความเครี ยดได้เหมาะสมทีสุ ด
        ก. กายปา และทําลายข้าวของ
        ข. แก้วซื อของทีตนเองอยากได้ทุกอย่าง
                                       ั
        ค. เกดออกไปเทียวสถานเริ งรมย์กบเพือน
        ง. กุ๊กอ่านหนังสื อทีตนเองชอบ แม้จะเคยอ่านแล้ว

 .      การออกกําลังกายช่วยผ่อนคลายความเครี ยดได้อย่างไร
        ก. ทําให้ลืมความเครี ยดไปชัวขณะหนึง              ข. ทําให้กล้ามเนือผ่อนคลาย
        ค. ทําให้เกิดความสนุกสนาน                        ง. ทําให้รู้สึกสดชืน

 .      ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของการหัวเราะ
        ก. ขจัดความเครี ยด
        ข. ลดความดันโลหิ ต
        ค. ทําให้เป็ นทีสนใจของคนรอบข้าง
        ง. กระตุนการทํางานของสมองทําให้พฒนาการทางสมองดีขึน
                  ้                        ั

 .      คุณค่าของการฝึ กบริ หารจิตในข้อใดมีความชัดเจนทีสุ ด
        ก. หมากเรี ยนหนังสื อได้ปกติ
        ข. ปุ๊ กลุกสามารถทํางานได้สมําเสมอ
        ค. นําหวานอยูร่วมกับผูอืนได้โดยไม่มีปัญหา
                       ่       ้
        ง. กุ๊บกิบสามารถกําจัดสิ งทีมารบกวนจิตให้นอยลงได้
                                                  ้

     . ข้อใดอธิ บายประโยชน์ของการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ชดเจนทีสุ ด
                                                                  ั
       ก. มีอารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส โกรธยาก              ข. รับประทานอาหารได้มากขึน
       ค. มีสมรรถภาพทางกายทีดี                        ง. หัวใจเต้นช้าลง


            เฉลย        แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที
                     1. ค          .ง           .ข            .ก    .ค
                      .ง           .ข           .ค            .ง     .ก

                                                  144
แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1

  เรือง อารมณ์ และความเครี ยด                                                เวลา ชัวโมง
  หน่ วยการเรียนรู้ ที 6 อารมณ์ และความเครียด                            ชันมัธยมศึกษาปี ที

1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด
    อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตใจของมนุษย์ทุกคน การมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด
ตลอดจนมีวธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่างเหมาะสม ย่อมทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตทีสดใส
         ิ                                                               ้

2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้
     2.1   ตัวชี วัด
           พ .         ม. /    อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                                              ้
                       ม. /    เสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                                              ั
     2.2   จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
            ) อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิตได้
                                                ้
            ) บอกวิธีการปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้
                               ั
           3) ปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ถูกต้อง เหมาะสม
                     ั

3.สาระการเรียนรู้
      .    สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง
           1) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                          ้
             ) วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                       ั
      .    สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน
           -

4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
      .    ความสามารถในการสื อสาร
      .    ความสามารถในการคิด
            ) ทักษะการคิดวิเคราะห์
            ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ
                                 ิ
           3) ทักษะการสร้างความรู ้
                                              145
4.3 ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต
                            ั      ิ
        1) กระบวนการทํางานกลุ่ม

5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    1. มีวนย
           ิ ั
     . ใฝ่ เรี ยนรู ้
     . มุ่งมันในการทํางาน

6.กิจกรรมการเรียนรู้
     (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ)
         นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

                                               ชั วโมงที

    1. นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดง
        ความคิดเห็นเกียวกับคําว่า “อารมณ์ศิลปิ น” ในความหมายของนักเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยน
                                                                                            ้     ั
        ทุกคนมีส่วนร่ วมในการอภิปราย
     . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันสรุ ปผลการอภิปราย แล้วส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการอภิปรายที
        หน้าชันเรี ยน
      . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจพฤติกรรมของนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องว่า อารมณ์
                        ั                                       ่
        ศิลปิ นในช่วงวัยรุ่ นนัน เป็ นอารมณ์ทีฉาบฉวยทีเกิดขึนชัวขณะ โดยอาจเกิดจากภาวะความเครี ยด
        ซึ งเป็ นสาเหตุสาคัญทีทําให้พฤติกรรมเปลียนไป
                          ํ
                                                                             ่
      . ครู อธิ บายเพิมเติมเพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์วา อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตของ
                                     ั
        มนุษย์ทุกคน เมือเกิดความทุกข์ก็จะส่ งผลให้เกิดความเครี ยด เมือเกิดความเครี ยดขึน จะต้องมีวธีการ
                                                                                                    ิ
        จัดการกับความเครี ยดทีเหมาะสม มิเช่นนันจะส่ งผลเสี ยต่อร่ างกายหลายด้าน ดังนันการมีความรู ้
        ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด ตลอดจนวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่าง
        เหมาะสม ย่อมจะทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตแจ่มใส
                                       ้
      . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง อารมณ์และความเครี ยดทีมีผลต่อสุ ขภาพ จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ
              ั
        ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม


                                                 146
. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน โดยคละเพศเพือให้แต่ละกลุ่มมีมุมมองทีกว้างขึน และสามารถ
   แลกเปลียนความรู ้ความคิดเห็นได้ดียงขึน
                                      ิ
. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุของความเครี ยดทีเกิดขึนกับวัยรุ่ น โดยครู กาหนด
        ั                                                                               ํ
   สาเหตุทีเป็ นประเด็นกว้างๆ ดังนี
    ) ภาวะด้านร่ างกาย
    ) ภาวะด้านจิตใจ
    ) ภาวะด้านสังคม หรื อสิ งแวดล้อม
. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการวิเคราะห์ทีหน้าชันเรี ยน เพือแลกเปลียนความรู ้
   กับกลุ่มอืนๆ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม
 . ครู อธิ บายถึงสาเหตุและลักษณะทีบ่งบอกเมือเกิดความเครี ยด พร้อมทังกล่าวถึงผลของอารมณ์และ
   ความเครี ยดต่อสุ ขภาพ
 . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน
                                                                     ู้

                                        ชั วโมงที -

. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับลักษณะอาการของคนทีมีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต
. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ
             ั                                              ้
  หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
. ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาทางด้านจิตใจมีผลก่อให้เกิดความผิดปกติทางร่ างกาย เช่น
                  ั
  ปวดศีรษะ ซึ มเศร้า อ่อนเพลีย วิตกกังวล เป็ นต้น
. ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน
       ั                                                                                ั
  ร่ วมกันอภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันในชันเรี ยน
. ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด จากหนังสื อเรี ยน
         ั                               ั
  หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม
. ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด แล้วให้
           ั
  นําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผังความคิด ดังนี
  - กลุ่มหมายเลข การพักผ่อน
  - กลุ่มหมายเลข การนอนหลับ
  - กลุ่มหมายเลข การออกกําลังกาย
  - กลุ่มหมายเลข การผ่อนคลาย
  - กลุ่มหมายเลข การหัวเราะเพือคลายเครี ยด
  - กลุ่มหมายเลข การฝึ กบริ หารจิต


                                          147
. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผัง
         ความคิดทีหน้าชันเรี ยน เมือนําเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า วิธีการจัดการ
                                                                             ั
         กับอารมณ์และความเครี ยดแต่ละวิธีมีความเหมาะสมกับบุคคลต่างๆ แตกต่างกัน ดังนันจึงควรเลือก
         วิธีทีเหมาะสมกับตนเองมากทีสุ ด
       . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุ ปความรู ้ทีได้จากการเรี ยน มาจัดทําเป็ นป้ ายนิเทศ เรื อง อารมณ์
                  ั
         และความเครี ยด โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด ดังนี
         1) ลักษณะอารมณ์และความเครี ยดของวัยรุ่ น
         2) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                         ้
         3) การเสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                                    ั
         ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน

           นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที

7.การวัดและประเมินผล
                 วิธีการ                             เครืองมือ                            เกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน                 แบบทดสอบก่อนเรี ยน                       ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที .                          ใบงานที .                                ร้อยละ ผ่านเกณฑ์
ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง              แบบประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง             ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
อารมณ์และความเครี ยด                   อารมณ์และความเครี ยด
ประเมินการนําเสนอผลงาน                 แบบประเมินการนําเสนอผลงาน                ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม           แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม          ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน                 แบบทดสอบหลังเรี ยน                       ร้อยละ ผ่านเกณฑ์

8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้
     8.1     สื อการเรี ยนรู้
              ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม.
             2) ใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด
              ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง
     8.2     แหล่ งการเรียนรู้
             1) ห้องสมุด
             2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
                 www.psyclin.co.th/new_page_82.htm
                 www.allsands.com/health/copingskillsfo_rkt_gh.htm
                 www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?...
                                                   148
ใบความรู้
                        เรือง ทักษะในการเผชิญกับความเครียด

        ความเครี ยดเป็ นภาวะทีเกิดขึนเมือจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้ตืนเต้นหรื อวิตกกังวล ส่ งผล
                                                         ้
ให้เกิ ดการเปลี ยนแปลงด้านร่ างกาย หรื อเกิ ดอาการผิดปกติทางร่ างกายขึนได้ หากความเครี ยดมีมาก
และคงอยู่เป็ นเวลายาวนาน แต่ความเครี ยดไม่มากจะเป็ นตัวช่วยให้เกิ ดแรงกระตุน ให้เกิ ดแรงมุมานะ
                                                                                    ้
เอาชนะอุปสรรค และปั ญหาต่างๆ ได้ แต่ความเครี ยดมากเกินไป ประกอบกับการทีนักเรี ยนไม่สามารถ
ผ่อนคลายความเครี ยดด้วยวิธีการทีเหมาะสม อาจทําให้เกิดความผิดปกติทางร่ างกาย และจิตใจ ทําให้
ขาดความสุ ขในการดําเนินชีวตและความสามารถในการเรี ยนลดลง
                                 ิ
        การช่ วยนัก เรี ย นเข้า ใจถึ ง ความเครี ย ด ตระหนัก ถึ ง อาการที แสดงว่า ตนกํา ลัง มี ค วามเครี ย ด
ตลอดจนเรี ยนรู ้ ทกษะในการเผชิ ญกับความเครี ยดจะช่ วยให้มีความพร้ อมและตื นตัวอยู่เสมอในการ
                     ั
แก้ปัญหาก่อนทีปั ญหาจะรุ นแรงมากขึนเกินแก้ไข
        ลักษณะอาการทีบ่งบอกว่าบุคคลเริ มมีความเครี ยด มีการเปลี ยนแปลงต่อไปนี เกิ ดขึนอย่างน้อย
  เดือนทีผ่านมา
         . ปวดศีรษะ                          . นอนไม่หลับ                    . อ่อนเพลีย
         . กินมาก                            . ท้องผูก                       . ปวดหลัง
        7. มีอาการภูมิแพ้                   8. หวาดวิตก/ตาขยิบ              9. ฝันร้าย/นอนละเมอ/กัดฟัน
       10. ความดันเลือดสู ง                11. เป็ นลมพิษ                  12. ใช้ยาหรื อแอลกฮอล์
       13. มีไข้ตา ํ                       14. ท้องอืด                     15. หายใจหอบ
       16. กังวลใจ                         17. ประจําเดือนไม่ปกติ          18. มีอาการคันตามเนือตามตัว
       19. คลืนไส้อาเจียน                     . หงุดหงิด                      . ไมเกรน
          . ตืนเร็ วกว่าปกติ               23. เบืออาหาร                   24. ท้องเสี ย
       25. ปวดต้นคอและบริ เวณไหล่ 26. หอบหื ด                              27. ลําไส้อกเสบ
                                                                                       ั
       28. ซึ มเศร้า                       29. ข้ออักเสบ                   30. เป็ นหวัด
       31. มีอุบติเหตุเล็กน้อย
                 ั                         32. แผลในกระเพาะ                33. มือเท้าเย็น
         . ใจสัน                              . มีปัญหาทางเพศ                 . โกรธ โมโห
         . อืนๆ



