SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
ความเขมแข็งและศักยภาพขององคกรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี
The Potential and Strength of Community Organization
In Sphan Buri Province
ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน
บทคัดยอ
รายงานวิจัยนี้ไดเสนอผลการประเมินศักยภาพและความเขมแข็งขององคกรชุมชนในจังหวัด
สุพรรณบุรี จํานวน 2 ประเภท ประเภทละ 2 องคกรชุมชน อันไดแก องคกรชุมชนที่มีการดําเนินงาน
ในลักษณะประกอบการเชิงวิสาหกิจและองคกรชุมชนที่มีการดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและ
วัฒนธรรม ผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลชี้ใหเห็นถึงศักยภาพและความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้ง 2
ประเภท เห็นไดจากการที่องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภทไดรับการยอมรับจากสมาชิกในชุมชนอยางสูง อัน
เนื่องมาจากความสามารถในกาแกปญหาและสนองตอบความตอการของชุมชน โดยใชตนทุนทางสังคม
และทรัพยากรที่มีอยูภายในชุมชน งานวิจัยนี้ ไดใหขอเสนอแนะในเชิงนโยบายใหรัฐใหความสําคัญ
องคกรชุมชนและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการพัฒนาประเทศโดยใหความสําคัญกับทองถิ่นมาก
ยิ่งขึ้นและใชศักยภาพของทองถิ่นในฐานะจักรกลของการพัฒนาประเทศจากระดับลางสูระดับบนให
มากยิ่งขึ้น
Abstract
This research report presents the result from assessment of the strengths and
potential of four community organization (COs) in Suphan Buri Proince. Two each were
selected from the two types of Cos: socio-cultural development and community
enterprises.
The result from the data analysis indicate that the Cos that were studied are
very strong in the studied areas for development initiatives, in and for their own
community. In addition, we note that owing to their responsiveness and accountability,
1
อาจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
they are highly regarded by the members of their communities. Due to this status, they
are able to effectively use the human capital and resources from within their
communities. Based on the results of this research, it is recommended that the central
government should capitalize on these positive findings and formulate a policy toward a
local - driven development paradigm.
คําสําคัญ: ความเขมแข็งขององคกรชุมชน องคกรชุมช การดําเนินงานขององคกรชุมชน
Keyword: Strengthening Community Organization, Community Organizations,
Organizational performance
บทนํา
แนวคิดการสรางความเขมแข็งภาคประชาชนของไทย ไดนําเสนอถึงองคประกอบดานตาง ๆ ที่
สามารถนํามาพิจารณาเพื่อการศึกษาความสามารถในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่งจะนําไปสูการ
พัฒนาความเขมแข็งภาคประชาชน ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งการบริหารจัดการ
ทั้งนี้ แนวคิดดังกลาว มาจากนโยบายจากสวนกลางที่เอื้อตอการสนับสนุนและสงเสริมความเขมแข็งของ
ชุมชนที่มีพื้นฐานจากแนวคิดการสรางความเขมแข็งใหแกชุมชน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แหงชาติฉบับที่ 8 (2540 - 2544) ซึ่งไดใหองคประกอบของชุมชนที่เขมแข็งไวโดยเสนอวา ชุมชนจะมี
ความเขมแข็งไดนั้น ชุมชนตองมีการรวมตัวกันเปนองคกรชุมชน มีการเรียนรู การจัดการและการแกไข
ปญหารวมกัน อยางไรก็ตาม การใหคําจํากัดความของคําวา “ ชุมชนเขมแข็ง ” ยังไมมีความชัดเจนนัก
(คณะทํางานสุขภาพคนไทย, 2554) ทําใหมีผลตอการใหความหมายของคําวา “ ความเขมแข็งของ
องคกรชุมชน ” เนื่องจากแนวคิดชุมชนเขมแข็งดังกลาว ไดนําเสนอภายใตพื้นฐานความคิดที่วา ชุมชน
คือ องคกรชุมชนในรูปแบบหนึ่งที่มีโครงสราง มีการจัดการและมีสิ่งตางๆ ภายในชุมชนทําใหคนภายใน
ชุมชนจําเปนตองรวมกันดํารงอยู รวมกันทําและ/หรือรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น
นอกจากนั้น การสงเสริมความเขมแข็งภาคประชาชน ซึ่งเกี่ยวของกับการพัฒนาความ สามารถ
ในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ไดถูกกําหนดขึ้นทั้งในระดับธรรมนูญการปกครองและในระดับ
นโยบายการพัฒนาการเมืองและการบริหาร โดยเฉพาะบทบัญญัติในหมวด 5 ของรัฐธรรมนูญแหง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 วาดวยการเมืองการปกครองและการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการ
กระจายอํานาจแกทองถิ่น ซึ่งสอดคลองกับรัฐธรรมนูญป 2550 หมวด 3 มาตรา 66 และ 67 วาดวย
สิทธิชุมชนและหมวดที่ 5 มาตรา 87 วาดวยแนวนโยบายการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งเนน
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนหลายประการ ไดแก (สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.,
2550) ประการแรก การมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจทางการเมือง ประการที่สอง
การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาทั้งเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมถึงการตรวจสอบอํานาจรัฐ
ประการที่สาม การปฏิรูประบบราชการที่มีประสิทธิภาพในดานการบริหาร เพื่อตอบสนองตอความ
ตองการของประชาชน ทั้งนี้ ภายใตการคุมครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 75
การสงเสริมเพื่อการพัฒนาความเขมแข็งภาคประชาชนตามรัฐธรรมนูญดังกลาว ไดให
ความสําคัญตอกลุมองคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชนและบุคคลในพื้นที่ที่มีความเขาใจตอสภาพพื้นที่
และสภาพปญหาของตน รวมถึงการเปนผูที่มีความรูความเขาใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเก็บ
รวบรวมและการสงผานขอมูลขอเท็จจริงที่เปนประโยชนตอการดําเนินการของรัฐ ซึ่งหากพิจารณา
ลักษณะขององคกรชุมชนจะพบวา องคกรชุมชนของไทยมีสองลักษณะใหญ ๆ คือ ลักษณะแรก องคกร
ที่ปรากฏลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ซึ่งเนนเปาประสงคการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาสังคมและ
สิ่งแวดลอมภายในชุมชน ลักษณะที่สอง องคกรที่ปรากฏลักษณะวิสาหกิจ ซึ่งเนนเปาหมายดานธุรกิจที่
เกี่ยวกับการผลิต การคาขายและการเงิน โดยองคกรทั้งสองลักษณะ ดํารงอยูทามกลางการเปลี่ยนแปลง
ที่สําคัญในบริบทของชุมชน ทั้งที่เปนสภาพเงื่อนไขแวดลอมของชุมชนเองและสภาพแวดลอมภายนอก
ชุมชน ทําใหองคกรชุมชนเกิดพัฒนาการที่หลากหลายและเจริญเติบโตไปตามการเปลี่ยนแปลงทั้งดาน
เศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน
ดังนั้น ประเด็นสําคัญที่นําไปสูการศึกษานี้คือ ประเด็นแรก องคกรชุมชนทั้งสองลักษณะมีการ
ดําเนินงานที่ตางกันหรือไมและอยางไร ประเด็นที่สอง อะไรคือตัวชี้วัดความสามารถในการดําเนินงาน
ซึ่งสามารถนําไปชี้แสดงใหเห็นถึงความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้งสองลักษณะ
วัตถุประสงคในการวิจัย
1. เพื่อประเมินศักยภาพและความเขมแข็งในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ในจังหวัด
สุพรรณบุรี
2. เพื่อเปรียบเทียบการดําเนินงานระหวางองคกรชุมชนที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม กับ
องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจในจังหวัดสุพรรณบุรี
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
วรรณกรรมที่เกี่ยวของ
การพิจารณาความเขมแข็งขององคกรชุมชนในกรณีความสามารถในการดําเนินงานขององคกร
ชุมชนซึ่งมีลักษณะสองประการคือ ประการแรก ลักษณะที่เนนกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมหรือ
เรียกวา ลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ประการที่สอง ลักษณะที่เนนกิจกรรมทางการเงินและธุรกิการคา
หรือเรียกวา ลักษณะวิสาหกิจ โดยจะพิจารณาภายใตแนวคิดการดําเนินงานและงานศึกษาที่เกี่ยวของ
ใหไดขอสรุปสําคัญเพื่อนําไปใชเปนแนวทางการศึกษาการดําเนินงานขององคกรชุมชน การเปรียบเทียบ
และการศึกษาตัวชี้วัดความสามารถขององคกรชุมชน ซึ่งผลการศึกษา จะนําไปสูการพัฒนาแนวคิด
ความเขมแข็งของชุมชนใหมีความชัดเจนขึ้นและเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาความเขมแข็งขององคกร
ชุมชนตอไป
แนวคิดที่เกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกรชุมชน ทั้งแนวคิดของนักวิชาการในประเทศไทย
และแนวคิดของนักวิชาการในตางประเทศ ตางใหความหมายที่สอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน
ไมวาจะเปนแนวคิดของสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง (2555) ชินอิจิ (2006) และบุคคลอื่น ๆ
โดยนักวิชาการทั้งหมดดังกลาว ตางเห็นตรงกันวา องคกรชุมชนจําเปนตองมีการดําเนินงานของตนเอง
มีอิสระและปราศจากจากการแทรกแซงจากองคกรอื่น ๆ โดยเฉพาะรัฐบาล เนื่องจากชุมชน
มีสภาพแวดลอมหรืออัตลักษณของตนเอง อันเปนลักษณะสําคัญที่มาจากรากฐานทางสังคมและ
วัฒนธรรม และมีผลตอการดําเนินงานขององคกรชุมชน โดยอาจเรียกวา ทุนทางสังคม ซึ่งมี
องคประกอบเปนคานิยมทางสังคม ดังที่ โอลิสกี้ ชมิทและไรเนส (Orlitzky, Schmidt, & Ryne,
2003) เสนอวา กิจกรรมทางสังคมสามารถเพิ่มศักยภาพในการจัดสรรทรัพยากร การใหความชวยเหลือ
และการทําใหองคกรชุมชน เปนองคกรแหงความรูได ขอเสนอดังกลาว สอดคลองกับฐานคติของเท็ค
เลไฮมานอทและเทคเลไฮมานอท (Teklehaimanot and Teklehaimanot, 2013) และของแซนโด
วาล แฟลนเดอร และ โคแซค (Sandoval, Flanders, & Kozak, 2010) ที่เชื่อวา องคกรชุมชนสามารถ
ดําเนินงานดวยความเปนอิสระภายใตเงื่อนไขแวดลอมขางตน ทั้งนี้ แจนดา (Janda, 2014) ให
ความสําคัญตอปจจัยดานสังคมและวัฒนธรรม นอกเหนือจากปจจัยดานเทคโนโลยี ซึ่งมีผลตอการ
ดําเนินงานขององคกรชุมชน ขณะที่ ชูนเต็งและยางเคา (Chuan Tseng & Kuo, 2014) มีความเห็น
เชนเดียวกับบุคคลตาง ๆ ขางตน แมวา งานศึกษาของพวกเขาจะเปนงานศึกษาการดําเนินงานของ
องคกรชุมชนภายใตสภาพแวดลอมของเทคโนโลยีสมัยใหมก็ตาม แตในทายที่สุด งานศึกษาดังกลาว ได
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
เนนลักษณะของคานิยมทางสังคมมากกวาการดําเนินงานภายใตสภาพแวดลอมของเทคโนโลยี กลาวคือ
เนนลักษณะของทุนทางสังคม เชนเดียวกับแนวคิดของ ฟลด (Field, 2008) และบอรดิว (Bourdieu,
1986) ที่ไดใหความสําคัญตอการปฏิสัมพันธของสมาชิกในองคกรชุมชน ซึ่งมีลักษณะที่เอื้อตอการ
เรียนรู การสรางความรูและการสรางเครือขายขององคกรชุมชน ทั้งนี้ บราวและดูกิด (Brow &
Duguid, 2001) ไดสนับสนุนทัศนะดานสังคมเชิงวัฒนธรรม และไดใหขอสรุปที่เปนแนวรวมกับแนวคิด
ของโอลิสกี้ ชมิทและไรเนส (Orlitzky, Schmidt, & Ryne, 2003) ซึ่งไดนําเสนอลักษณะสําคัญสอง
ประการคือ ลักษณะแรก เปนลักษณะของกิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรรมภายใตสภาพแวดลอมในการ
ดําเนินงาน ลักษณะที่สอง เปนลักษณะการดําเนินงานดานกิจกรรมทางการเงิน ทั้งนี้ โอลิสกี้ ชมิทและ
ไรเนส ไดใหขอสรุปเพิ่มเติมวา กิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรมซึ่งไมเนนการตลาด จะสามารถพิจารณา
ไดรอบดานกวาทั้งในดานความรับผิดชอบทางสังคม อันไดแก ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอการ
ปฏิสัมพันธและลักษณะตอประสิทธิผลเชิงคุณภาพของการดําเนินงาน ซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิสัมพันธ
ในลักษณะการเรียนรูแลกเปลี่ยนระหวางกัน ทั้งภายในและระหวางองคกรชุมชน อยางไรก็ตาม
งานศึกษาบางสวนไดใหความสําคัญตอเปาหมายการดําเนินงานโดยเห็นวา คุณภาพในการดําเนินงาน
ขึ้นอยูกับการใหความชวยเหลือหรือการประสานเชื่อมโยงในลักษณะเครือขายองคกร
การศึกษาในประเด็นประสิทธิภาพของการดําเนินงาน ทําใหไดรายละเอียดของปจจัยที่เกิดจาก
ความรวมมือของสมาชิกในองคกรชุมชนในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งรูปแบบองคกรที่เหมาะสม ตลอดจน
การแสดงบทบาทชี้นําของผูนําองคกร ซึ่งไดสรางนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการทํางานใหแกสมาชิก
องคกรและชุมชน ทั้งนี้ รูปแบบการดําเนินงานขององคกรชุมชนดังกลาว ไมไดละเลยลักษณะคานิยม
แบบประเพณี ดังเชนการศึกษาของพระมหาสุนทร ปญญาพงษ (2542) ที่ไดนําเสนอถึงองคกรที่มี
คานิยมแบบประเพณี แมวาในทายที่สุดของการศึกษา จะมีขอขัดแยงในดานของผลการศึกษาก็ตาม
ปจจัยเชิงบทบาทของภาวะผูนําซึ่ง อุดมศักดิ์ เดโชชัยและคณะ (2553) พระมหาสุนทร ปญญา
พงษ (2542), สายใจ เรือนใจหลัก (2554) และพยุง รสใจ (2554) รวมถึงบริกแนลและโมแดล
(Brignall, & Modell, 2000) ตางเห็นวา ปจจัยเชิงบทบาทที่สามารถนําองคกรไปสูการดําเนินงานที่
ประสบผลของผูนําองคกรชุมชน คือ การแสดงบทบาทไปตามเงื่อนไขแวดลอม โดยเฉพาะประเด็นการ
สนับสนุนจากสถานการณตาง ๆ ทั้งดานบุคคลรอบขาง บุคลิกภาพที่เกี่ยวของกับการชี้นํา การกํากับ
ทิศทางสูเปาหมายและการมีสิ่งที่บุคคลอื่น ๆ หรือสมาชิกองคกรชุมชนไวเนื้อเชื่อใจ นอกจากนั้น
ลักษณะของผูนําองคกรชุมชน จะตองเปนผูประสานที่ดี มีอุดมการณ มีความสํานึกและความเสียสละ
ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การกระตุนชี้นํา การผลักดันและการสรางความกระตือรือรนในการ
ทําสิ่งตาง ๆ ซึ่งบริกแนลและโมเดล (Brignall & Modell, 2000) กลาวถึงบทบาทของผูนําองคกรวา
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
ผูนําองคกรจะตองมีความสามารถดานปฏิสัมพันธกับผูมีสวนไดสวนเสีย มีความสามารถในการเจรจา
ตอรอง การจัดทํารายงานและกระจายขาวสาร
แนวคิดการบริหารการดําเนินงานของ ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน (2553) ไดนําเสนอถึง
ความแตกตางกันระหวางแนวคิดในการดําเนินงานทั่วไป กับแนวคิดในการดําเนินงานขององคกรชุมชน
โดยเฉพาะโครงสรางองคกรและโครงสรางการดําเนินงานขององคกรชุมชนแบบหลวม ๆ ทําใหแนวคิด
ดังกลาว สนับสนุนแนวคิดอื่น ๆ ดานการดําเนินงานขององคกรชุมชนใหมีความหนักแนนมากขึ้น
ไมวาจะเปน ชินอิจิ (2549) และสถาบันพัฒนาการเมือง (2555) ซึ่งนําเสนอถึงลักษณะโครงสรางองคกร
ที่เหมาะสมในลักษณะหลวม ๆ (Consortium) และเปนรูปแบบที่สามารถแกไขปญหาและสรางความ
รวมมือกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งยังมีความสอดคลองกับแนวคิดที่นําเสนอโดย ฮูเบอรแมนและฮ็อก
(Huberman & Hogg, 1995) ที่กลาวถึงลักษณะการพัฒนาการของรูปแบบองคกรชุมชนที่พัฒนาจาก
รูปแบบองคกรแนวราบ (Flat) ไปสูรูปแบบองคกรที่แบงเปนกลุม (Cluster) เมื่อองคกรชุมชนนั้น
เจริญเติบโต
ลักษณะขางตน จึงเปนลักษณะที่เกิดจากภายในองคกร ไมไดเกิดจากลักษณะภายนอก จึงยังคงมี
ผลทําใหเกิดจุดออนดานประสิทธิภาพในการดําเนินงาน โดยเฉพาะสภาพเงื่อนไขแวดลอมภายนอกของ