                                                 149
สาเหตุของความเครียด
     ความเครี ยดเกิดจากสาเหตุภายนอกและภายในตัวบุคคล ดังนี
     1. สาเหตุจากภายนอกตัวบุคคล ได้แก่ สิ งแวดล้อมทีเป็ นกายภาพ สิ งแวดล้อมทางด้านสังคมและ
มนุษย์สัมพันธ์ และเหตุการณ์ต่างๆ ทีเกิดขึนในการดําเนินชีวต   ิ
           . สิ งแวดล้อมทางกายภาพ เป็ นความเครี ยดทีเกิดจากสิ งแวดล้อมรอบตัวทางกายภาพได้แก่
สภาพความร้อนหนาวของอากาศ อากาศทีหนาวเกินไปหรื อร้อนเกินไปทําให้ร่างกายไม่สุขสบาย การ
ขาดแคลนปั จจัยทีจําเป็ นในการดํารงชี วิต เช่ น อาหาร นํา เครื องนุ่ งห่ ม ที อยู่อาศัย และยารักษาโรค
เป็ นต้น
          . สังคมและสัมพันธ์ภาพกับคนอื น ได้แก่ ความไม่ปรองดองกันของบุ คคลในครอบครั ว
การทะเลาะเบาะแว้งและการโต้เถี ยงกัน การอิจฉากันเป็ นต้นเหตุของการมีจิตใจไม่สงบ สภาพความ
เป็ นอยู่ทีแออัดทําให้เกิ ดปั ญหาต่างๆ อันเป็ นสาเหตุแห่ งความเครี ยด เช่ น การทะเลาะวิวาท การใช้
                   ั                  ั                    ่
คําพูดเสี ยดสี กน การแก่งแย่งชิ งดีกน การขาดเพือนต้องอยูคนเดียวอย่างโดดเดียวก็จะทําให้เกิดภาวะ
เครี ยด เป็ นต้น
          . สภาวการณ์ และเหตุ ก ารณ์ อืนๆ ในชี วิต ได้แก่ การได้รับ บาดเจ็บ ความเจ็บ ป่ วย การ
สู ญเสี ย เช่ น สู ญเสี ยอวัยวะ บุคคลอันเป็ นทีรัก และสถานภาพทางสังคม (การถูกไล่ออกจากงาน การ
เกษียณอายุ) เป็ นต้น
         นอกจากนีเหตุการณ์ทีก่อให้เกิดความชื นชมยินดี เช่น การแต่งงาน การมีบุตร การขึนบ้านใหม่
การสร้ างครอบครัวใหม่ การเลื อนตําแหน่ งหน้าทีการงาน การเข้าทํางานใหม่ก็เป็ นเหตุการณ์ ทีเป็ น
สาเหตุของภาวะเครี ยดได้เช่นกัน เหตุการณ์ต่างๆ เหล่านีทําให้บุคคลต้องมีการปรับตัวและการปรับตัว
นัน หากไม่มีประสิ ทธิ ภาพจะทําให้เกิดความเครี ยดอย่างรุ นแรงได้

     . สาเหตุ จากภายในตัว บุ คคล ได้แก่ โครงสร้ างของร่ า งกาย และสภาวะทางสรี รวิทยา ระดับ
พัฒนาการและการรับรู ้ของบุคคล
         . โครงสร้ างของร่ างกายและสภาวะทางสรี รวิทยา โครงสร้างของร่ างกายเป็ นส่ วนทีได้รับ
ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ บางคนรับเอาส่ วนทีดีของพ่อแม่มาทําให้มีโครงสร้างร่ างกายทีสมบูรณ์และมี
สุ ขภาพดี บางคนรับเอาส่ วนด้อยของพ่อแม่ ทําให้ร่างกายเติบโตอย่างไม่สมบูรณ์เกิดโรคต่างๆ ได้ง่าย
                           ่ ้
ความสามารถทีซ่ อนแฝงอยูมีนอยทําให้การแก้ปัญหาทําได้ไม่ดีนก ทนทานต่อสภาวะความเครี ยดได้
                                                               ั
ไม่ดี นอกจากนีการเปลียนวัยก็ก่อให้เกิดความเครี ยดได้เช่นกัน
         . ระดับ พัฒ นาการ ระดับ พัฒ นาการทางจิ ต ใจ อารมณ์ มี ผ ลต่ อ การรั บ รู ้ แ ละการแปล
เหตุการณ์ บุคคลทีมีระดับพัฒนาการทีไม่ดี ทําให้มีการรับรู ้ เหตุการณ์ แบบเด็กๆ ซึ งยังผลให้ปัญหา
ไม่ได้รับการแก้ไขก่อให้เกิดความเครี ยดติดตามมาได้อีก

                                                150
. การรับรู ้ และการแปลเหตุการณ์ การทีเรามีอารมณ์ กลัว โกรธ เกลี ยด หรื อกังวล ได้นน              ั
       ่ ั
ขึนอยูกบการรับรู ้ และการแปลเหตุการณ์ของเรา การรับรู ้จึงเป็ นตัวการสําคัญในการทีจะทําให้บุคคล
สนองตอบต่อเหตุการณ์ ไปในทางทีดี หรื อในทางทีร้ าย เหตุการณ์ อย่างหนึ งทําให้คนสองคนรับรู ้ ได้
ไม่เหมือนกันและมีการตอบสนองต่อเหตุการณ์ทีแตกต่างกัน ทังนีเพราะบุคคลสองคนมีความต้องการ
ขันพืนฐานทีแตกต่าง มีประสบการณ์ชีวตไม่เหมือนกัน มีความคาดหวัง มีทศนคติ และการมองโลกที
                                            ิ                                        ั
ไม่ เหมื อนกัน การรั บ รู ้ ขึ นอยู่ก ับประสบการณ์ ชี วิตเดิ ม เหตุ ก ารณ์ ที น่ าตื นเต้นและท้า ทายสํา หรั บ
คนหนึ งอาจทําให้อีกคนรู ้ สึกกลัว กังวลหรื อรู ้ สึกว่าถูกหมินประมาทในความสามารถถูกลบหลู่ หรื อ
ถู ก ลดเกี ย รติ ทังนี ขึ นอยู่ ก ั บ ประสบการณ์ เ ก่ า และโครงสร้ า งของบุ ค ลิ ก ภาพที มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ
กระบวนการรับรู ้ของบุคคลนันๆ

    การตอบสนองของบุคคลต่ อความเครียด
    ภาวะความเครี ยดก่อให้เกิดความตอบสนองออกมาทังด้านร่ างกาย และจิตใจใน ระบบ คือ
    ระบบแรก คื อ ระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ งเป็ นส่ วนหนึ งที เกี ยวข้องกับ การถู ก เร้ า ทางอารมณ์
การเร้าระบบประสาทอัตโนมัติ นําไปสู่ การเร้าอวัยวะทีเป็ นปลายทางของระบบนี ได้แก่ ระบบหัวใจ
ระบบทางเดินอาหาร ระบบปั สสาวะ เป็ นต้น อาการแสดงของอวัยวะเหล่านี เช่น ใจสัน ชี พจรเต้นเร็ ว
หายใจหอบ ปวดมวนท้อง ปั สสาวะบ่อย ท้องเสี ย เหงือออก มือเท้าเย็น เป็ นต้น
    ระบบทีสอง คือ ระบบต่อมไร้ท่อ การตอบสนองความเครี ยดทีเรื อรังจะผ่านทางระบบนี ทําให้เกิด
อาการของอวัยวะต่างๆ เช่น ความดันโลหิ ตสู งขึน หัวใจเต้นแรงขึน กล้ามเนือสันกระตุก เป็ นต้น
    ระบบทีสาม ที มี ก ารเปลี ยนแปลง คื อ ภาวะทางจิ ตใจ เกิ ด อารมณ์ ตึง เครี ย ด มี ค วามวิตกกัง วล
ซึ มเศร้ านําไปสู่ ความผิดปกติดานความคิด หรื อพฤติกรรม เช่ น คิดซําๆ หมกมุ่น ไม่สามารถตัดสิ นใจได้
                                 ้
อยู่ก ับ จิ นตนาการมี ปั ญ หาการกิ นการนอน ความรู ้ สึ ก ทางเพศเปลี ยนแปลงหันไปใช้ย า สุ ราและ
สารเสพติด นอกจากนีอาจมีอารมณ์ ทีเปลียนแปลงง่าย หงุดหงิด โกรธ โมโห รวมทังความรู ้ สึกในทางลบ
เช่น รู ้สึกตนเองไม่มีค่า ไม่ได้รับการยอมรับถูกปฏิเสธ ไม่มีความสามารถ และรู ้สึกไม่มนคงทางจิตใจ
                                                                                      ั
    แม้ว่าความเครี ยดดู เหมื อนจะมี ผลในทางลบเป็ นอย่างมาก แต่ความเครี ยดที มากเกิ นไป จะเป็ น
สัญญาณเตือนเพือความระมัดระวังการดํารงชี วิตของมนุ ษย์ ความเครี ยดกระตุนให้คนเราต้องเตรี ยมตัว
                                                                           ้
เกิดความแข็งแกร่ ง มีความกระตือรื อร้นมากขึน พร้อมทีจะเผชิญกับสิ งทีเข้ามาในชีวต ิ




                                                    151
การตอบสนองต่ อความเครียด

                 ความเครี ยด                                   ความเครี ยดทีไม่มากเกินไป
                 มากเกินไป                                          ปฏิกิริยาโต้ตอบ

     สิ งกระตุน
              ้                 บุคคลอ่อนแอ          สิ งกระตุน
                                                              ้                       ความแข็งแกร่ ง
ให้เกิดความเครี ยด                               ให้เกิดความเครี ยด


             เสี ยงต่อการเกิดปั ญหา                                   สามารถต้านทาน
                                                                         ความเครี ยด


                                                             ่
     บุคคลทีไม่เคยประสบความเครี ยดเลย หรื อมีผอืนช่วยเหลืออยูตลอดเวลา เมือประสบความเครี ยด
                                              ู้
 มักจะขาดประสบการณ์ ในการแก้ปัญหา เมือบุคคลนันต้องเผชิ ญกับความเครี ยดด้วยตนเอง ก็จะเกิ ด
 ปั ญหาในการปรับตัวได้ง่าย ในขณะเดียวกันบุคคลทีประสบกับภาวะเครี ยดมากเกินไปเป็ นเวลานานๆ
 และไม่สามารถจัดการกับความเครี ยดได้อย่างเหมาะสม ก็จะเกิดปั ญหาทางร่ างกายและจิตใจตามมาได้