การเปลี่ยนแปลงไปสูความเปนระบบโลก และการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของชุมชน ทําใหเกิดความ
ตองการการเรียนรูที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง Brow & Duguid (2001) มีความเห็นวา สิ่งดังกลาวยังมีจุดออนใน
ดานความรูเชิงเศรษฐศาสตรที่องคกรชุมชน ไมสามารถสรางนวัตกรรมใหเกิดขึ้นไดมากนัก งานศึกษา
ตอมาจึงไดสะทอนภาพของการจัดการภายในองคกรชุมชนและชุมชนในเชิงเศรษฐศาสตรมากขึ้น
ดังเชนงานของ ดาริกา สุวรรณมงคลและคณะ (2557) ปริวัตร เปลี่ยนศิริและวาสิตา บุณสาธร (2557)
ศรันยู เรืองจันทร (2557)
นอกเหนือจากประเด็นทางเศรษฐศาสตรแลว งานศึกษายังใหความสําคัญตอสังคม จนทําให
การศึกษามีลักษณะของเศรษฐสังคม (Socioeconomic) รวมอยูดวย โดยงานศึกษา แสดงใหเห็น
ความสําคัญของการมีสวนรวม การใชคานิยมทางสังคมมาเปนกลไกในการดําเนินงาน ซึ่งแสดงใหเห็นถึง
การนําอัตลักษณของชุมชนและทองถิ่น เขามาเปนกลไกสําคัญของการดําเนินงานขององคกรชุมชน โดย
การศึกษาเริ่มจากระดับปจเจกไปสูระดับสังคมหรือชุมชนมากขึ้น การดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่ง
เนนรูปแบบที่สอดคลองกับงานศึกษาขางตน เชน งานศึกษาของพยุง รสใจ (2554) สุพรรณณี ไชยอํา
พร และฐิติญา วิมลวัฒน (2557) ตางก็เนนรูปแบบของผลการดําเนินงานที่เปลี่ยนแปลงไปสูผลลัพธที่ได
จากคานิยมรวมกัน ทั้งนี้ Brignall & Modell (2000) ใหความสําคัญตอการมีสวนรวมของชุมชนจนมี
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
ผลตอขอตกลงรวมกันของชุมชนและมีความสามารถตอการกําหนดนโยบายในระดับสูง ดังเชน
Sandoval, Flanders & Kozak (2010) ไดขยายความไปสูรูปแบบการใชชุมชนเปนฐานในการพัฒนา
ภายใตการมีสวนรวมของชุมชน และภายใตเงื่อนไขแวดลอมหรือภายใตอัตลักษณของชุมชนซึ่ง
Orlitzky, Schmidt, & Ryne (2013) ชี้ใหเห็นถึงประเด็นสําคัญดังกลาว โดยเขาเชื่อวา ชุมชนสามารถ
ขับเคลื่อน (Mobilization) ไดดวยตัวเอง ทั้งนี้ การเชื่อมโยงกับสังคมภายนอก ทําใหเกิดการปรับตัว
ของชุมชนดังที่ Janda (2014) นําเสนอและไดใหความสําคัญตอความสัมพันธระหวางคนและการ
เชื่อมโยงกิจกรรมกับโลกภายนอก ทําใหเกิดความสามารถที่เรียกวา ศักยภาพทางสังคม
ขอสรุปจากแนวคิดขางตน ทําใหพิจารณาไดถึงการดําเนินงานและตัวชี้วัดความสามารถในการ
ดําเนินงานขององคกรชุมชนไดพอสมควร โดยสามารถสรุปไดดังนี้
1. ความเปนกลุมสมาชิกของประชาชนในชุมชน มีการกําหนดประสิทธิผลของเปาหมายและ
ผลลัพธรวมถึงการแบงปนวัตถุประสงครวมกัน
2. มีกิจกรรมและความเคลื่อนไหวที่ชัดเจนดวยกระบวนการจัดการแบบมีสวนรวม โดยใช
ลักษณะพื้นฐานจากภายในชุมชนหรือการใชชุมชนเปนฐาน
3. มีคณะทํางานและรูปแบบองคกร มีการบริหารจัดการของตนเอง มีการกําหนดหนาที่ชัดเจน
ทั้งนี้ อาจมาจากขอกําหนดของนโยบายและกฎหมายของรัฐ แตการทําใหเกิดประสิทธิภาพของการ
ดําเนินงาน ตองปราศจากการแทรกแซงดานอํานาจการดําเนินงานจากภาครัฐ
4. มีความรวมมือรวมใจและการมีสวนรวมของสมาชิก การแลกเปลี่ยนเรียนรู การประสาน
เชื่อมโยงระหวางสมาชิก ชุมชนและระหวางชุมชน
5. มีการจัดสรรทรัพยากรที่สอดคลองตอวัฒนธรรมของชุมชน สภาพภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐ
สังคมหรืออัตลักษณของชุมชนและทองถิ่น
6. มีการปฏิสัมพันธทั้งในองคกรชุมชนและระหวางองคกรชุมชนทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
เพื่อการเขาถึงความชวยเหลือ ขาวสารขอมูลและการเขาถึงทรัพยากรเพื่อทําใหกระบวนการการทํางาน
สนองตอบตอความสามารถในการทํางานของตนเองได ทั้งนี้ การปฏิสัมพันธดังกลาวนําไปสูการสราง
โครงสรางทางสังคมและคุณคาทางสังคม ทั้งในรูปเครือขายและการเชื่อมโยงจากการมีคานิยมทางสังคม
รวมกัน
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
7. มีกลไกในการดําเนินงานซึ่งผูที่มีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงาน คือ ผูนําที่มีความรูและ
ประสบการณ สามารถชี้นําและชักนําใหเกิดความรวมมือได เชน การชักนําใหเกิดกระบวนการในการ
วางแผนรวมกัน การตัดสินใจที่ดีและกลาหาญ มีบทบาทในเจรจาตอรอง การจัดทํารายงานและมีหนาที่
กระจายขาวสาร รวมถึงการสรางสมดุลระหวางผูมีสวนไดสวนเสียกับการดําเนินงานขององคกรชุมชน
ตลอดจน มีอุดมการณและความเสียสละ
8. มีความแตกตางกันของความชัดเจนของลักษณะความรับผิดชอบทางสังคมที่ปรากฏอยูใน
องคกรชุมชนที่ดําเนินกิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรรมและองคกรชุมชนที่ดําเนินกิจกรรมวิสาหกิจ
ลักษณะดังกลาวไดแก ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอการปฏิสัมพันธ และลักษณะตอประสิทธิผล
เชิงคุณภาพของการดําเนินงาน ซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิสัมพันธในลักษณะการเรียนรูแลกเปลี่ยนระหวาง
กัน ทั้งภายในและระหวางองคกรชุมชน
วิธีการวิจัย
ผูวิจัยไดเลือกจังหวัดสุพรรณบุรีเปนพื้นที่วิจัย โดยคัดเลือกองคกรชุมชนที่เปนหนวยในการ
วิเคราะห ผูวิจัยไดเลือกองคกรชุมชนมา 4 องคกร ที่ตั้งอยูในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเปนจังหวัดที่มี
ลักษณะพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม จะมีพื้นที่สวนนอยที่เปนพื้นที่ราบสูง ประชากรสวนใหญทํานาขาว
(จังหวัดสุพรรณบุรี, 2555) องคกรปกครองสวนทองถิ่นภายในจังหวัดประกอบดวย องคการบริหารสวน
จังหวัด เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีและเทศบาลตําบล 35 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 91 แหง
ภายในจังหวัดแบงเขตกรปกครองเปน 10 อําเภอ 110 ตําบล และ 1,007
ผูวิจัยไดใชขั้นตอนในการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling Technique)
โดยมีขั้นตอนในการสุมตัวอยาง 3 ขั้นตอน ดังตอไปนี้ ไดแก 1) สุมอําเภอ 2) สุมตําบล
3) สุมองคกรชุมชน ในขั้นตอนแรกผูวิจัยไดทําการสุมอําเภอ 4 อําเภอ คือ 1) อําเภอเมืองสุพรรณบุรี 2)
อําเภอสองพี่นอง 3) อําเภอเดิมบางนางบวช และ 4) อําเภออูทอง
เมื่อไดทําการสุมตัวอยางระดับอําเภอ ดวยวิธีการจักสลากทําใหไดจํานวนอําเภอ 4 อําเภอ
ไดแก 1) อําเภอเมืองสุพรรณบุรี 2) อําเภอสองพี่นอง 3) อําเภอเดิมบางนางบวช และ 4) อําเภออูทอง
จากนั้น จึงไดทําการสุมตัวอยางระดับตําบลจํานวน 4 แหง โดยสุมเลือกมาอําเภอละ 1 ตําบล ดวย
วิธีการจับสลากเชนเดียวกัน ทําใหไดรายชื่อตําบลที่สุมมาได คือ 1) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
สุพรรณบุรี 2) ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง 3) ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวช 4) ตําบล
บานดอน อําเภออูทอง
เมื่อไดจํานวนตัวอยางระดับตําบลทั้ง 4 แหงแลว ผูศึกษาไดทําการสุมตัวอยางระดับองคกรชุมชน
ดวยวิธีเดียวกัน โดยสุมจากองคกรชุมชนทั้งสิ้นจํานวน 12 แหงใน 4 ตําบล การสุมตัวอยางระดับองคกร
ชุมชนผูวิจัยไดใชวิธีการจับฉลากแลวใสคืนจนไดองคกรชุมชนทั้งสองลักษณะจนครบตามจํานวนที่
กําหนด องคกรชุมชนที่ทําการสุมทั้ง 4 แหงไดแก 1) องคกรชุมชนผูทรงคุณวุฒิหมู 3 (ปราชญชาวบาน
หรือมูลนิธิขาวขวัญ) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเชิงสังคมและ
วัฒนธรรม 2) องคกรชุมชนสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดินสองพี่นองจํากัด หมู 18 ตําบลบอสุพรรณ
อําเภอสองพี่นอง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเปนเชิงวิสาหกิจชุมชน 3) องคกรชุมชนกลุม
อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน) หมู 7 ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวชในฐานะ
ตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม 4) องคกรชุมชนสหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัด
หมู 1 ตําบลบานดอน อําเภออูทอง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเปนเชิงวิสาหกิจชุมชน
ภายหลังจากการสุมเลือกองคกรชุมชนไดทั้ง 4 แหง ผูวิจัยไดออกเก็บขอมูลโดยการสังเกต
กระบวนการดําเนินงานขององคกรชุมชนทั้ง แหง ดวยการเขาไปมีสวนรวม ใชระยะเวลาในการสังเกต
ประมาณ 6 สัปดาหตอองคกร และเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณแบบเจาะลึกผูนําองคกร
ชุมชน และสมาชิกขององคกรชุมชนที่สุมมาดวยวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เพิ่ม
อีกแหลงละ 25 คน รวมจํานวนสมาชิกที่ถูกสัมภาษณทั้งสิ้น 100 คน สําหรับคณะทํางานขององคกร
ชุมชนผูศึกษาไดทําการเก็บขอมูลเพิ่มเติมดวยวิธีการอภิปรายกลุม (Focus Group)
นอกจากขอมูลปฐมภูมิที่ไดดังกลาว ผูวิจัยยังไดนําขอมูลทุติยภูมิมาทําการวิเคราะหรวมประกอบ
ในระหวางการวิเคราะหขอมูลดวย ขอมูลทุติยภูมิดังกลาว ไดแก ประวัติ ภูมิหลัง วัตถุประสงค
เปาหมาย โครงสรางองคกรชุมชน โครงการตาง ๆ ที่ทําซึ่งรวมถึงกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ เอกสาร
การวางแผนการดําเนินงานและการปฏิบัติงาน รายงานการประชุม เอกสารที่เกี่ยวของกับงบประมาณ
เชน ที่มางบประมาณ หลักฐานการใชจายงบประมาณ และเอกสารการประเมินผลสําเร็จขององคกร
ชุมชน ทั้งดานผลผลิตและผลลัพธ และเอกสารที่ปรากฏในรูปแบบอิเลคโทรนิคในเว็บไซดขององคกร
ชุมชนนั้น ๆ
ขอมูลที่เก็บรวบรวมทั้งหมดจะทําการวิเคราะหดวยวิธีการวิเคราะหเนื้อหาสาระ การจัดหมวดหมู
และการเชื่อมโยงความสัมพันธของเนื้อหาสาระและหมวดหมูตาง ๆ พรอมทั้งการบรรยายเปรียบเทียบ
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
เพื่อสะทอนและตรวจสอบขอมูลเชิงคุณภาพการดําเนินงานขององคกรชุมชน ทั้งลักษณะสังคมเชิง
วัฒนธรรมและลักษณะวิสาหกิจ
ผลการวิจัย
จากการวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวบรวมได ทั้งจากขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ ซึ่งประกอบดวย
ขอมูลจากการเฝาสังเกตการทํางานขององคกรชุมชน และจากการสัมภาษณผูนําและสมาชิกองคกร
ชุมชน ทําใหไดขอสรุปวา องคกรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรีที่สุมมาไดทั้ง 4 แหง มีบทบาทและความ
เขมแข็งในการทํางานและมีผลงานที่เปนประโยชนตอชุมชน (ที่องคกรชุมชนนั้นตั้งอยู) องคกรชุมชนทั้ง
2 ประเภทไมมีความแตกตางกันในเรื่องความเขมแข็งและความมุงมั่นในการทํางานเพื่อสวนรวม ใน
งานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดพบตัวชี้วัดที่ประเมินใหเห็นถึงความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้ง 4 แหง ดังตอไปนี้
1) สมาชิกขององคกรชุมชนทั้ง 4 แหง มีความรวมมือรวมใจกันทั้งระหวางสมาชิกองคกรชุมชน
และกับประชาชนทั่วไปภายในชุมชน เปนอยางดี อันเนื่องมาจากพื้นฐานและลักษณะโครงสรางทาง
สังคมที่มีความสัมพันธกันในลักษณะเครือญาติและยึดเหนี่ยวกันดวยวัฒนธรรมทางสังคม ทําใหเกิด
ความไววางใจซึ่งกันและกัน รวมมือรวมใจกันไมเพียงภายในกลุมสมาชิกองคกรและมีความรวมมือรวม
ใจในระดับชุมชน
2) สมาชิกขององคกรชุมชนมีคานิยมทางสังคมรวมกัน ซึ่งไดแก ความเอื้ออาทรตอกัน ความมี
อิสระทางความคิดภายใตความคิดที่วา ทุกคนในชุมชนมีความเสมอภาคในการทํางานบนพื้นฐานของ
เปาหมายรวมกัน ลักษณะดังกลาวยังทําใหเกิดประสิทธิภาพในการสื่อสารระหวางสมาชิกองคกรชุมชน
3) โครงสรางและรูปแบบวิธีการดําเนินงานขององคกรชุมชนที่มีลักษณะไมเปนทางการ อัน
เนื่องมาจากอิทธิพลของวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนภายในชุมชนและทองถิ่น ขณะเดียวกัน การ
ทํางานของกรรมการดําเนินการภายใตกรอบการดําเนินงานขององคกร ทําใหการดําเนินงานมีลักษณะ
ที่มาจากธรรมชาติและสอดคลองกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน
4) สมาชิกองคกรสามารถปรับตัวพรอมที่จะรองรับตอการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกในหลายๆ
ดานโดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวของกับการปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ
เทคโนโลยีและนโยบายของรัฐ ซึ่งรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สงผลใหผูบริหารและสมาชิก
ขององคกรชุมชนมองเห็นโอกาสใหม ๆ ที่เปดใหแกองคกรชุมชนหรือเปดใหแกสมาชิก เชน การ
ดําเนินงานของสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดินสองพี่นองจํากัด ไดมีโอกาสใหสมาชิกสามารถกูยืมเงินเพื่อ
นําไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเกษตร มีการขยายธุรกิจใหเกิดความหลากหลายของ
สหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัด มีการนําเงินไปลงทุนในธุรกิจปมน้ํามัน ธุรกิจรานคาอุปกรณทาง
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
การเกษตร สวนองคกรที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ดังเชน องคกรชุมชนกลุม อสม. (อาสาสมัคร
สาธารณสุขประจําหมูบาน) หมู 7 ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวช สามารถควบคุมติดตาม
โรคติดตอที่เกิดขึ้นใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ สวนองคกรชุมชน ผูทรงคุณวุฒิหมู 3 (ปราชญชาวบาน
หรือมูลนิธิขาวขวัญ) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง ไดมีการนําภูมิปญญาทองถิ่นผสมผสานกับเทคโนโลยี
สมัยใหมเพื่อการพัฒนาพันธุขาวและการเกษตรอินทรีย เปนตน
5) แมวาองคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท จะมีการดําเนินงานที่มีลักษณะแตกตางกัน แตดวย
สภาพแวดลอมของโครงสรางทางสังคมและคานิยมทางสังคม ทําใหกิจกรรมขององคกรชุมชนทั้ง 2
ประเภท มีองคประกอบดานสังคมเชิงวัฒนธรรมรวมอยูดวยเปนประจํา กลาวคือ ตองคํานึงการ
สนองตอบตอความพึงพอใจและการดําเนินชีวิตที่ดีของสมาชิกองคกรภายในชุมชน
6) โครงสรางและรูปแบบการดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่งมีลักษณะโครงสรางที่ไมเปน
ทางการภายใตลักษณะโครงสรางที่เปนทางการ ทําใหองคกรชุมชนสามารถดํารงไวซึ่งคานิยมทางสังคม
และวัฒนธรรมของชุมชน กระบวนการดําเนินงานตาง ๆ จึงมีความสอดคลองกับวิถีชุมชนของคนใน
ชุมชน โดยที่ยังคงความสามารถี่จะรักษารูปแบบการดําเนินงานแบบเปนทางการไวควบคูกันได
7) การปฏิบัติงานตามแผนดําเนินงาน ไมเนนกระบวนการดําเนินงาน (ดังเชนองคกรที่มี
รูปแบบโครงสรางที่เปนทางการ) แตมีมุงเนนที่ความสําเร็จตอเปาหมายและผลลัพธที่นในชุมชนตองการ
เปนหลัก ดังนั้น การวางแผนจึงไมมีสูตรสําเร็จที่เปนผังหรือลายลักษณอักษร การปฏิบัติงานตามแผน
อาศัยทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรูและหนาที่รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายหรืออาสาเขามารับผิดชอบ
ดังนั้น การดําเนินงานใหบรรลุตามเปาหมายและทําใหเกิดผลลัพธที่ตอบสนองตอสมาชิกภายในชุมชน
คือ ตัวชี้วัดความสําเร็จของการดําเนินงาน
8) ผูบริหารองคกรชุมชนมีภาวะผูนํา และมีความสามารถสรางความรวมมือทั้งภายในและ