     การปรับตัวเผชิ ญกับความเครียด
     เมื อบุ คคลประสบเหตุ การณ์ ทีก่ อให้เกิ ดความเครี ยด บุ คคลจะประเมิ นสถานการณ์ และปรั บตัว
 เพือเผชิ ญกับความเครี ยด บุคคลทีสามารถรับรู ้ เหตุการณ์ ได้อย่างถูกต้องจะปรั บตัวได้ดีกว่าบุคคลที
 รับรู ้เหตุการณ์ผดพลาด
                    ิ
     กลไกการปรับตัวเพือเผชิ ญกับความเครียด (Coping mechanism)
     เป็ นแบบพฤติ กรรมที บุ คคลใช้เมื อเผชิ ญกับสิ งที คุ กคามต่อสุ ขภาพ เพือป้ องกันตนเอง เป็ นการ
 รักษาสมดุลของจิตใจทีถูกรบกวน เพือให้สามารถทําหน้าทีได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยพัฒนามาจาก
 การลองผิดลองถูก การเรี ยนรู ้ในอดีตจนเป็ นนิสัยของบุคคล จําแนกได้เป็ น ลักษณะ คือ
         . การสร้ างพลังภายในเพือเผชิ ญปัญหา เป็ นวิธีชวคราวทีบุคคลใช้ในการตอบสนองต่อสิ งกระตุน
                                                       ั                                          ้
 ที ทําให้เกิ ดความเครี ยด โดยอาจจะเป็ นการประวิง เวลาลดความกดดันทางอารมณ์ ทําให้สามารถ
 พิจารณาสถานการณ์ทีกระตุนให้เกิดความเครี ยดในเวลาต่อมา ซึ งบุคคลมักแสดงออกในรู ปแบบต่างๆ
                               ้
 ดังนี
            . การร้องไห้ เป็ นการลดความเครี ยดทางอารมณ์ การร้องไห้ยงอาจได้รับความเห็นอกเห็นใจ
                                                                       ั
 จากผูอืน ทําให้บุคคลรู ้สึกว่า มีผร่วมทุกข์และเข้าใจในความทุกข์ของตนเองอีกด้วย
          ้                        ู้
                                                   152
. การพู ด ระบายความรู ้ สึ ก ช่ ว ยลดความกดดัน ทางอารมณ์ ไ ด้ ทํา ให้ บุ ค คลมองเห็ น
สภาพการณ์ของตนชัดเจนยิงขึนและอาจเกิดแนวความคิดใหม่
           . การหัวเราะ เป็ นการพยายามมองปั ญหาด้วยอารมณ์ขน ช่วยให้มองเห็นปั ญหาตามทีเป็ น
                                                                  ั
จริ ง เป็ นการยอมรับความสะเทือนใจ ความทุกข์ทีเกิดขึน ไม่เคร่ งเครี ยดกับชีวตมากเกินไป
                                                                           ิ
           . การคิดทบทวน การคิดทบทวนลําดับเหตุการณ์ ทําให้บุคคลเข้าใจปั ญหามากขึน สามารถ
ประเมินเหตุการณ์ได้ดียิงขึน อาจช่ วยให้ยอมรับปั ญหา หรื อนําไปสู่ การจัดการกับสิ งกระตุนทีทําให้
                                                                                           ้
เกิดความเครี ยดได้
           . การแสวงหาที พึงทางจิตใจ เป็ นการทีบุคคลต้องการความเห็ นใจจากผูอืน หรื อต้องการ
                                                                                  ้
พึงพาทางใจจนกว่า จะสามารถรั ก ษาสมดุ ล ทางจิ ตใจได้ เช่ น การยึดหลักธรรม การใช้บริ ก ารให้
คําปรึ กษา เป็ นต้น
           . การนอนหลับ ช่วยผ่อนคลายความเครี ยดได้เป็ นอย่างดี อย่างน้อยก็ช่วยให้บุคคลพักความ
                                                            ั
เคร่ งเครี ยดกับปั ญหาระยะหนึง เพือเตรี ยมพลังในการต่อสู ้กบปั ญหาเมือตืนขึนมา
      . การพยายามกระทําสิ งใดสิ งหนึง เป็ นการพยายามนํากระบวนการแก้ปัญหามาใช้ในการจัดการ
แก้ปั ญหา โดยการเปลี ยนแปลงตนเอง สิ งแวดล้อม หรื อทังตนเองและสิ งแวดล้อมโดยขึ นอยู่ก ับ
สถานการณ์ เช่น การเปลียนนิ สัยการทํางาน วิธีการเรี ยน การปฏิบติตนเกี ยวกับสุ ขนิ สัย การลดความ
                                                                    ั
คาดหวัง หรื อเปลียนค่านิยมของตนเอง เป็ นต้น
     การพยายามกระทํา สิ งใดสิ งหนึ ง เพื อเผชิ ญปั ญหาจึ ง เป็ นการจัดการกับสิ งกระตุ ้นที ทํา ให้เกิ ด
ความเครี ยดระดับจิตสํานึก อาจจําแนกการพยายามกระทําสิ งใดสิ งหนึงเป็ น ลักษณะ ดังนี
           . การต่อสู ้ เป็ นการพยายามเอาชนะอุปสรรคเมือมีความขัดแย้งทางจิตใจ ด้วยการพิจารณา
อย่างมีเหตุผลและตอบสนองต่อสิ งกระตุ นในรู ปการต่อสู ้ ซึ งแสดงออกในลักษณะใดลักษณะหนึ ง
                                           ้
                                                    ่
ได้แก่ การใช้ความพยายามมากขึน การใช้ความยืดหยุนในการจัดการกับปั ญหาหรื อหาแหล่งช่วยเหลือ
เพือพัฒนาความสามารถของตนเองในการแก้ปัญหา
           . การหลี กหนี เป็ นการปรับตัวต่อเหตุการณ์ ทียุ่งยากซับซ้อนมากเกิ นไป เพือการปรับตัวที
ดี กว่า หรื อยอมรับว่าสิ งนันยากเกิ นไปไม่เหมาะสมกับตนเอง และหาแนวทางไปสู่ เป้ าหมายใหม่ที
เหมาะสมกว่าแทนการดําเนินชีวตอย่างไร้จุดหมาย
                                 ิ
           . รอมชอม เป็ นการปรั บเข้าหากันระหว่างเป้ าหมายที ตังใจ หรื อยอมรั บวิธีการใหม่ เพือ
ดําเนินการให้บรรลุเป้ าหมายแทนวิธีการทีเคยใช้ไม่ได้ผล
      . การใช้ กลไกปองกันทางจิต (Defense mechanisms) ลักษณะกลไกป้ องกันทางจิตเป็ นดังนี
                       ้
           . เป็ นวิธีการทีบุคคลพยายามคุมครอง “ศักดิศรี ” ของตนเองและป้ องกันตนเองจากความคิด
                                         ้
วิตกกังวลระดับสู ง
           . มี ทงแง่บวกแง่ ลบ โดยในแง่ บวกจะเห็ นว่าเป็ นวิธีการที บุ คคลพยายามสร้ างสมดุ ลทาง
                   ั
จิตใจ เพือคงไว้ซึงศักดิศรี ของตนเอง ส่ วนในแง่ลบจะเห็นว่าเป็ นการหลีกหนีจากความเป็ นจริ ง
                                                153
. กลไกป้ องกันทางจิตทุกชนิ ดมีลกษณะร่ วม คือ การหลอกตนเอง ซึ งแสดงในรู ปของการ
                                                ั
ปฏิ เสธความต้องการ หรื อความรู ้ สึ ก ต่อสถานการณ์ ต่า งๆ เป็ นการทดแทนความต้องการของตน
ในทางที สั ง คมยอมรั บ ในชี วิตประจํา วัน คนปกติ จ ะใช้ก ลไกป้ องกันทางจิ ต ด้วยกันทังสิ น ถ้า ใช้
พอสมควรจะช่ วยในการปรับตัวในเวลาต่อมา แต่ถาใช้กลไกป้ องกันทางจิตในการจัดการกับปั ญหา
                                                        ้
ส่ วนใหญ่ หรื อใช้กลไกป้ องกันทางจิตชนิ ดเดียวซําๆ โดยไม่สามารถลดความเครี ยดลงได้ บุคคลจะมี
แนวโน้มการปรับตัวทีผิดปกติ
            ตัวอย่ าง ชนิดของกลไกป้ องกันทางจิตทีใช้ กนบ่ อยๆ ได้ แก่
                                                      ั
                 . การปฏิเสธทีจะรับความจริ งทีเกิดขึน (Denial)
                 . การกดเก็บความคิดและความรู ้สึก (Repression)
                 . การโยนความผิดให้ผอืน (Projection)
                                       ู้
                 . การใช้เหตุผลทีมาแทนข้อเท็จจริ ง (Rationlization)
                 . การทดแทนความรู ้สึกไม่สมหวังในทางตรงกันข้าม (Reaction formation)
                 . การถ่ายทอดความรู ้สึกจากต้นเหตุไปสู่ ผอืน (Displacement)
                                                          ู้
                 . การมีพฤติกรรมถอยหลังไปเป็ นเด็กกว่าอายุ (Regression)
                 . การสร้างมโนภาพหรื อเรื องราวเพือชดเชยความผิดหวัง (Fantasy)
                 . การใช้สติปัญญาหลีกเลียงต่อเหตุการณ์ (Intellectualzation)
            วัตถุประสงค์ ในการเสริมสร้ างความสามารถและทักษะในการเผชิ ญความเครียดให้ กบนักเรียน ั
                 . เพือให้นักเรี ย นตระหนักถึ งความเครี ยดและผลของความเครี ย ดที มี ต่อความสามารถ
ทางด้านการเรี ยน และการดําเนินชีวต        ิ
                 . เพือให้นกเรี ยนมี แนวทางในการเผชิ ญกับความเครี ยดได้อย่างเหมาะสม และสามารถ
                           ั
นําไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจําวัน
                             ิ
            เทคนิคในการจัดการกับความเครียด
            เป้ าหมายของการจัดการความเครี ยด ไม่ใช่ การระงับหรื อหลี กเลี ยงความเครี ยด แต่เน้ นการ
จั ดการกับอารมณ์ และการช่ วยให้บุคคลสามารถแก้ ไขปั ญหาได้อย่า งเหมาะสม เพือไม่ใ ห้เกิ ดผล
ในทางลบตามมา
            เทคนิคการจัดการกับความคิดและอารมณ์
                 . ต้องตระหนักถึงอาการทีแสดงว่าเริ มมีความเครี ยด เช่น รู ้สึกหงุดหงิด ไม่มีความสุ ข ปวด
ศีรษะ เหนือยง่าย ความจําหรื อสมองแย่ลง แน่นท้อง หายใจขัด เป็ นต้น
                 . พิจารณาว่าอะไรทําให้เครี ยด และความคิดของบุคคลในการรับรู ้สิงกระตุนทีก่อให้เกิ ด
                                                                                             ้
ความเครี ยดเป็ นอย่างไร เช่น นักเรี ยนเครี ยดเนืองจากเกรดตกลงมาจาก . เหลือ . แสดงว่า นักเรี ยน
รั บรู ้ ว่าคะแนนมี ความสําคัญต่อการตัดสิ นความสามารถของตนเองมาก จึ งรู ้ สึ กไม่พอใจแม้ว่าผล
การเรี ยนยังอยูในระดับดีก็ตาม
                    ่
                                                    154
3. ใช้เ ทคนิ ค การผ่อ นคลายอารมณ์ เพื อให้ เ กิ ด ความสงบ และพร้ อ มที จะจัด การกับ
ความเครี ยดต่อไป
                3.1 ใช้วธีการผ่อนคลายต่างๆ เช่น การหายใจ การฝึ กสมาธิ การนวด การออกกําลังกาย
                        ิ
ฟังเพลง เป็ นต้น
                 . การปรับเปลียนความคิด เป็ นการปรับเปลี ยนวิธีคิดทางลบให้เป็ นทางบวก เพือให้
เกิ ดความรู ้สึกต่อสถานการณ์นนๆ ดีขึน ช่ วยให้บุคคลสามารถจัดการกับอารมณ์ และแสดงออกทาง
                                   ั
พฤติกรรมได้อย่างเหมาะสมโดยการหมันฝึ กจับความคิดลบ ปรับเปลียนให้เป็ นความคิดทางบวกเป็ น
ประจํา เพือให้เกิ ดความคิดในทางบวกโดยอัตโนมัติ โดยบุคคลสามารถฝึ กจับความคิดในใจได้ดวย                       ้
                                                                   ่
การพูดค่อยๆ หรื อพูดกับตัวเองดังๆ ในใจ เมือกําลังตกอยูในสถานการณ์ทีก่อให้เกิดความเครี ยด เช่น
                     “เหตุการณ์.................... ทําให้ฉนกําลังเครี ยด”
                                                              ั
                     “ฉันคิด.................... (คิดอย่างไรต่อเหตุการณ์นนๆ)”  ั
                     “ฉันรู ้สึก.................... (ต่อเหตุการณ์นนๆ)”
                                                                     ั
                     “ฉันควรคิดว่า.................... (ฉันจะรู ้สึกดีขึน)”
             . ชื นชมตนเองที สามารถจัดการกับ ความคิ ด และอารมณ์ ท างลบของตนเองได้ใ นทาง
สร้างสรรค์
       เทคนิคการแก้ ปัญหา
         เมืออารมณ์สงบแล้ว ให้ดาเนินการแก้ไขปั ญหาตามขันตอนต่อไปนี
                                         ํ
            . หาสาเหตุทีแท้จริ งของปั ญหา
            . รวบรวมข้อมูลทีจําเป็ นเกียวกับการแก้ปัญหา
            . วิเคราะห์ขอดี ข้อเสี ย และจัดลําดับความสําคัญของปั ญหา
                            ้
            . ตัดสิ นใจเลือกวิธีแก้ปัญหาทีเหมาะสมและสามารถทําได้
            . หาวิธีแก้ไขผลเสี ยทีอาจเกิดขึนจากทางเลือกนันๆ
            . ดําเนินการแก้ปัญหา
            . ประเมินผลการแก้ปัญหา
         การจัดการกับความเครี ยดได้ดี นําไปสู่ แรงจูงใจในการฝ่ าฟั นอุปสรรคไปสู่ ความสําเร็ จหรื อ
ความหวังทีตังเอาไว้ ผูทีมีความอดทนต่อความเครี ยด และสามารถจัดการกับความเครี ยดได้ดี จะมี
                          ้
สภาวะจิ ตที สงบ แม้จะอยู่ใต้ค วามกดดัน ซึ งสิ งเหล่ านี สามารถฝึ กฝนได้ ในทางตรงกันข้า ม การ
ไม่ ส ามารถควบคุ ม ความเครี ย ดที มากเกิ นไปได้จะนํา ไปสู่ ค วามล้ม เหลวความรู ้ สึ ก เศร้ า สู ญ เสี ย
ความภาคภูมิใจ และเกิดการเจ็บป่ วยได้
                                                    ทีมา : คู่มือส่ งเสริ มสุ ขภาพจิตนักเรี ยน ระดับมัธยมศึกษา



                                                    155
แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง อารมณ์ และความเครียด

กลุ่มที
สมาชิกของกลุ่ม       .                                .
                     .                                .
                     .                                .