ภายนอกองคกร เห็นไดชัดจากการที่ผูนําสามารถสรางกลไกความรวมมือใหกับสมาชิกทุกคน สนับสนุน
การทํางานซึ่งกันและกัน สวนหนึ่งเกิดมาจากการที่ตัวผูนําสามารถเชื่อมประสานผลประโยชนของ
องคกรกับหนวยงานภายนอกได และสามารถสรางสมดุลแกผูมีสวนไดสวนเสียทุกคน ทั้งจากภาครัฐและ
เอกชน
9) การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากการดําเนินงานขององคกรชุมชน ไมไดมาจากการ
วัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเชิงเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว แตตองคํานึงถึงผลสําเร็จทางสังคมเชิง
วัฒนธรรมควบคูกันไป
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
10) องคกรชุมชนที่วิจัยทั้ง 4 แหง มีผูนําที่สามารถประสานเชื่อมโยงดานผลประโยชนและการ
แลกเปลี่ยนเรียนรูกับองคกรภายนอกนอกจากนี้ยังพบวา ผูนําขององคกรชุมชนยังมีอุดมการณที่มั่นคง
มีความมุงมั่น มีความเสียสละตอการทําหนาที่ จึงไดรับการยอมรับจากสมาชิกองคกรชุมชนรวมทั้ง
สมาชิกภายในชุมชน สวนหนึ่งเกิดจากคุณสมบัติเชิงบารมีจากสถานภาพทางสังคม ความมี
ประสบการณ ความสามารถ ความเปนผูมีจริยธรรมและความสามารถในการสรางความเหมาะสมและ
สอดคลองดานการดําเนินงานของผูนําชุมชน ใหเปนไปตามสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ชุมชน
11) การดําเนินงานขององคกรชุมชน ใชทรัพยากรและวัตถุดิบในการดําเนินการจากภายใน
ชุมชน ลดการพึ่งพาทรัพยากรจากแหลงภายนอก กรณีตัวอยาง เชน การจัดการและการบํารุงรักษา
แหลงทรัพยากรน้ํา ซึ่งองคกรชุมชนสหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัดมีบทบาทหนาที่ดังกลาว
ความสามารถในการนําทรัพยากรจากแหลงธรรมชาติมาใชประโยชนในรูปแบบของการเกษตรอินทรีย
หรือเกษตรธรรมชาติจากกลุมสมาชิกขององคกรมูลนิธิขาวขวัญ (ผูทรงคุณวุฒิหมู 3 หรือปราชญ
ชาวบาน) สวนการรับรูและความเขาใจในศักยภาพของตนหรือการรูจักตนเอง และความเปนธรรมชาติ
ขององคกรชุมชน ทําใหองคกรชุมชนสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดิน สองพี่นองจํากัด สามารถวางกรอบ
การดําเนินงานใหแกสมาชิก เพื่อใหเกิดความเหมาะสมตอสภาพเศรษฐกิจของชุมชน และเหมาะสมกับ
ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดโดยไมพึ่งพาทรัพยากรเงินจากภายนอก
ในการวิจัยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคที่มุงเปรียบเทียบการดําเนินงานขององคกรชุมชนที่มี
ลักษณะเชิงสังคมวัฒนธรรมและองคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน
ทําใหพบวา องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภทมีความแตกตางกันในดานกิจกรรมและการเคลื่อนไหว
อยางไรก็ตาม เมื่อการเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานขององคกรชุมชนพบวาองคกรชุมชนทั้ง 4
แหง ตางก็อยูภายใตบริบทของสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งมาจากลักษณะธรรมชาติที่ดํารงอยูใน
ภายในองคกรชุมชน การเปรียบเทียบดังกลาวยังพบลักษณะความแตกตางดานอื่น ๆ อันไดแก
ประการแรก ลักษณะที่แตกตางกันในบทบาทขององคกรชุมชนคือ ความแตกตางระหวางองคกร
ชุมชนที่มีลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมกับองคกรชุมชนที่มีลักษณะเปนวิสาหกิจชุมชน ไดแก องคกร
ประเภทแรกจะมีการดําเนินการแสดงออกในเชิงการประทวง การรณรงค การผลักดันกฎหมายและ
นโยบายภาครัฐ โดยที่องคกรชุมชนในเชิงวิสาหกิจไมมีความชัดเจนของลักษณะการแสดงบทบาท
ดังกลาว องคกรชุมชนที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรมมีความชัดเจนตอการแสดงบทบาทในเชิงการ
ผลักดันและการเขาไปมีสวนรวมในการรณรงค ทั้งที่เปนไปตามนโยบายภาครัฐ และการตอตานหรือ
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
ขัดแยงกับนโยบายของภาครัฐ สิ่งดังกลาวมาจากปจจัยดานความรับผิดชอบทางสังคม อันเปนสวนหนึ่ง
ที่ผสมผสานไวในเปาหมายของการดําเนินงาน
ประการที่สอง ลักษณะของการใหความสําคัญตอการเขาไปมีสวนรวมในดานการปฏิบัติงานของ
สมาชิกขององคกรชุมชนที่มีลักษณะการดําเนินงานเชิงสังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะการรวม
ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน เนื่องจาก สมาชิกองคกรตางมีอุดมการณรวมกัน และมีความตองการใน
การแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อนําไปประยุกตในการดําเนินชีวิต นอกจากนั้น ยังมีลักษณะของการคํานึงถึง
ผลกระทบทางสังคมอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมภายนอกทั้งทางดานเทคโนโลยี
สภาพแวดลอมทางสังคมและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ในขณะที่สมาชิกขององคกรชุมชนที่มี
ลักษณะวิสาหกิจชุมชน มักไมใหความสําคัญตอการเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินงานขององคกรมาก
นัก เนื่องจาก สมาชิกองคกรมุงหวังผลตอบแทนดานเศรษฐกิจเปนสําคัญ
ประการที่สาม องคกรชุมชนทั้งสองลักษณะมีความแตกตางกันในดานการพัฒนาความรู
ความสามารถ การแลกเปลี่ยนเรียนรูและการสรางเครือขายองคกรชุมชนในระดับขยายสูภายนอก ทั้ง
ระดับระหวางชุมชนและระดับภูมิภาค ผลการวิจัยพบวา องคกรชุมชนในลักษณะการดําเนินงานเชิง
สังคมและวัฒนธรรม จะเนนการพัฒนาความรูความสามารถเพื่อผลทางสังคม และการพัฒนาไปสูการ
ขยายเครือขายในระดับตาง ๆ ขณะที่องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน เนนดานการสนองตอบ
ตอสมาชิกองคกรและชุมชน เนนการพึ่งพาตนเอง และโดยลักษณะที่เปนองคกรซึ่งไดผานการเรียนรู
จากประสบการณของความลมเหลวในอดีตที่ผานมา องคกรชุมชนประเภทนี้จึงไมเนนการพัฒนาไปสู
การขยายเครือขาย จึงทําใหทั้งองคกรชุมชนและสมาชิกขององคกรชุมชนไมเห็นความสําคัญของการ
บริหารแบบใชเครือขาย และมีลักษณะการดําเนินงานเฉพาะในพื้นที่ของตนเองเทานั้น
ประการที่สี่ ความแตกตางในบทบาทภาวะผูนํา โดยเฉพาะผูนําในองคกรชุมชนที่มีการ
ดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมสามารถแสดงบทบาทไปตามเงื่อนไขของบริบททางสังคม
และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการสนับสนุนจากสถานการณตาง ๆ และมีบุคลิกภาพที่เกี่ยวของกับการชี้
นําไปสูเปาหมายไดดีกวาองคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน ประการสําคัญ ผูนําองคกรที่มีการ
ดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม จะมีอุดมการณที่มั่นคงและมีความกลาหาญ ความ
เสียสละในการดําเนินการตามเปาหมายขององคกร มากกวาผูนําองคกรที่มีลักษณะวิสาหกิจ
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
สรุปและอภิปรายผล
งานวิจัยชิ้นนี้ไดวิเคราะหและชี้ใหเห็นถึงความเขมแข็งและไดเปรียบเทียบการดําเนินงานของ
องคกรชุมชน 2 ประเภท อันไดแก องคกรที่มีการดําเนินงานประกอบการเชิงวิสาหกิจและองคกรชุมชน
ที่มีการดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมในจังหวัดสุพรรณบุรี
ผลการวิเคราะหขอมูลชี้ใหเห็นวา องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท มีความเขมแข็งในการดําเนินการ
ดังที่ไดกลาวมาขางตน องคกรชุมชนทั้ง 4 องคกร สามารถตอบสนองความตองการและไดรับการ
ยอมรับจากสมาชิกในชุมชน สวนหนึ่งเปนเพราะองคกรทั้ง 4 แหงมีรูปแบบการบริหารในลักษณะ
เครือขายและเนนการเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ ไมใชเพียงแตเนนในเรื่อง
การมีสวนรวมของคนในชุมชน
องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท นับวาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาความเขมแข็งของ
ประเทศตามวิถีเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่สมดุล กลาวคือ เปนการนําลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม
ซึ่งมีและดํารงอยูภายในชุมชน โดยมีองคประกอบของทุนทางสังคมเปนกลไกในการดําเนินงาน ทั้งนี้
เพื่อผลลัพธในการดํารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักความพอดี ความพียงและความยั่งยืนในการดํารงชีวิต
เมื่อเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานขององคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท แมวาจะเห็นลักษณะ
ความแตกตางทางดานกิจกรรมและวัตถุประสงคขององคกรชุมชนแตละประเภทก็ตาม แตองคกรทั้ง
2 ประเภท ก็มีความคลายคลึงกันในเรื่อง การปรับตัวใหเขากับลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมของ
ชุมชน ซึ่งเปนลักษณะที่เกิดขึ้นและดํารงอยูตามธรรมชาติภายในชุมชน
จากการเปรียบเทียบลักษณะขององคกรชุมชนทั้งสองลักษณะ ยังไดพบวาองคกรชุมชนที่มี
ลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม ใหความสําคัญตอคุณคาทางสังคมมากกวารูปแบบการดําเนินงาน และ
สามารถตอบสนองคุณคาทางสังคมไดดีกวาองคกรในลักษณะวิสาหกิจหรือธุรกิจชุมชน โดยองคกรที่มี
ลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม มีความคิดริเริ่ม และเกิดนวัตกรรมในการดําเนินงาน เชน การลําดับ
ความสําคัญของทรัพยากร จึงไดรับการยอมรับจากสมาชิกองคกรที่อยูในชุมชน นอกจากนั้น องคกร
ชุมชนที่มีลักษณะดําเนินงานเชิงสังคมและวัฒนธรรมยังมีศักยภาพในการเรียกรองและผลักดัน
ผลประโยชนทางการเมือง ผลักดันกฎหมายและรวมถึงการสรางเครือขายใหขยายไปสูสูระดับกวางได
มากกวาองคกรที่ดําเนินงานในลักษณะวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้ นาจะมาจาก เปาหมายที่แตกตางกัน โดย
องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจจะมุงเนนผลดานเศรษฐกิจ แตองคกรชุมชนที่มีลักษณะเชิงสังคมและ
วัฒนธรรมมุงเนนเปาหมายที่กอใหเกิดความรับผิดชอบทางสังคม แมวาองคกรที่มีลักษณะวิสาหกิจ จะ
ใชกลไกของทุนทางสังคมมาเปนเครื่องมือในการดําเนินงาน แตก็ไมสามารถดําเนินงานสูความเปน
เครือขายได เนื่องจาก การเรียนรูประสบการณที่ลมเหลวทั้งภายในองคกรและความลมเหลวขององคกร
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
วิสาหกิจอื่น ทั้งยังตองอยูภายใตกรอบของระเบียบภาครัฐ ไมวาจะเปนระเบียบเกี่ยวกับการ
ประกอบการ การบริหารดานการเงินโดยเฉพาะพระราชบัญญัติสหกรณ ทําใหตองอยูภายใตการกํากับ
และการประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ
ในงานวิจัยนี้ยังไดพบวา องคประกอบดานตัวชี้วัดการดําเนินงานขององคกรชุมชนในดาน
รูปแบบการบริหารจัดการขององคกรชุมชนที่ในงานวิจัยนี้ สอดคลองกับโครงสรางทางสังคมและคานิยม
ทางสังคมของชุมชน รวมถึงลักษณะบุคลิกภาพของผูนําชุมชน งานวัยนี้พบวา การจัดโครงสรางการ
บริหารงานหรือโครงสรางการดําเนินงาน มีลักษณะการรวมตัวแบบหลวมๆ (Consortium) อันเปน
รูปแบบขององคระดับรากหญา หรือเรียกไดวา เปนองคกรในรูปแบบกลุม หรือสถาบันที่มีประสิทธิภาพ
ในการแกไขปญหาและเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนไดดี
การจัดรูปแบบการดําเนินงานขางตน ขึ้นอยูกับบุคลิกภาพที่สะทอนจากบทบาทและลักษณะของ
ผูนําชุมชนที่มาจากโครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรมในทองถิ่น ดังที่ ชินอิจิ (2006) ไดนําเสนอถึง
ลักษณะอุปถัมภและลักษณะของความเคารพในระดับอาวุโส การแสดงออกถึงผูมีภูมิปญญา การเปนที่
ยอมรับจากสมาชิกชุมชน ซึ่งลักษณะดังกลาว สามารถนํามาใชประโยชนในเชิงประสานงานทั้งภายใน
และภายนอกองคกร นอกจากนั้น บทบาทในการชี้นํา เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค
โดยเฉพาะการชี้นําดานคานิยมของชุมชน เปนประโยชนตอกระบวนการทํางานอยางมาก ทั้งในดานการ
กระตุนความคิดและการปฏิบัติตอสมาชิก คุณสมบัติของผูนําชุมชน ดานความมุงมั่น ความมีอุดมการณ
ความเสียสละโดยเฉพาะความพอดี ทําใหเกิดการสรางความสมดุลระหวางผลประโยชนขององคกร
ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย นอกจากนั้น ผูนําชุมชนยังมีทักษะในสรางกลไกตางๆ เพื่อให องคกร
เติบโตตามธรรมชาติของชุมชน โดยไมตองอยูภายใตสภาพแวดลอมภายนอกมากจนเกินไป
ขอเสนอแนะ
ในงานวิจัยนี้ ไดชี้ใหเห็นถึงศักยภาพและความสามารถขององคกรชุมชน ในการแกไขปญหาและ
ตอบสนองความตองการของสมาชิกในชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี องคกรทั้ง 2 ประเภทที่เลือกมาวิจัยใน
ครั้งนี้ ตางมีลักษณะเปนสถาบันที่อนุรักษ ยึดเหนี่ยวและถายทอดคานิยมที่ดีทางสังคมและวัฒนธรรม
แมวาการดําเนินงานขององคกรชุมชนจะไมไดมีรูปแบบและไมไดใชทฤษฎีทางวิชาการเปนตัวนําก็ตาม
แตการดําเนินงานขององคกรชุมชนซึ่งเกิดจากการใชศักยภาพของชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งองคกร
ชุมชนทั้ง 2 ประเภทไดเปดโอกาสใหประชาชนในชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมในทองถิ่น ทําใหสามารถสรางแนวคิดเพื่อนําไปสูตัวแบบของการพัฒนาเพื่อวางเปนกรอบใน
นโยบาย การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจระดับลาง และเพื่อสงเสริมศักยภาพในการพึ่งพาตนเองของภาค
ประชาชนใหมีความเขมแข็งมากขึ้น
วารสารการบริหารทองถิ่น
ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015
____________________________________________________________________
งานวิจัยนี้สะทอนใหเห็นวา เพื่อใหสอดคลองกับขอเสนอแนะขางตน รัฐบาลควรใชศักยภาพและ
ความสามารถในดานการดําเนินงานขององคกรชุมชนซึ่งมีพื้นฐานจากธรรมชาติของโครงสรางทางสังคม
และวัฒนธรรมที่เขมแข็ง ใหเกิดประโยชนเต็ม ในการผลิตผลผลิตดานการเกษตร การแปรรูป รวมทั้ง
รูปแบบวิสาหกิจอื่น ๆ ใหพัฒนาสูการเชื่อมโยงสูระดับภูมิภาค และความเปนสากลโดยไมจําเปนตอง
เปลี่ยนแปลงวิธีการและกระบวนการดําเนินงานขององคกรดังกลาว
จากขอคนพบในเรื่อง ความเขมแข็งขององคกรชุมชน ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ ทั้งในรูปแบบ
การดําเนินงานและรูปแบบการประสานเชื่อมโยงในลักษณะเครือขาย โดยไมมีการจัดตั้งและแทรกแซง
จากองคกรภายนอก รวมทั้งหนวยงานราชการ เปนการยืนยันวา องคกรชุมชนมีความเขมแข็งและ
สามารถเจริญเติบโตดวยตนเองได แตเนื่องจากงานวิจัยนี้ ศึกษาองคกรชุมชนเพียง 2 ประเภท เทานั้น
ดังนั้น ในอนาคตจึงควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในองคกรชุมชนประเภทอื่น แมวางานศึกษาวิจัยใน
ลักษณะดังกลาวหรือที่เกี่ยวของจะมีอยูมากแลวก็ตาม แตผลงานในเรื่องนี้ยังมีลักษณะแบบแยกสวน
(Fragmentation) และขาดมุมมองของการมองในภาพรวม (Holistic) ผูวิจัยจึงเสนอแนะให
ทําการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในเชิงบูรณาการทั้งในแงของขอบเขตและเนื้อหาสาระของการวิจัย เพื่อ
ประโยชนตอการพัฒนาองคกรชุมชนเพื่อเปนรากฐานของการเปลี่ยนกระบวนทัศนเดิมของการพัฒนา
ประเทศจากสวนกลางสูสวนทองถิ่นใหกลายมาเปนการใชกลยุทธการพัฒนาทองถิ่นไปสูสวนกลางตอไป
เอกสารอางอิง
คณะทํางานสุขภาพคนไทย. (2554). รายงานสุขภาพคนไทย. 6 ม.ค.2556, http://www.hiso.or.th/
hiso5/ report/report2011T.php.