 ลําดับ                                                                                                               คุณภาพผลงาน
                                    รายการประเมิน
   ที
          ลักษณะอารมณ์และความเครี ยดของวัยรุ่ น
          ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต
                                  ้
          การเสนอแนะวิธีการปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด
                               ั
          การจัดระบบของข้อมูลบนป้ ายนิเทศ
                                                                      รวม

                                                      ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน
                                                                                                                                           ้
                                                                                      /                           /
                                                                ....................... ........................... ........................




เกณฑ์ การให้ คะแนน                                             เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ
   ดีมาก                  =     4                                    ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
   ดี                     =                                                  -        ดีมาก
   พอใช้                  =                                                  -          ดี
   ปรับปรุ ง              =     1                                           -         พอใช้
                                                                         ตํากว่า     ปรับปรุ ง




                                              156
ใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง


ตอนที
คําชี แจง ให้นกเรี ยนสํารวจอารมณ์ตนเองว่าเคยมีอารมณ์ประเภทใด บ่อยแค่ไหน โดยขีดเครื องหมาย
              ั
          ให้ตรงกับหมายเลขทีเป็ นบุคลิกภาพทางอารมณ์ของนักเรี ยน ตามข้อมูลต่อไปนี
             = ไม่เคยมี                           = น้อยมาก หรื อแทบไม่เคยมี
             = ปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว       = มีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา

     ลักษณะอารมณ์                          3              ลักษณะอารมณ์
 อารมณ์เบิกบาน                                       อารมณ์กลัว
 อารมณ์ร่าเริ ง                                      อารมณ์อิจฉา
 อารมณ์อ่อนล้า                                       อารมณ์เศร้า
 อารมณ์หงุดหงิด                                      อารมณ์เหงา
 อารมณ์รุนแรง                                        อารมณ์ร้อน
 อารมณ์รังเกียจ                                      อารมณ์เย็น
 อารมณ์โกรธ                                          อารมณ์ปิติยนดี
                                                                 ิ
 อารมณ์ห่อเหี ยว                                     อารมณ์ดี
 อารมณ์ดีใจ                                          อารมณ์เครี ยด
 อารมณ์เบือ                                          อารมณ์เสี ย

     สรุ ปการสํารวจอารมณ์ของตนเอง
     - อารมณ์ทีมีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ( ) ได้แก่
     - อารมณ์ทีมีปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว ( ) ได้แก่
     - อารมณ์ทีมีนอยมาก หรื อแทบไม่เคยมี ( )ได้แก่
                   ้
     - อารมณ์ทีไม่เคยมี ( ) ได้แก่
     - จากแบบสํารวจ นักเรี ยนพบว่า ตนเป็ นคนทีมีบุคลิกภาพทางอารมณ์อย่างไร และพบสิ งทีควร
         แก้ไขปรับปรุ ง คือ




                                               157
ตอนที
คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนีพอสังเขป
               ั
      . หากเกิดความเครี ยด นักเรี ยนจะยึดแนวทางใดช่วยในการปฏิบติตนให้เหมาะสม
                                                              ั
        1)

       2)

        )

       4)



      . ให้เสนอแนะวิธีป้องกันความเครี ยดโดยระบุสาเหตุ พร้อมทังยกตัวอย่างผลกระทบจากความเครี ยดนัน


       วิธีปองกันความเครี ยด
            ้                                 สาเหตุ                           ตัวอย่ าง

  .

  .

  .

  .

  .




                                               158
ใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง

ตอนที
คําชี แจง ให้นกเรี ยนสํารวจอารมณ์ตนเองว่าเคยมีอารมณ์ประเภทใด บ่อยแค่ไหน โดยขีดเครื องหมาย
              ั
          ให้ตรงกับหมายเลขทีเป็ นบุคลิกภาพทางอารมณ์ของนักเรี ยน ตามข้อมูลต่อไปนี
             = ไม่เคยมี                           = น้อยมาก หรื อแทบไม่เคยมี
             = ปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว       = มีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา

     ลักษณะอารมณ์                          3              ลักษณะอารมณ์
 อารมณ์เบิกบาน                                       อารมณ์กลัว
 อารมณ์ร่าเริ ง                                      อารมณ์อิจฉา
 อารมณ์อ่อนล้า                                       อารมณ์เศร้า
 อารมณ์หงุดหงิด                                      อารมณ์เหงา
 อารมณ์รุนแรง                                        อารมณ์ร้อน
 อารมณ์รังเกียจ                                      อารมณ์เย็น
 อารมณ์โกรธ                                          อารมณ์ปิติยนดี
                                                                 ิ
 อารมณ์ห่อเหี ยว                                     อารมณ์ดี
 อารมณ์ดีใจ                                          อารมณ์เครี ยด
 อารมณ์เบือ                                          อารมณ์เสี ย

     สรุ ปการสํารวจอารมณ์ของตนเอง
     - อารมณ์ทีมีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ( ) ได้แก่
     - อารมณ์ทีมีปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว ( ) ได้แก่
     - อารมณ์ทีมีนอยมาก หรื อแทบไม่เคยมี ( )ได้แก่
                   ้
     - อารมณ์ทีไม่เคยมี ( ) ได้แก่
     - จากแบบสํารวจ นักเรี ยนพบว่า ตนเป็ นคนทีมีบุคลิกภาพทางอารมณ์อย่างไร และพบสิ งทีควร
         แก้ไขปรับปรุ ง คือ




                                               159
ตอนที
คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนีพอสังเขป
               ั
      . หากเกิดความเครี ยด นักเรี ยนจะยึดแนวทางใดช่วยในการปฏิบติตนให้เหมาะสม
                                                              ั
        1)

       2)

        )

       4)



      . ให้เสนอแนะวิธีป้องกันความเครี ยดโดยระบุสาเหตุ พร้อมทังยกตัวอย่างผลกระทบจากความเครี ยดนัน


       วิธีปองกันความเครี ยด
            ้                                  สาเหตุ                           ตัวอย่ าง

  .

  .

  .

  .

  .



             (หมายเหตุ พิ จารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน)
                                                                                    ู




                                                160
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3teerachon
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5supap6259
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีariga sara
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4preecha2001
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินpupphawittayacom
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวtassanee chaicharoen
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552waranyuati
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 

La actualidad más candente (20)

ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียดใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
ใบงานเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
แบบทดสอบ หน้าที่พลเมืองฯ ม.3
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษาแนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
แนวข้อสอบครูผู้ช่วยเอกพลศึกษา
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5สุขฯ ม.2 หน่วย 5
สุขฯ ม.2 หน่วย 5
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3สุขศึกษา ม.3
สุขศึกษา ม.3
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมินคำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
คำกล่าวต้อนรับคณะกรรมการประเมิน
 
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัวใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
ใบงานที่ 2 การแก้ไขความขัดแย้งในครอบครัว
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
ตัวอย่างข้อสอบ Gsp งานศิลปะหัตกรรม ปีการศึกษา 2552
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 

Similar a สุขฯ ม.2 หน่วย 6

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1supap6259
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1New Born
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตรPat1803
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyleAtivitt Crystalbell
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่tassanee chaicharoen
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดtassanee chaicharoen
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2supap6259
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์guest5660a9a
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]Siriphan Kristiansen
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อMicKy Mesprasart
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31Aaesah
 

Similar a สุขฯ ม.2 หน่วย 6 (20)

สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1สุขฯ ม.2 หน่วย 1
สุขฯ ม.2 หน่วย 1
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
Psychology1
Psychology1Psychology1
Psychology1
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
Positive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestylePositive thinking enhacing lifestyle
Positive thinking enhacing lifestyle
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องวัยผู้ใหญ่
 
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียดชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
ชุดส่งเสริมความรู้ด้วยตนเองเรื่องอารมณ์และความเครียด
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2ส่วนหน้า ตอนที่ 2
ส่วนหน้า ตอนที่ 2
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอนามัยเจริญพันธุ์
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
การให้คะแนนแบบรูบิค[1]
 
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
ตารางกำหนดการจัดการเรียนรู้ป2
 
งานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่องานออกแบบสื่อ
งานออกแบบสื่อ
 
Part 31
Part 31Part 31
Part 31
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 

สุขฯ ม.2 หน่วย 6

  • 1. หน่ วยการเรียนรู้ ที อารมณ์ และความเครียด รายวิชา สุ ขศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุ ขศึกษาและพลศึกษา ชันมัธยมศึกษาปี ที เวลาเรียน ชัวโมง 1.มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชีวัด พ . ม. / อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ ม. / เสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั 2.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตใจของมนุษย์ทุกคน การมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด ตลอดจนมีวธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่างเหมาะสม ย่อมทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตสดชืนแจ่มใส ิ ้ 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง 1) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ ) วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ ) ทักษะการสร้างความรู ้ . ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ 1) กระบวนการทํางานกลุ่ม 138
  • 2. 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั 2. ใฝ่ เรี ยนรู ้ 3. มุ่งมันในการทํางาน 6.ชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) การจัดป้ ายนิ เทศ เรื อง อารมณ์และความเครี ยด 7.การวัดและการประเมินผล . การประเมินก่ อนเรียน - แบบทดสอบก่อนเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินระหว่ างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง ) ประเมินการนําเสนอผลงาน ) สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม . การประเมินหลังเรียน - แบบทดสอบหลังเรี ยน หน่วยการเรี ยนรู ้ที . การประเมินชิ นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) - ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง อารมณ์และความเครี ยด 8.กิจกรรมการเรียนรู้ นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที กิจกรรมที อารมณ์ และความเครียด วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ เวลา ชั วโมง . นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปราย แสดงความคิดเห็นเกียวกับคําว่า “อารมณ์ศิลปิ น” ในความหมายของนักเรี ยน แล้วให้แต่ละกลุ่ม ร่ วมกันสรุ ปผลการอภิปราย จากนันส่ งตัวแทนกลุ่มออกมานําเสนอทีหน้าชันเรี ยน 139
  • 3. . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจพฤติกรรมของนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องว่า อารมณ์ ั ่ ศิลปิ นในช่วงวัยรุ่ นนัน เป็ นอารมณ์ทีฉาบฉวยทีเกิดขึนชัวขณะ โดยอาจเกิดจากภาวะความเครี ยด ซึ งเป็ นสาเหตุสาคัญทีทําให้พฤติกรรมเปลียนไป ํ . ครู อธิ บายเพิมเติมเพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์ แล้วให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้ ั ั เรื อง อารมณ์และความเครี ยดทีมีผลต่อสุ ขภาพ จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 4. นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน โดยคละเพศ เพือให้แต่ละกลุ่มมีมุมมองทีกว้างขึน และสามารถ แลกเปลียนความรู ้ความคิดเห็นได้ดียงขึน ิ . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุของความเครี ยดทีเกิดกับวัยรุ่ น โดยครู กาหนดสาเหตุ ั ํ ทีเป็ นประเด็นกว้างๆ ดังนี ) ภาวะด้านร่ างกาย ) ภาวะด้านจิตใจ ) ภาวะด้านสังคม หรื อสิ งแวดล้อม . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการวิเคราะห์ทีหน้าชันเรี ยน เพือแลกเปลียนความรู ้ กับกลุ่มอืนๆ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม . ครู อธิ บายถึงสาเหตุและลักษณะทีบ่งบอกเมือเกิดความเครี ยด พร้อมทังกล่าวถึงผลของอารมณ์และ ความเครี ยดต่อสุ ขภาพ แล้วให้นกเรี ยนทําใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง เสร็ จแล้วนําส่ ง ั ครู ผสอน ู้ . ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับลักษณะอาการของคนทีมีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน ั ้ หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน ั ั อภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันในชันเรี ยน . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด จากหนังสื อเรี ยน ั ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด แล้วให้ ั นําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผังความคิด . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผัง ความคิด เมือนําเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า วิธีการจัดการกับอารมณ์และ ั ความเครี ยดแต่ละวิธีมีความเหมาะสมกับบุคคลต่างๆ แตกต่างกัน ดังนันจึงควรเลือกวิธีทีเหมาะสม กับตนเองมากทีสุ ด 140
  • 4. . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุ ปความรู ้ทีได้จากการเรี ยน มาจัดทําเป็ นป้ ายนิเทศ เรื อง อารมณ์ ั และความเครี ยด โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลา ในการส่ งผลงาน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 9.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 9.1 สื อการเรี ยนรู้ 1) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. ) ใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง . แหล่ งการเรียนรู้ ) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.psyclin.co.th/new_page_82.htm www.allsands.com/health/copingskillsfo_rkt_gh.htm www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?... 141
  • 5. การประเมินชินงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง อารมณ์ และความเครียด คําอธิบายระดับคุณภาพ/ระดับคะแนน รายการประเมิน ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรุง ( ) . ลักษณะอารมณ์ บอกลักษณะอารมณ์ บอกลักษณะอารมณ์ บอกลักษณะอารมณ์ บอกลักษณะอารมณ์ และความเครียด และความเครี ยดของ และความเครี ยดของ และความเครี ยดของ และความเครี ยดของ ของวัยรุ่น วัยรุ่ นได้ถูกต้อง ชัดเจน วัยรุ่ นได้ถูกต้อง วัยรุ่ นได้ถูกต้อง วัยรุ่ นได้ถูกต้อง เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน เพียงส่วนน้อย . ลักษณะอาการ อธิบายลักษณะอาการ อธิบายลักษณะอาการ อธิบายลักษณะอาการ อธิบายลักษณะอาการ เบืองต้นของผูมีปัญหา เบืองต้ นของผู้มี ้ เบืองต้นของผูมีปัญหา เบืองต้นของผูมีปัญหา ้ ้ เบืองต้นของผูมีปัญหา ้ ปัญหาสุ ขภาพจิต สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง สุขภาพจิตได้ถูกต้อง ชัดเจน เป็ นส่วนใหญ่ เป็ นบางส่วน เพียงส่วนน้อย . การเสนอแนะวิธี เสนอแนะวิธีปฏิบติตนั เสนอแนะวิธีปฏิบติตน เสนอแนะวิธีปฏิบติตน ั ั เสนอแนะวิธีปฏิบติตน ั ปฏิบัตตนเพือ ิ เพือจัดการกับอารมณ์ เพือจัดการกับอารมณ์ เพือจัดการกับอารมณ์ เพือจัดการกับอารมณ์ จัดการกับอารมณ์ และความเครี ยดได้ และความเครี ยดได้ และความเครี ยดได้ และความเครี ยดได้ และความเครียด ถูกต้อง เหมาะสม และ ถูกต้อง เหมาะสม ถูกต้องเป็ นบางส่วน ถูกต้องเพียงส่วนน้อย นําไปปฏิบติได้ง่าย ั เป็ นส่วนใหญ่ และ และนําไปปฏิบติ ั และนําไปปฏิบติ ั นําไปปฏิบติได้ง่าย ั ได้ค่อนข้างยาก ได้ยาก . การจัดระบบของ เรี ยงลําดับข้อมูลบน เรี ยงลําดับข้อมูลบน เรี ยงลําดับข้อมูลบน เรี ยงลําดับข้อมูลบน ข้ อมูลบนป้ าย ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น ป้ ายนิเทศอย่างเป็ น ป้ ายนิเทศ นิเทศ ขันตอน และมีการ ขันตอน และมีการ ขันตอน และมีการ ไม่เหมาะสม และไม่มี เชือมโยงกันอย่าง เชือมโยงกันอย่าง เชือมโยงกันอย่าง การเชือมโยงกัน เหมาะสมทุกประเด็น เหมาะสมเป็ นส่วนใหญ่ เหมาะสมเป็ นบางส่วน เกณฑ์ การตัดสิ นคุณภาพ ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ 14-16 ดีมาก 11-13 ดี 8-10 พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 142
  • 6. แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที คําชี แจง ให้นกเรี ยนเลือกคําตอบทีถูกต้องทีสุ ดเพียงข้อเดียว ั 1. ข้อใดอธิ บายความหมายของความเครี ยดได้ถูกต้อง ก. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้รู้สึกกลัว ้ ข. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้มีความสุ ข ้ ค. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้ตืนเต้น หรื อวิตกกังวล ้ ง. ภาวะทีจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้เกิดความเศร้าโศกเสี ยใจ ้ . การกระทําของบุคคลในข้อใดเห็นได้ชดว่า เริ มเกิดความเครี ยดแล้ว ั ก. นําชารู ้สึกเบืออาหาร ่ ข. นําอบอยูกลางแจ้งได้ไม่นาน ค. นําฝนรับประทานอาหารบ่อยมาก ง. นําหวานอารมณ์เสี ยบ่อย และหงุดหงิดง่าย . หากปล่อยให้ตนเองมีความเครี ยดสะสมไว้เป็ นเวลานาน จะส่ งผลให้เกิดการเจ็บป่ วยทีรุ นแรงได้ ยกเว้ นข้อใด ก. โรคจิต ข. โรคเก๊าท์ ข. โรคประสาทบางชนิด ง. โรคกระเพาะอาหาร . การทีบุคคลรู ้จกควบคุมอารมณ์ สามารถยอมรับได้ทงความสําเร็ จและความผิดหวัง แสดงให้เห็นอะไร ั ั ก. การรู ้จกและเข้าใจตนเอง ั ข. การรู ้จกตนเองและเข้าใจผูอืน ั ้ ค. ความสามารถในการเผชิ ญปั ญหา ง. การยอมรับความเป็ นจริ งของชีวต ิ . ปั ญหาสุ ขภาพจิตก่อให้เกิดอาการผิดปกติทางร่ างกาย ยกเว้ นข้อใด ก. ฉุ นเฉี ยว โมโหง่าย ข. หายใจติดขัด ใจสัน ค. ยิม และหัวเราะตลอดเวลา ง. อ่อนเพลีย ไม่มีเรี ยวแรง 143
  • 7. 6. ใครจัดการกับความเครี ยดได้เหมาะสมทีสุ ด ก. กายปา และทําลายข้าวของ ข. แก้วซื อของทีตนเองอยากได้ทุกอย่าง ั ค. เกดออกไปเทียวสถานเริ งรมย์กบเพือน ง. กุ๊กอ่านหนังสื อทีตนเองชอบ แม้จะเคยอ่านแล้ว . การออกกําลังกายช่วยผ่อนคลายความเครี ยดได้อย่างไร ก. ทําให้ลืมความเครี ยดไปชัวขณะหนึง ข. ทําให้กล้ามเนือผ่อนคลาย ค. ทําให้เกิดความสนุกสนาน ง. ทําให้รู้สึกสดชืน . ข้อใดไม่ ใช่ ประโยชน์ของการหัวเราะ ก. ขจัดความเครี ยด ข. ลดความดันโลหิ ต ค. ทําให้เป็ นทีสนใจของคนรอบข้าง ง. กระตุนการทํางานของสมองทําให้พฒนาการทางสมองดีขึน ้ ั . คุณค่าของการฝึ กบริ หารจิตในข้อใดมีความชัดเจนทีสุ ด ก. หมากเรี ยนหนังสื อได้ปกติ ข. ปุ๊ กลุกสามารถทํางานได้สมําเสมอ ค. นําหวานอยูร่วมกับผูอืนได้โดยไม่มีปัญหา ่ ้ ง. กุ๊บกิบสามารถกําจัดสิ งทีมารบกวนจิตให้นอยลงได้ ้ . ข้อใดอธิ บายประโยชน์ของการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ชดเจนทีสุ ด ั ก. มีอารมณ์ร่าเริ งแจ่มใส โกรธยาก ข. รับประทานอาหารได้มากขึน ค. มีสมรรถภาพทางกายทีดี ง. หัวใจเต้นช้าลง เฉลย แบบทดสอบก่ อนเรียน-หลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 1. ค .ง .ข .ก .ค .ง .ข .ค .ง .ก 144
  • 8. แผนการจัดการเรียนรู้ ที 1 เรือง อารมณ์ และความเครี ยด เวลา ชัวโมง หน่ วยการเรียนรู้ ที 6 อารมณ์ และความเครียด ชันมัธยมศึกษาปี ที 1.สาระสํ าคัญ/ความคิดรวบยอด อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตใจของมนุษย์ทุกคน การมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด ตลอดจนมีวธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่างเหมาะสม ย่อมทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตทีสดใส ิ ้ 2.ตัวชีวัด/จุดประสงค์ การเรียนรู้ 2.1 ตัวชี วัด พ . ม. / อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ ม. / เสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั 2.2 จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ ) อธิ บายลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิตได้ ้ ) บอกวิธีการปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ ั 3) ปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดได้ถูกต้อง เหมาะสม ั 3.สาระการเรียนรู้ . สาระการเรี ยนรู้ แกนกลาง 1) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ ) วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั . สาระการเรี ยนรู้ ท้องถิน - 4.สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน . ความสามารถในการสื อสาร . ความสามารถในการคิด ) ทักษะการคิดวิเคราะห์ ) ทักษะการคิดอย่างมีวจารณญาณ ิ 3) ทักษะการสร้างความรู ้ 145
  • 9. 4.3 ความสามารถในการใช้ ทกษะชี วต ั ิ 1) กระบวนการทํางานกลุ่ม 5.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวนย ิ ั . ใฝ่ เรี ยนรู ้ . มุ่งมันในการทํางาน 6.กิจกรรมการเรียนรู้ (วิธีสอนโดยเน้ นกระบวนการ : กระบวนการคิดวิเคราะห์ , กระบวนการคิดอย่ างมีวิจารณญาณ) นักเรี ยนทําแบบทดสอบก่ อนเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที ชั วโมงที 1. นักเรี ยนแบ่งเป็ นกลุ่ม กลุ่มละ คน ตามความสมัครใจ แล้วให้แต่ละกลุ่มร่ วมกันอภิปรายแสดง ความคิดเห็นเกียวกับคําว่า “อารมณ์ศิลปิ น” ในความหมายของนักเรี ยน โดยครู คอยกระตุนให้นกเรี ยน ้ ั ทุกคนมีส่วนร่ วมในการอภิปราย . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มร่ วมกันสรุ ปผลการอภิปราย แล้วส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการอภิปรายที หน้าชันเรี ยน . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจพฤติกรรมของนักเรี ยนทีอยูในช่วงวัยรุ่ นให้มีความสอดคล้องว่า อารมณ์ ั ่ ศิลปิ นในช่วงวัยรุ่ นนัน เป็ นอารมณ์ทีฉาบฉวยทีเกิดขึนชัวขณะ โดยอาจเกิดจากภาวะความเครี ยด ซึ งเป็ นสาเหตุสาคัญทีทําให้พฤติกรรมเปลียนไป ํ ่ . ครู อธิ บายเพิมเติมเพือให้นกเรี ยนมีความรู ้ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์วา อารมณ์เป็ นภาวะทางจิตของ ั มนุษย์ทุกคน เมือเกิดความทุกข์ก็จะส่ งผลให้เกิดความเครี ยด เมือเกิดความเครี ยดขึน จะต้องมีวธีการ ิ จัดการกับความเครี ยดทีเหมาะสม มิเช่นนันจะส่ งผลเสี ยต่อร่ างกายหลายด้าน ดังนันการมีความรู ้ ความเข้าใจเกียวกับอารมณ์และความเครี ยด ตลอดจนวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดอย่าง เหมาะสม ย่อมจะทําให้เป็ นผูทีมีสุขภาพจิตแจ่มใส ้ . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง อารมณ์และความเครี ยดทีมีผลต่อสุ ขภาพ จากหนังสื อเรี ยน หรื อหนังสื อ ั ค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม 146
  • 10. . นักเรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ คน โดยคละเพศเพือให้แต่ละกลุ่มมีมุมมองทีกว้างขึน และสามารถ แลกเปลียนความรู ้ความคิดเห็นได้ดียงขึน ิ . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันวิเคราะห์สาเหตุของความเครี ยดทีเกิดขึนกับวัยรุ่ น โดยครู กาหนด ั ํ สาเหตุทีเป็ นประเด็นกว้างๆ ดังนี ) ภาวะด้านร่ างกาย ) ภาวะด้านจิตใจ ) ภาวะด้านสังคม หรื อสิ งแวดล้อม . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอผลการวิเคราะห์ทีหน้าชันเรี ยน เพือแลกเปลียนความรู ้ กับกลุ่มอืนๆ โดยครู คอยอธิ บายเพิมเติม . ครู อธิ บายถึงสาเหตุและลักษณะทีบ่งบอกเมือเกิดความเครี ยด พร้อมทังกล่าวถึงผลของอารมณ์และ ความเครี ยดต่อสุ ขภาพ . นักเรี ยนทําใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง เสร็ จแล้วนําส่ งครู ผสอน ู้ ชั วโมงที - . ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสนทนาเกียวกับลักษณะอาการของคนทีมีปัญหาทางด้านสุ ขภาพจิต . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต จากหนังสื อเรี ยน หรื อ ั ้ หนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ครู อธิ บายให้นกเรี ยนเข้าใจว่า ปั ญหาทางด้านจิตใจมีผลก่อให้เกิดความผิดปกติทางร่ างกาย เช่น ั ปวดศีรษะ ซึ มเศร้า อ่อนเพลีย วิตกกังวล เป็ นต้น . ให้นกเรี ยนศึกษาใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด เมือศึกษาจบแล้วให้นกเรี ยน ั ั ร่ วมกันอภิปรายแลกเปลียนความคิดเห็นกันในชันเรี ยน . ให้นกเรี ยนศึกษาความรู ้เรื อง วิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด จากหนังสื อเรี ยน ั ั หรื อหนังสื อค้นคว้าเพิมเติม ตามความเหมาะสม . ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมาจับสลากวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด แล้วให้ ั นําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผังความคิด ดังนี - กลุ่มหมายเลข การพักผ่อน - กลุ่มหมายเลข การนอนหลับ - กลุ่มหมายเลข การออกกําลังกาย - กลุ่มหมายเลข การผ่อนคลาย - กลุ่มหมายเลข การหัวเราะเพือคลายเครี ยด - กลุ่มหมายเลข การฝึ กบริ หารจิต 147
  • 11. . นักเรี ยนแต่ละกลุ่มส่ งตัวแทนออกมานําเสนอวิธีการจัดการกับอารมณ์และความเครี ยดด้วยแผนผัง ความคิดทีหน้าชันเรี ยน เมือนําเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว ครู อธิ บายให้นกเรี ยนทราบว่า วิธีการจัดการ ั กับอารมณ์และความเครี ยดแต่ละวิธีมีความเหมาะสมกับบุคคลต่างๆ แตกต่างกัน ดังนันจึงควรเลือก วิธีทีเหมาะสมกับตนเองมากทีสุ ด . ครู ให้นกเรี ยนแต่ละกลุ่มช่วยกันสรุ ปความรู ้ทีได้จากการเรี ยน มาจัดทําเป็ นป้ ายนิเทศ เรื อง อารมณ์ ั และความเครี ยด โดยให้ครอบคลุมตามประเด็นทีกําหนด ดังนี 1) ลักษณะอารมณ์และความเครี ยดของวัยรุ่ น 2) ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ 3) การเสนอแนะวิธีปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั ครู และนักเรี ยนร่ วมกันกําหนดระยะเวลาในการส่ งผลงาน นักเรี ยนทําแบบทดสอบหลังเรียน หน่ วยการเรียนรู้ ที 7.การวัดและประเมินผล วิธีการ เครืองมือ เกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบก่อนเรี ยน แบบทดสอบก่อนเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที . ใบงานที . ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ ประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง แบบประเมินป้ ายนิ เทศ เรื อง ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ อารมณ์และความเครี ยด อารมณ์และความเครี ยด ประเมินการนําเสนอผลงาน แบบประเมินการนําเสนอผลงาน ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม แบบสังเกตพฤติกรรมการทํางานกลุ่ม ระดับคุณภาพ ผ่านเกณฑ์ ตรวจแบบทดสอบหลังเรี ยน แบบทดสอบหลังเรี ยน ร้อยละ ผ่านเกณฑ์ 8.สื อ/แหล่ งการเรียนรู้ 8.1 สื อการเรี ยนรู้ ) หนังสื อเรี ยน สุ ขศึกษา ม. 2) ใบความรู ้ เรื อง ทักษะในการเผชิญกับความเครี ยด ) ใบงานที . เรื อง อารมณ์ของตนเอง 8.2 แหล่ งการเรียนรู้ 1) ห้องสมุด 2) แหล่งข้อมูลสารสนเทศ www.psyclin.co.th/new_page_82.htm www.allsands.com/health/copingskillsfo_rkt_gh.htm www.trueplookpanya.com/true/knowledge_detail.php?... 148
  • 12. ใบความรู้ เรือง ทักษะในการเผชิญกับความเครียด ความเครี ยดเป็ นภาวะทีเกิดขึนเมือจิตใจถูกกระตุนด้วยสิ งเร้าทีทําให้ตืนเต้นหรื อวิตกกังวล ส่ งผล ้ ให้เกิ ดการเปลี ยนแปลงด้านร่ างกาย หรื อเกิ ดอาการผิดปกติทางร่ างกายขึนได้ หากความเครี ยดมีมาก และคงอยู่เป็ นเวลายาวนาน แต่ความเครี ยดไม่มากจะเป็ นตัวช่วยให้เกิ ดแรงกระตุน ให้เกิ ดแรงมุมานะ ้ เอาชนะอุปสรรค และปั ญหาต่างๆ ได้ แต่ความเครี ยดมากเกินไป ประกอบกับการทีนักเรี ยนไม่สามารถ ผ่อนคลายความเครี ยดด้วยวิธีการทีเหมาะสม อาจทําให้เกิดความผิดปกติทางร่ างกาย และจิตใจ ทําให้ ขาดความสุ ขในการดําเนินชีวตและความสามารถในการเรี ยนลดลง ิ การช่ วยนัก เรี ย นเข้า ใจถึ ง ความเครี ย ด ตระหนัก ถึ ง อาการที แสดงว่า ตนกํา ลัง มี ค วามเครี ย ด ตลอดจนเรี ยนรู ้ ทกษะในการเผชิ ญกับความเครี ยดจะช่ วยให้มีความพร้ อมและตื นตัวอยู่เสมอในการ ั แก้ปัญหาก่อนทีปั ญหาจะรุ นแรงมากขึนเกินแก้ไข ลักษณะอาการทีบ่งบอกว่าบุคคลเริ มมีความเครี ยด มีการเปลี ยนแปลงต่อไปนี เกิ ดขึนอย่างน้อย เดือนทีผ่านมา . ปวดศีรษะ . นอนไม่หลับ . อ่อนเพลีย . กินมาก . ท้องผูก . ปวดหลัง 7. มีอาการภูมิแพ้ 8. หวาดวิตก/ตาขยิบ 9. ฝันร้าย/นอนละเมอ/กัดฟัน 10. ความดันเลือดสู ง 11. เป็ นลมพิษ 12. ใช้ยาหรื อแอลกฮอล์ 13. มีไข้ตา ํ 14. ท้องอืด 15. หายใจหอบ 16. กังวลใจ 17. ประจําเดือนไม่ปกติ 18. มีอาการคันตามเนือตามตัว 19. คลืนไส้อาเจียน . หงุดหงิด . ไมเกรน . ตืนเร็ วกว่าปกติ 23. เบืออาหาร 24. ท้องเสี ย 25. ปวดต้นคอและบริ เวณไหล่ 26. หอบหื ด 27. ลําไส้อกเสบ ั 28. ซึ มเศร้า 29. ข้ออักเสบ 30. เป็ นหวัด 31. มีอุบติเหตุเล็กน้อย ั 32. แผลในกระเพาะ 33. มือเท้าเย็น . ใจสัน . มีปัญหาทางเพศ . โกรธ โมโห . อืนๆ 149
  • 13. สาเหตุของความเครียด ความเครี ยดเกิดจากสาเหตุภายนอกและภายในตัวบุคคล ดังนี 1. สาเหตุจากภายนอกตัวบุคคล ได้แก่ สิ งแวดล้อมทีเป็ นกายภาพ สิ งแวดล้อมทางด้านสังคมและ มนุษย์สัมพันธ์ และเหตุการณ์ต่างๆ ทีเกิดขึนในการดําเนินชีวต ิ . สิ งแวดล้อมทางกายภาพ เป็ นความเครี ยดทีเกิดจากสิ งแวดล้อมรอบตัวทางกายภาพได้แก่ สภาพความร้อนหนาวของอากาศ อากาศทีหนาวเกินไปหรื อร้อนเกินไปทําให้ร่างกายไม่สุขสบาย การ ขาดแคลนปั จจัยทีจําเป็ นในการดํารงชี วิต เช่ น อาหาร นํา เครื องนุ่ งห่ ม ที อยู่อาศัย และยารักษาโรค เป็ นต้น . สังคมและสัมพันธ์ภาพกับคนอื น ได้แก่ ความไม่ปรองดองกันของบุ คคลในครอบครั ว การทะเลาะเบาะแว้งและการโต้เถี ยงกัน การอิจฉากันเป็ นต้นเหตุของการมีจิตใจไม่สงบ สภาพความ เป็ นอยู่ทีแออัดทําให้เกิ ดปั ญหาต่างๆ อันเป็ นสาเหตุแห่ งความเครี ยด เช่ น การทะเลาะวิวาท การใช้ ั ั ่ คําพูดเสี ยดสี กน การแก่งแย่งชิ งดีกน การขาดเพือนต้องอยูคนเดียวอย่างโดดเดียวก็จะทําให้เกิดภาวะ เครี ยด เป็ นต้น . สภาวการณ์ และเหตุ ก ารณ์ อืนๆ ในชี วิต ได้แก่ การได้รับ บาดเจ็บ ความเจ็บ ป่ วย การ สู ญเสี ย เช่ น สู ญเสี ยอวัยวะ บุคคลอันเป็ นทีรัก และสถานภาพทางสังคม (การถูกไล่ออกจากงาน การ เกษียณอายุ) เป็ นต้น นอกจากนีเหตุการณ์ทีก่อให้เกิดความชื นชมยินดี เช่น การแต่งงาน การมีบุตร การขึนบ้านใหม่ การสร้ างครอบครัวใหม่ การเลื อนตําแหน่ งหน้าทีการงาน การเข้าทํางานใหม่ก็เป็ นเหตุการณ์ ทีเป็ น สาเหตุของภาวะเครี ยดได้เช่นกัน เหตุการณ์ต่างๆ เหล่านีทําให้บุคคลต้องมีการปรับตัวและการปรับตัว นัน หากไม่มีประสิ ทธิ ภาพจะทําให้เกิดความเครี ยดอย่างรุ นแรงได้ . สาเหตุ จากภายในตัว บุ คคล ได้แก่ โครงสร้ างของร่ า งกาย และสภาวะทางสรี รวิทยา ระดับ พัฒนาการและการรับรู ้ของบุคคล . โครงสร้ างของร่ างกายและสภาวะทางสรี รวิทยา โครงสร้างของร่ างกายเป็ นส่ วนทีได้รับ ถ่ายทอดจากบรรพบุรุษ บางคนรับเอาส่ วนทีดีของพ่อแม่มาทําให้มีโครงสร้างร่ างกายทีสมบูรณ์และมี สุ ขภาพดี บางคนรับเอาส่ วนด้อยของพ่อแม่ ทําให้ร่างกายเติบโตอย่างไม่สมบูรณ์เกิดโรคต่างๆ ได้ง่าย ่ ้ ความสามารถทีซ่ อนแฝงอยูมีนอยทําให้การแก้ปัญหาทําได้ไม่ดีนก ทนทานต่อสภาวะความเครี ยดได้ ั ไม่ดี นอกจากนีการเปลียนวัยก็ก่อให้เกิดความเครี ยดได้เช่นกัน . ระดับ พัฒ นาการ ระดับ พัฒ นาการทางจิ ต ใจ อารมณ์ มี ผ ลต่ อ การรั บ รู ้ แ ละการแปล เหตุการณ์ บุคคลทีมีระดับพัฒนาการทีไม่ดี ทําให้มีการรับรู ้ เหตุการณ์ แบบเด็กๆ ซึ งยังผลให้ปัญหา ไม่ได้รับการแก้ไขก่อให้เกิดความเครี ยดติดตามมาได้อีก 150
  • 14. . การรับรู ้ และการแปลเหตุการณ์ การทีเรามีอารมณ์ กลัว โกรธ เกลี ยด หรื อกังวล ได้นน ั ่ ั ขึนอยูกบการรับรู ้ และการแปลเหตุการณ์ของเรา การรับรู ้จึงเป็ นตัวการสําคัญในการทีจะทําให้บุคคล สนองตอบต่อเหตุการณ์ ไปในทางทีดี หรื อในทางทีร้ าย เหตุการณ์ อย่างหนึ งทําให้คนสองคนรับรู ้ ได้ ไม่เหมือนกันและมีการตอบสนองต่อเหตุการณ์ทีแตกต่างกัน ทังนีเพราะบุคคลสองคนมีความต้องการ ขันพืนฐานทีแตกต่าง มีประสบการณ์ชีวตไม่เหมือนกัน มีความคาดหวัง มีทศนคติ และการมองโลกที ิ ั ไม่ เหมื อนกัน การรั บ รู ้ ขึ นอยู่ก ับประสบการณ์ ชี วิตเดิ ม เหตุ ก ารณ์ ที น่ าตื นเต้นและท้า ทายสํา หรั บ คนหนึ งอาจทําให้อีกคนรู ้ สึกกลัว กังวลหรื อรู ้ สึกว่าถูกหมินประมาทในความสามารถถูกลบหลู่ หรื อ ถู ก ลดเกี ย รติ ทังนี ขึ นอยู่ ก ั บ ประสบการณ์ เ ก่ า และโครงสร้ า งของบุ ค ลิ ก ภาพที มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ กระบวนการรับรู ้ของบุคคลนันๆ การตอบสนองของบุคคลต่ อความเครียด ภาวะความเครี ยดก่อให้เกิดความตอบสนองออกมาทังด้านร่ างกาย และจิตใจใน ระบบ คือ ระบบแรก คื อ ระบบประสาทอัตโนมัติ ซึ งเป็ นส่ วนหนึ งที เกี ยวข้องกับ การถู ก เร้ า ทางอารมณ์ การเร้าระบบประสาทอัตโนมัติ นําไปสู่ การเร้าอวัยวะทีเป็ นปลายทางของระบบนี ได้แก่ ระบบหัวใจ ระบบทางเดินอาหาร ระบบปั สสาวะ เป็ นต้น อาการแสดงของอวัยวะเหล่านี เช่น ใจสัน ชี พจรเต้นเร็ ว หายใจหอบ ปวดมวนท้อง ปั สสาวะบ่อย ท้องเสี ย เหงือออก มือเท้าเย็น เป็ นต้น ระบบทีสอง คือ ระบบต่อมไร้ท่อ การตอบสนองความเครี ยดทีเรื อรังจะผ่านทางระบบนี ทําให้เกิด อาการของอวัยวะต่างๆ เช่น ความดันโลหิ ตสู งขึน หัวใจเต้นแรงขึน กล้ามเนือสันกระตุก เป็ นต้น ระบบทีสาม ที มี ก ารเปลี ยนแปลง คื อ ภาวะทางจิ ตใจ เกิ ด อารมณ์ ตึง เครี ย ด มี ค วามวิตกกัง วล ซึ มเศร้ านําไปสู่ ความผิดปกติดานความคิด หรื อพฤติกรรม เช่ น คิดซําๆ หมกมุ่น ไม่สามารถตัดสิ นใจได้ ้ อยู่ก ับ จิ นตนาการมี ปั ญ หาการกิ นการนอน ความรู ้ สึ ก ทางเพศเปลี ยนแปลงหันไปใช้ย า สุ ราและ สารเสพติด นอกจากนีอาจมีอารมณ์ ทีเปลียนแปลงง่าย หงุดหงิด โกรธ โมโห รวมทังความรู ้ สึกในทางลบ เช่น รู ้สึกตนเองไม่มีค่า ไม่ได้รับการยอมรับถูกปฏิเสธ ไม่มีความสามารถ และรู ้สึกไม่มนคงทางจิตใจ ั แม้ว่าความเครี ยดดู เหมื อนจะมี ผลในทางลบเป็ นอย่างมาก แต่ความเครี ยดที มากเกิ นไป จะเป็ น สัญญาณเตือนเพือความระมัดระวังการดํารงชี วิตของมนุ ษย์ ความเครี ยดกระตุนให้คนเราต้องเตรี ยมตัว ้ เกิดความแข็งแกร่ ง มีความกระตือรื อร้นมากขึน พร้อมทีจะเผชิญกับสิ งทีเข้ามาในชีวต ิ 151
  • 15. การตอบสนองต่ อความเครียด ความเครี ยด ความเครี ยดทีไม่มากเกินไป มากเกินไป ปฏิกิริยาโต้ตอบ สิ งกระตุน ้ บุคคลอ่อนแอ สิ งกระตุน ้ ความแข็งแกร่ ง ให้เกิดความเครี ยด ให้เกิดความเครี ยด เสี ยงต่อการเกิดปั ญหา สามารถต้านทาน ความเครี ยด ่ บุคคลทีไม่เคยประสบความเครี ยดเลย หรื อมีผอืนช่วยเหลืออยูตลอดเวลา เมือประสบความเครี ยด ู้ มักจะขาดประสบการณ์ ในการแก้ปัญหา เมือบุคคลนันต้องเผชิ ญกับความเครี ยดด้วยตนเอง ก็จะเกิ ด ปั ญหาในการปรับตัวได้ง่าย ในขณะเดียวกันบุคคลทีประสบกับภาวะเครี ยดมากเกินไปเป็ นเวลานานๆ และไม่สามารถจัดการกับความเครี ยดได้อย่างเหมาะสม ก็จะเกิดปั ญหาทางร่ างกายและจิตใจตามมาได้ การปรับตัวเผชิ ญกับความเครียด เมื อบุ คคลประสบเหตุ การณ์ ทีก่ อให้เกิ ดความเครี ยด บุ คคลจะประเมิ นสถานการณ์ และปรั บตัว เพือเผชิ ญกับความเครี ยด บุคคลทีสามารถรับรู ้ เหตุการณ์ ได้อย่างถูกต้องจะปรั บตัวได้ดีกว่าบุคคลที รับรู ้เหตุการณ์ผดพลาด ิ กลไกการปรับตัวเพือเผชิ ญกับความเครียด (Coping mechanism) เป็ นแบบพฤติ กรรมที บุ คคลใช้เมื อเผชิ ญกับสิ งที คุ กคามต่อสุ ขภาพ เพือป้ องกันตนเอง เป็ นการ รักษาสมดุลของจิตใจทีถูกรบกวน เพือให้สามารถทําหน้าทีได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยพัฒนามาจาก การลองผิดลองถูก การเรี ยนรู ้ในอดีตจนเป็ นนิสัยของบุคคล จําแนกได้เป็ น ลักษณะ คือ . การสร้ างพลังภายในเพือเผชิ ญปัญหา เป็ นวิธีชวคราวทีบุคคลใช้ในการตอบสนองต่อสิ งกระตุน ั ้ ที ทําให้เกิ ดความเครี ยด โดยอาจจะเป็ นการประวิง เวลาลดความกดดันทางอารมณ์ ทําให้สามารถ พิจารณาสถานการณ์ทีกระตุนให้เกิดความเครี ยดในเวลาต่อมา ซึ งบุคคลมักแสดงออกในรู ปแบบต่างๆ ้ ดังนี . การร้องไห้ เป็ นการลดความเครี ยดทางอารมณ์ การร้องไห้ยงอาจได้รับความเห็นอกเห็นใจ ั จากผูอืน ทําให้บุคคลรู ้สึกว่า มีผร่วมทุกข์และเข้าใจในความทุกข์ของตนเองอีกด้วย ้ ู้ 152
  • 16. . การพู ด ระบายความรู ้ สึ ก ช่ ว ยลดความกดดัน ทางอารมณ์ ไ ด้ ทํา ให้ บุ ค คลมองเห็ น สภาพการณ์ของตนชัดเจนยิงขึนและอาจเกิดแนวความคิดใหม่ . การหัวเราะ เป็ นการพยายามมองปั ญหาด้วยอารมณ์ขน ช่วยให้มองเห็นปั ญหาตามทีเป็ น ั จริ ง เป็ นการยอมรับความสะเทือนใจ ความทุกข์ทีเกิดขึน ไม่เคร่ งเครี ยดกับชีวตมากเกินไป ิ . การคิดทบทวน การคิดทบทวนลําดับเหตุการณ์ ทําให้บุคคลเข้าใจปั ญหามากขึน สามารถ ประเมินเหตุการณ์ได้ดียิงขึน อาจช่ วยให้ยอมรับปั ญหา หรื อนําไปสู่ การจัดการกับสิ งกระตุนทีทําให้ ้ เกิดความเครี ยดได้ . การแสวงหาที พึงทางจิตใจ เป็ นการทีบุคคลต้องการความเห็ นใจจากผูอืน หรื อต้องการ ้ พึงพาทางใจจนกว่า จะสามารถรั ก ษาสมดุ ล ทางจิ ตใจได้ เช่ น การยึดหลักธรรม การใช้บริ ก ารให้ คําปรึ กษา เป็ นต้น . การนอนหลับ ช่วยผ่อนคลายความเครี ยดได้เป็ นอย่างดี อย่างน้อยก็ช่วยให้บุคคลพักความ ั เคร่ งเครี ยดกับปั ญหาระยะหนึง เพือเตรี ยมพลังในการต่อสู ้กบปั ญหาเมือตืนขึนมา . การพยายามกระทําสิ งใดสิ งหนึง เป็ นการพยายามนํากระบวนการแก้ปัญหามาใช้ในการจัดการ แก้ปั ญหา โดยการเปลี ยนแปลงตนเอง สิ งแวดล้อม หรื อทังตนเองและสิ งแวดล้อมโดยขึ นอยู่ก ับ สถานการณ์ เช่น การเปลียนนิ สัยการทํางาน วิธีการเรี ยน การปฏิบติตนเกี ยวกับสุ ขนิ สัย การลดความ ั คาดหวัง หรื อเปลียนค่านิยมของตนเอง เป็ นต้น การพยายามกระทํา สิ งใดสิ งหนึ ง เพื อเผชิ ญปั ญหาจึ ง เป็ นการจัดการกับสิ งกระตุ ้นที ทํา ให้เกิ ด ความเครี ยดระดับจิตสํานึก อาจจําแนกการพยายามกระทําสิ งใดสิ งหนึงเป็ น ลักษณะ ดังนี . การต่อสู ้ เป็ นการพยายามเอาชนะอุปสรรคเมือมีความขัดแย้งทางจิตใจ ด้วยการพิจารณา อย่างมีเหตุผลและตอบสนองต่อสิ งกระตุ นในรู ปการต่อสู ้ ซึ งแสดงออกในลักษณะใดลักษณะหนึ ง ้ ่ ได้แก่ การใช้ความพยายามมากขึน การใช้ความยืดหยุนในการจัดการกับปั ญหาหรื อหาแหล่งช่วยเหลือ เพือพัฒนาความสามารถของตนเองในการแก้ปัญหา . การหลี กหนี เป็ นการปรับตัวต่อเหตุการณ์ ทียุ่งยากซับซ้อนมากเกิ นไป เพือการปรับตัวที ดี กว่า หรื อยอมรับว่าสิ งนันยากเกิ นไปไม่เหมาะสมกับตนเอง และหาแนวทางไปสู่ เป้ าหมายใหม่ที เหมาะสมกว่าแทนการดําเนินชีวตอย่างไร้จุดหมาย ิ . รอมชอม เป็ นการปรั บเข้าหากันระหว่างเป้ าหมายที ตังใจ หรื อยอมรั บวิธีการใหม่ เพือ ดําเนินการให้บรรลุเป้ าหมายแทนวิธีการทีเคยใช้ไม่ได้ผล . การใช้ กลไกปองกันทางจิต (Defense mechanisms) ลักษณะกลไกป้ องกันทางจิตเป็ นดังนี ้ . เป็ นวิธีการทีบุคคลพยายามคุมครอง “ศักดิศรี ” ของตนเองและป้ องกันตนเองจากความคิด ้ วิตกกังวลระดับสู ง . มี ทงแง่บวกแง่ ลบ โดยในแง่ บวกจะเห็ นว่าเป็ นวิธีการที บุ คคลพยายามสร้ างสมดุ ลทาง ั จิตใจ เพือคงไว้ซึงศักดิศรี ของตนเอง ส่ วนในแง่ลบจะเห็นว่าเป็ นการหลีกหนีจากความเป็ นจริ ง 153
  • 17. . กลไกป้ องกันทางจิตทุกชนิ ดมีลกษณะร่ วม คือ การหลอกตนเอง ซึ งแสดงในรู ปของการ ั ปฏิ เสธความต้องการ หรื อความรู ้ สึ ก ต่อสถานการณ์ ต่า งๆ เป็ นการทดแทนความต้องการของตน ในทางที สั ง คมยอมรั บ ในชี วิตประจํา วัน คนปกติ จ ะใช้ก ลไกป้ องกันทางจิ ต ด้วยกันทังสิ น ถ้า ใช้ พอสมควรจะช่ วยในการปรับตัวในเวลาต่อมา แต่ถาใช้กลไกป้ องกันทางจิตในการจัดการกับปั ญหา ้ ส่ วนใหญ่ หรื อใช้กลไกป้ องกันทางจิตชนิ ดเดียวซําๆ โดยไม่สามารถลดความเครี ยดลงได้ บุคคลจะมี แนวโน้มการปรับตัวทีผิดปกติ ตัวอย่ าง ชนิดของกลไกป้ องกันทางจิตทีใช้ กนบ่ อยๆ ได้ แก่ ั . การปฏิเสธทีจะรับความจริ งทีเกิดขึน (Denial) . การกดเก็บความคิดและความรู ้สึก (Repression) . การโยนความผิดให้ผอืน (Projection) ู้ . การใช้เหตุผลทีมาแทนข้อเท็จจริ ง (Rationlization) . การทดแทนความรู ้สึกไม่สมหวังในทางตรงกันข้าม (Reaction formation) . การถ่ายทอดความรู ้สึกจากต้นเหตุไปสู่ ผอืน (Displacement) ู้ . การมีพฤติกรรมถอยหลังไปเป็ นเด็กกว่าอายุ (Regression) . การสร้างมโนภาพหรื อเรื องราวเพือชดเชยความผิดหวัง (Fantasy) . การใช้สติปัญญาหลีกเลียงต่อเหตุการณ์ (Intellectualzation) วัตถุประสงค์ ในการเสริมสร้ างความสามารถและทักษะในการเผชิ ญความเครียดให้ กบนักเรียน ั . เพือให้นักเรี ย นตระหนักถึ งความเครี ยดและผลของความเครี ย ดที มี ต่อความสามารถ ทางด้านการเรี ยน และการดําเนินชีวต ิ . เพือให้นกเรี ยนมี แนวทางในการเผชิ ญกับความเครี ยดได้อย่างเหมาะสม และสามารถ ั นําไปประยุกต์ใช้ในชีวตประจําวัน ิ เทคนิคในการจัดการกับความเครียด เป้ าหมายของการจัดการความเครี ยด ไม่ใช่ การระงับหรื อหลี กเลี ยงความเครี ยด แต่เน้ นการ จั ดการกับอารมณ์ และการช่ วยให้บุคคลสามารถแก้ ไขปั ญหาได้อย่า งเหมาะสม เพือไม่ใ ห้เกิ ดผล ในทางลบตามมา เทคนิคการจัดการกับความคิดและอารมณ์ . ต้องตระหนักถึงอาการทีแสดงว่าเริ มมีความเครี ยด เช่น รู ้สึกหงุดหงิด ไม่มีความสุ ข ปวด ศีรษะ เหนือยง่าย ความจําหรื อสมองแย่ลง แน่นท้อง หายใจขัด เป็ นต้น . พิจารณาว่าอะไรทําให้เครี ยด และความคิดของบุคคลในการรับรู ้สิงกระตุนทีก่อให้เกิ ด ้ ความเครี ยดเป็ นอย่างไร เช่น นักเรี ยนเครี ยดเนืองจากเกรดตกลงมาจาก . เหลือ . แสดงว่า นักเรี ยน รั บรู ้ ว่าคะแนนมี ความสําคัญต่อการตัดสิ นความสามารถของตนเองมาก จึ งรู ้ สึ กไม่พอใจแม้ว่าผล การเรี ยนยังอยูในระดับดีก็ตาม ่ 154
  • 18. 3. ใช้เ ทคนิ ค การผ่อ นคลายอารมณ์ เพื อให้ เ กิ ด ความสงบ และพร้ อ มที จะจัด การกับ ความเครี ยดต่อไป 3.1 ใช้วธีการผ่อนคลายต่างๆ เช่น การหายใจ การฝึ กสมาธิ การนวด การออกกําลังกาย ิ ฟังเพลง เป็ นต้น . การปรับเปลียนความคิด เป็ นการปรับเปลี ยนวิธีคิดทางลบให้เป็ นทางบวก เพือให้ เกิ ดความรู ้สึกต่อสถานการณ์นนๆ ดีขึน ช่ วยให้บุคคลสามารถจัดการกับอารมณ์ และแสดงออกทาง ั พฤติกรรมได้อย่างเหมาะสมโดยการหมันฝึ กจับความคิดลบ ปรับเปลียนให้เป็ นความคิดทางบวกเป็ น ประจํา เพือให้เกิ ดความคิดในทางบวกโดยอัตโนมัติ โดยบุคคลสามารถฝึ กจับความคิดในใจได้ดวย ้ ่ การพูดค่อยๆ หรื อพูดกับตัวเองดังๆ ในใจ เมือกําลังตกอยูในสถานการณ์ทีก่อให้เกิดความเครี ยด เช่น “เหตุการณ์.................... ทําให้ฉนกําลังเครี ยด” ั “ฉันคิด.................... (คิดอย่างไรต่อเหตุการณ์นนๆ)” ั “ฉันรู ้สึก.................... (ต่อเหตุการณ์นนๆ)” ั “ฉันควรคิดว่า.................... (ฉันจะรู ้สึกดีขึน)” . ชื นชมตนเองที สามารถจัดการกับ ความคิ ด และอารมณ์ ท างลบของตนเองได้ใ นทาง สร้างสรรค์ เทคนิคการแก้ ปัญหา เมืออารมณ์สงบแล้ว ให้ดาเนินการแก้ไขปั ญหาตามขันตอนต่อไปนี ํ . หาสาเหตุทีแท้จริ งของปั ญหา . รวบรวมข้อมูลทีจําเป็ นเกียวกับการแก้ปัญหา . วิเคราะห์ขอดี ข้อเสี ย และจัดลําดับความสําคัญของปั ญหา ้ . ตัดสิ นใจเลือกวิธีแก้ปัญหาทีเหมาะสมและสามารถทําได้ . หาวิธีแก้ไขผลเสี ยทีอาจเกิดขึนจากทางเลือกนันๆ . ดําเนินการแก้ปัญหา . ประเมินผลการแก้ปัญหา การจัดการกับความเครี ยดได้ดี นําไปสู่ แรงจูงใจในการฝ่ าฟั นอุปสรรคไปสู่ ความสําเร็ จหรื อ ความหวังทีตังเอาไว้ ผูทีมีความอดทนต่อความเครี ยด และสามารถจัดการกับความเครี ยดได้ดี จะมี ้ สภาวะจิ ตที สงบ แม้จะอยู่ใต้ค วามกดดัน ซึ งสิ งเหล่ านี สามารถฝึ กฝนได้ ในทางตรงกันข้า ม การ ไม่ ส ามารถควบคุ ม ความเครี ย ดที มากเกิ นไปได้จะนํา ไปสู่ ค วามล้ม เหลวความรู ้ สึ ก เศร้ า สู ญ เสี ย ความภาคภูมิใจ และเกิดการเจ็บป่ วยได้ ทีมา : คู่มือส่ งเสริ มสุ ขภาพจิตนักเรี ยน ระดับมัธยมศึกษา 155
  • 19. แบบประเมินป้ ายนิเทศ เรือง อารมณ์ และความเครียด กลุ่มที สมาชิกของกลุ่ม . . . . . . ลําดับ คุณภาพผลงาน รายการประเมิน ที ลักษณะอารมณ์และความเครี ยดของวัยรุ่ น ลักษณะอาการเบืองต้นของผูมีปัญหาสุ ขภาพจิต ้ การเสนอแนะวิธีการปฏิบติตนเพือจัดการกับอารมณ์และความเครี ยด ั การจัดระบบของข้อมูลบนป้ ายนิเทศ รวม ลงชือ..............................................................................ผูประเมิน ้ / / ....................... ........................... ........................ เกณฑ์ การให้ คะแนน เกณฑ์ การตัดสินคุณภาพ ดีมาก = 4 ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ ดี = - ดีมาก พอใช้ = - ดี ปรับปรุ ง = 1 - พอใช้ ตํากว่า ปรับปรุ ง 156
  • 20. ใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง ตอนที คําชี แจง ให้นกเรี ยนสํารวจอารมณ์ตนเองว่าเคยมีอารมณ์ประเภทใด บ่อยแค่ไหน โดยขีดเครื องหมาย ั ให้ตรงกับหมายเลขทีเป็ นบุคลิกภาพทางอารมณ์ของนักเรี ยน ตามข้อมูลต่อไปนี = ไม่เคยมี = น้อยมาก หรื อแทบไม่เคยมี = ปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว = มีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ลักษณะอารมณ์ 3 ลักษณะอารมณ์ อารมณ์เบิกบาน อารมณ์กลัว อารมณ์ร่าเริ ง อารมณ์อิจฉา อารมณ์อ่อนล้า อารมณ์เศร้า อารมณ์หงุดหงิด อารมณ์เหงา อารมณ์รุนแรง อารมณ์ร้อน อารมณ์รังเกียจ อารมณ์เย็น อารมณ์โกรธ อารมณ์ปิติยนดี ิ อารมณ์ห่อเหี ยว อารมณ์ดี อารมณ์ดีใจ อารมณ์เครี ยด อารมณ์เบือ อารมณ์เสี ย สรุ ปการสํารวจอารมณ์ของตนเอง - อารมณ์ทีมีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ( ) ได้แก่ - อารมณ์ทีมีปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว ( ) ได้แก่ - อารมณ์ทีมีนอยมาก หรื อแทบไม่เคยมี ( )ได้แก่ ้ - อารมณ์ทีไม่เคยมี ( ) ได้แก่ - จากแบบสํารวจ นักเรี ยนพบว่า ตนเป็ นคนทีมีบุคลิกภาพทางอารมณ์อย่างไร และพบสิ งทีควร แก้ไขปรับปรุ ง คือ 157
  • 21. ตอนที คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนีพอสังเขป ั . หากเกิดความเครี ยด นักเรี ยนจะยึดแนวทางใดช่วยในการปฏิบติตนให้เหมาะสม ั 1) 2) ) 4) . ให้เสนอแนะวิธีป้องกันความเครี ยดโดยระบุสาเหตุ พร้อมทังยกตัวอย่างผลกระทบจากความเครี ยดนัน วิธีปองกันความเครี ยด ้ สาเหตุ ตัวอย่ าง . . . . . 158
  • 22. ใบงานที . เรือง อารมณ์ ของตนเอง ตอนที คําชี แจง ให้นกเรี ยนสํารวจอารมณ์ตนเองว่าเคยมีอารมณ์ประเภทใด บ่อยแค่ไหน โดยขีดเครื องหมาย ั ให้ตรงกับหมายเลขทีเป็ นบุคลิกภาพทางอารมณ์ของนักเรี ยน ตามข้อมูลต่อไปนี = ไม่เคยมี = น้อยมาก หรื อแทบไม่เคยมี = ปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว = มีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ลักษณะอารมณ์ 3 ลักษณะอารมณ์ อารมณ์เบิกบาน อารมณ์กลัว อารมณ์ร่าเริ ง อารมณ์อิจฉา อารมณ์อ่อนล้า อารมณ์เศร้า อารมณ์หงุดหงิด อารมณ์เหงา อารมณ์รุนแรง อารมณ์ร้อน อารมณ์รังเกียจ อารมณ์เย็น อารมณ์โกรธ อารมณ์ปิติยนดี ิ อารมณ์ห่อเหี ยว อารมณ์ดี อารมณ์ดีใจ อารมณ์เครี ยด อารมณ์เบือ อารมณ์เสี ย สรุ ปการสํารวจอารมณ์ของตนเอง - อารมณ์ทีมีบ่อยๆ หรื อเป็ นประจํา ( ) ได้แก่ - อารมณ์ทีมีปานกลาง หรื อมีเป็ นครังคราว ( ) ได้แก่ - อารมณ์ทีมีนอยมาก หรื อแทบไม่เคยมี ( )ได้แก่ ้ - อารมณ์ทีไม่เคยมี ( ) ได้แก่ - จากแบบสํารวจ นักเรี ยนพบว่า ตนเป็ นคนทีมีบุคลิกภาพทางอารมณ์อย่างไร และพบสิ งทีควร แก้ไขปรับปรุ ง คือ 159
  • 23. ตอนที คําชี แจง ให้นกเรี ยนตอบคําถามต่อไปนีพอสังเขป ั . หากเกิดความเครี ยด นักเรี ยนจะยึดแนวทางใดช่วยในการปฏิบติตนให้เหมาะสม ั 1) 2) ) 4) . ให้เสนอแนะวิธีป้องกันความเครี ยดโดยระบุสาเหตุ พร้อมทังยกตัวอย่างผลกระทบจากความเครี ยดนัน วิธีปองกันความเครี ยด ้ สาเหตุ ตัวอย่ าง . . . . . (หมายเหตุ พิ จารณาตามผลงานของนักเรี ยน โดยให้ อยู่ในดุลยพินิจของครู ผ้ สอน) ู 160