จังหวัดสุพรรณบุรี. (2555). ขอมูลทั่วไปของจังหวัดสุพรรณบุรี. 12 สิงหาคม 2557, htpp://www.
suphsburi. ac.th.
ชิเกโตมิ, ชินอิชิ. (2549). ศักยภาพในการสรางองคกรของสังคมทองถิ่นในการพัฒนาชนบท: การศึกษา
เปรียบเทียบการจัดองคกรสินเชื่อขนาดเล็กระหวางประเทศไทยกับฟลิปปนส. 12 สิงหาคม 2551,
http://www. Midnight univ.org/ศักยภาพในการสรางองคกร.
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Strength of Community Organizations in Suphan BuriProvince
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Strength of Community Organizations in Suphan BuriProvince
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Strength of Community Organizations in Suphan BuriProvince

More Related Content

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5Microsoft word   สัปดาห์ที่ 5
Microsoft word สัปดาห์ที่ 5
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4Microsoft word   สัปดาห์ที่ 4
Microsoft word สัปดาห์ที่ 4
 

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Strength of Community Organizations in Suphan BuriProvince

  • 1. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ ความเขมแข็งและศักยภาพขององคกรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Strength of Community Organization In Sphan Buri Province ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน บทคัดยอ รายงานวิจัยนี้ไดเสนอผลการประเมินศักยภาพและความเขมแข็งขององคกรชุมชนในจังหวัด สุพรรณบุรี จํานวน 2 ประเภท ประเภทละ 2 องคกรชุมชน อันไดแก องคกรชุมชนที่มีการดําเนินงาน ในลักษณะประกอบการเชิงวิสาหกิจและองคกรชุมชนที่มีการดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและ วัฒนธรรม ผลที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลชี้ใหเห็นถึงศักยภาพและความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท เห็นไดจากการที่องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภทไดรับการยอมรับจากสมาชิกในชุมชนอยางสูง อัน เนื่องมาจากความสามารถในกาแกปญหาและสนองตอบความตอการของชุมชน โดยใชตนทุนทางสังคม และทรัพยากรที่มีอยูภายในชุมชน งานวิจัยนี้ ไดใหขอเสนอแนะในเชิงนโยบายใหรัฐใหความสําคัญ องคกรชุมชนและปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการพัฒนาประเทศโดยใหความสําคัญกับทองถิ่นมาก ยิ่งขึ้นและใชศักยภาพของทองถิ่นในฐานะจักรกลของการพัฒนาประเทศจากระดับลางสูระดับบนให มากยิ่งขึ้น Abstract This research report presents the result from assessment of the strengths and potential of four community organization (COs) in Suphan Buri Proince. Two each were selected from the two types of Cos: socio-cultural development and community enterprises. The result from the data analysis indicate that the Cos that were studied are very strong in the studied areas for development initiatives, in and for their own community. In addition, we note that owing to their responsiveness and accountability, 1 อาจารยประจําหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต,
  • 2. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ they are highly regarded by the members of their communities. Due to this status, they are able to effectively use the human capital and resources from within their communities. Based on the results of this research, it is recommended that the central government should capitalize on these positive findings and formulate a policy toward a local - driven development paradigm. คําสําคัญ: ความเขมแข็งขององคกรชุมชน องคกรชุมช การดําเนินงานขององคกรชุมชน Keyword: Strengthening Community Organization, Community Organizations, Organizational performance บทนํา แนวคิดการสรางความเขมแข็งภาคประชาชนของไทย ไดนําเสนอถึงองคประกอบดานตาง ๆ ที่ สามารถนํามาพิจารณาเพื่อการศึกษาความสามารถในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่งจะนําไปสูการ พัฒนาความเขมแข็งภาคประชาชน ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมทั้งการบริหารจัดการ ทั้งนี้ แนวคิดดังกลาว มาจากนโยบายจากสวนกลางที่เอื้อตอการสนับสนุนและสงเสริมความเขมแข็งของ ชุมชนที่มีพื้นฐานจากแนวคิดการสรางความเขมแข็งใหแกชุมชน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แหงชาติฉบับที่ 8 (2540 - 2544) ซึ่งไดใหองคประกอบของชุมชนที่เขมแข็งไวโดยเสนอวา ชุมชนจะมี ความเขมแข็งไดนั้น ชุมชนตองมีการรวมตัวกันเปนองคกรชุมชน มีการเรียนรู การจัดการและการแกไข ปญหารวมกัน อยางไรก็ตาม การใหคําจํากัดความของคําวา “ ชุมชนเขมแข็ง ” ยังไมมีความชัดเจนนัก (คณะทํางานสุขภาพคนไทย, 2554) ทําใหมีผลตอการใหความหมายของคําวา “ ความเขมแข็งของ องคกรชุมชน ” เนื่องจากแนวคิดชุมชนเขมแข็งดังกลาว ไดนําเสนอภายใตพื้นฐานความคิดที่วา ชุมชน คือ องคกรชุมชนในรูปแบบหนึ่งที่มีโครงสราง มีการจัดการและมีสิ่งตางๆ ภายในชุมชนทําใหคนภายใน ชุมชนจําเปนตองรวมกันดํารงอยู รวมกันทําและ/หรือรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น นอกจากนั้น การสงเสริมความเขมแข็งภาคประชาชน ซึ่งเกี่ยวของกับการพัฒนาความ สามารถ ในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ไดถูกกําหนดขึ้นทั้งในระดับธรรมนูญการปกครองและในระดับ นโยบายการพัฒนาการเมืองและการบริหาร โดยเฉพาะบทบัญญัติในหมวด 5 ของรัฐธรรมนูญแหง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 วาดวยการเมืองการปกครองและการบริหารจัดการ โดยเฉพาะการ กระจายอํานาจแกทองถิ่น ซึ่งสอดคลองกับรัฐธรรมนูญป 2550 หมวด 3 มาตรา 66 และ 67 วาดวย สิทธิชุมชนและหมวดที่ 5 มาตรา 87 วาดวยแนวนโยบายการมีสวนรวมของประชาชน ซึ่งเนน
  • 3. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ การสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนหลายประการ ไดแก (สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา., 2550) ประการแรก การมีสวนรวมในการกําหนดนโยบายและการตัดสินใจทางการเมือง ประการที่สอง การมีสวนรวมในการวางแผนพัฒนาทั้งเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง รวมถึงการตรวจสอบอํานาจรัฐ ประการที่สาม การปฏิรูประบบราชการที่มีประสิทธิภาพในดานการบริหาร เพื่อตอบสนองตอความ ตองการของประชาชน ทั้งนี้ ภายใตการคุมครองสิทธิเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญมาตรา 75 การสงเสริมเพื่อการพัฒนาความเขมแข็งภาคประชาชนตามรัฐธรรมนูญดังกลาว ไดให ความสําคัญตอกลุมองคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชนและบุคคลในพื้นที่ที่มีความเขาใจตอสภาพพื้นที่ และสภาพปญหาของตน รวมถึงการเปนผูที่มีความรูความเขาใจ ตลอดจนมีความสามารถในการเก็บ รวบรวมและการสงผานขอมูลขอเท็จจริงที่เปนประโยชนตอการดําเนินการของรัฐ ซึ่งหากพิจารณา ลักษณะขององคกรชุมชนจะพบวา องคกรชุมชนของไทยมีสองลักษณะใหญ ๆ คือ ลักษณะแรก องคกร ที่ปรากฏลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ซึ่งเนนเปาประสงคการดําเนินงานเพื่อแกไขปญหาสังคมและ สิ่งแวดลอมภายในชุมชน ลักษณะที่สอง องคกรที่ปรากฏลักษณะวิสาหกิจ ซึ่งเนนเปาหมายดานธุรกิจที่ เกี่ยวกับการผลิต การคาขายและการเงิน โดยองคกรทั้งสองลักษณะ ดํารงอยูทามกลางการเปลี่ยนแปลง ที่สําคัญในบริบทของชุมชน ทั้งที่เปนสภาพเงื่อนไขแวดลอมของชุมชนเองและสภาพแวดลอมภายนอก ชุมชน ทําใหองคกรชุมชนเกิดพัฒนาการที่หลากหลายและเจริญเติบโตไปตามการเปลี่ยนแปลงทั้งดาน เศรษฐกิจและสังคมปจจุบัน ดังนั้น ประเด็นสําคัญที่นําไปสูการศึกษานี้คือ ประเด็นแรก องคกรชุมชนทั้งสองลักษณะมีการ ดําเนินงานที่ตางกันหรือไมและอยางไร ประเด็นที่สอง อะไรคือตัวชี้วัดความสามารถในการดําเนินงาน ซึ่งสามารถนําไปชี้แสดงใหเห็นถึงความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้งสองลักษณะ วัตถุประสงคในการวิจัย 1. เพื่อประเมินศักยภาพและความเขมแข็งในการดําเนินงานขององคกรชุมชน ในจังหวัด สุพรรณบุรี 2. เพื่อเปรียบเทียบการดําเนินงานระหวางองคกรชุมชนที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม กับ องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจในจังหวัดสุพรรณบุรี
  • 4. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ วรรณกรรมที่เกี่ยวของ การพิจารณาความเขมแข็งขององคกรชุมชนในกรณีความสามารถในการดําเนินงานขององคกร ชุมชนซึ่งมีลักษณะสองประการคือ ประการแรก ลักษณะที่เนนกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมหรือ เรียกวา ลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ประการที่สอง ลักษณะที่เนนกิจกรรมทางการเงินและธุรกิการคา หรือเรียกวา ลักษณะวิสาหกิจ โดยจะพิจารณาภายใตแนวคิดการดําเนินงานและงานศึกษาที่เกี่ยวของ ใหไดขอสรุปสําคัญเพื่อนําไปใชเปนแนวทางการศึกษาการดําเนินงานขององคกรชุมชน การเปรียบเทียบ และการศึกษาตัวชี้วัดความสามารถขององคกรชุมชน ซึ่งผลการศึกษา จะนําไปสูการพัฒนาแนวคิด ความเขมแข็งของชุมชนใหมีความชัดเจนขึ้นและเพื่อเปนแนวทางการพัฒนาความเขมแข็งขององคกร ชุมชนตอไป แนวคิดที่เกี่ยวกับการดําเนินงานขององคกรชุมชน ทั้งแนวคิดของนักวิชาการในประเทศไทย และแนวคิดของนักวิชาการในตางประเทศ ตางใหความหมายที่สอดคลองและเปนไปในทิศทางเดียวกัน ไมวาจะเปนแนวคิดของสถาบันพัฒนาการเมืองและการเลือกตั้ง (2555) ชินอิจิ (2006) และบุคคลอื่น ๆ โดยนักวิชาการทั้งหมดดังกลาว ตางเห็นตรงกันวา องคกรชุมชนจําเปนตองมีการดําเนินงานของตนเอง มีอิสระและปราศจากจากการแทรกแซงจากองคกรอื่น ๆ โดยเฉพาะรัฐบาล เนื่องจากชุมชน มีสภาพแวดลอมหรืออัตลักษณของตนเอง อันเปนลักษณะสําคัญที่มาจากรากฐานทางสังคมและ วัฒนธรรม และมีผลตอการดําเนินงานขององคกรชุมชน โดยอาจเรียกวา ทุนทางสังคม ซึ่งมี องคประกอบเปนคานิยมทางสังคม ดังที่ โอลิสกี้ ชมิทและไรเนส (Orlitzky, Schmidt, & Ryne, 2003) เสนอวา กิจกรรมทางสังคมสามารถเพิ่มศักยภาพในการจัดสรรทรัพยากร การใหความชวยเหลือ และการทําใหองคกรชุมชน เปนองคกรแหงความรูได ขอเสนอดังกลาว สอดคลองกับฐานคติของเท็ค เลไฮมานอทและเทคเลไฮมานอท (Teklehaimanot and Teklehaimanot, 2013) และของแซนโด วาล แฟลนเดอร และ โคแซค (Sandoval, Flanders, & Kozak, 2010) ที่เชื่อวา องคกรชุมชนสามารถ ดําเนินงานดวยความเปนอิสระภายใตเงื่อนไขแวดลอมขางตน ทั้งนี้ แจนดา (Janda, 2014) ให ความสําคัญตอปจจัยดานสังคมและวัฒนธรรม นอกเหนือจากปจจัยดานเทคโนโลยี ซึ่งมีผลตอการ ดําเนินงานขององคกรชุมชน ขณะที่ ชูนเต็งและยางเคา (Chuan Tseng & Kuo, 2014) มีความเห็น เชนเดียวกับบุคคลตาง ๆ ขางตน แมวา งานศึกษาของพวกเขาจะเปนงานศึกษาการดําเนินงานของ องคกรชุมชนภายใตสภาพแวดลอมของเทคโนโลยีสมัยใหมก็ตาม แตในทายที่สุด งานศึกษาดังกลาว ได
  • 5. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ เนนลักษณะของคานิยมทางสังคมมากกวาการดําเนินงานภายใตสภาพแวดลอมของเทคโนโลยี กลาวคือ เนนลักษณะของทุนทางสังคม เชนเดียวกับแนวคิดของ ฟลด (Field, 2008) และบอรดิว (Bourdieu, 1986) ที่ไดใหความสําคัญตอการปฏิสัมพันธของสมาชิกในองคกรชุมชน ซึ่งมีลักษณะที่เอื้อตอการ เรียนรู การสรางความรูและการสรางเครือขายขององคกรชุมชน ทั้งนี้ บราวและดูกิด (Brow & Duguid, 2001) ไดสนับสนุนทัศนะดานสังคมเชิงวัฒนธรรม และไดใหขอสรุปที่เปนแนวรวมกับแนวคิด ของโอลิสกี้ ชมิทและไรเนส (Orlitzky, Schmidt, & Ryne, 2003) ซึ่งไดนําเสนอลักษณะสําคัญสอง ประการคือ ลักษณะแรก เปนลักษณะของกิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรรมภายใตสภาพแวดลอมในการ ดําเนินงาน ลักษณะที่สอง เปนลักษณะการดําเนินงานดานกิจกรรมทางการเงิน ทั้งนี้ โอลิสกี้ ชมิทและ ไรเนส ไดใหขอสรุปเพิ่มเติมวา กิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรมซึ่งไมเนนการตลาด จะสามารถพิจารณา ไดรอบดานกวาทั้งในดานความรับผิดชอบทางสังคม อันไดแก ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอการ ปฏิสัมพันธและลักษณะตอประสิทธิผลเชิงคุณภาพของการดําเนินงาน ซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิสัมพันธ ในลักษณะการเรียนรูแลกเปลี่ยนระหวางกัน ทั้งภายในและระหวางองคกรชุมชน อยางไรก็ตาม งานศึกษาบางสวนไดใหความสําคัญตอเปาหมายการดําเนินงานโดยเห็นวา คุณภาพในการดําเนินงาน ขึ้นอยูกับการใหความชวยเหลือหรือการประสานเชื่อมโยงในลักษณะเครือขายองคกร การศึกษาในประเด็นประสิทธิภาพของการดําเนินงาน ทําใหไดรายละเอียดของปจจัยที่เกิดจาก ความรวมมือของสมาชิกในองคกรชุมชนในรูปแบบตาง ๆ รวมทั้งรูปแบบองคกรที่เหมาะสม ตลอดจน การแสดงบทบาทชี้นําของผูนําองคกร ซึ่งไดสรางนวัตกรรมและเทคโนโลยีในการทํางานใหแกสมาชิก องคกรและชุมชน ทั้งนี้ รูปแบบการดําเนินงานขององคกรชุมชนดังกลาว ไมไดละเลยลักษณะคานิยม แบบประเพณี ดังเชนการศึกษาของพระมหาสุนทร ปญญาพงษ (2542) ที่ไดนําเสนอถึงองคกรที่มี คานิยมแบบประเพณี แมวาในทายที่สุดของการศึกษา จะมีขอขัดแยงในดานของผลการศึกษาก็ตาม ปจจัยเชิงบทบาทของภาวะผูนําซึ่ง อุดมศักดิ์ เดโชชัยและคณะ (2553) พระมหาสุนทร ปญญา พงษ (2542), สายใจ เรือนใจหลัก (2554) และพยุง รสใจ (2554) รวมถึงบริกแนลและโมแดล (Brignall, & Modell, 2000) ตางเห็นวา ปจจัยเชิงบทบาทที่สามารถนําองคกรไปสูการดําเนินงานที่ ประสบผลของผูนําองคกรชุมชน คือ การแสดงบทบาทไปตามเงื่อนไขแวดลอม โดยเฉพาะประเด็นการ สนับสนุนจากสถานการณตาง ๆ ทั้งดานบุคคลรอบขาง บุคลิกภาพที่เกี่ยวของกับการชี้นํา การกํากับ ทิศทางสูเปาหมายและการมีสิ่งที่บุคคลอื่น ๆ หรือสมาชิกองคกรชุมชนไวเนื้อเชื่อใจ นอกจากนั้น ลักษณะของผูนําองคกรชุมชน จะตองเปนผูประสานที่ดี มีอุดมการณ มีความสํานึกและความเสียสละ ปจจัยที่สําคัญอีกประการหนึ่ง คือ การกระตุนชี้นํา การผลักดันและการสรางความกระตือรือรนในการ ทําสิ่งตาง ๆ ซึ่งบริกแนลและโมเดล (Brignall & Modell, 2000) กลาวถึงบทบาทของผูนําองคกรวา
  • 6. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ ผูนําองคกรจะตองมีความสามารถดานปฏิสัมพันธกับผูมีสวนไดสวนเสีย มีความสามารถในการเจรจา ตอรอง การจัดทํารายงานและกระจายขาวสาร แนวคิดการบริหารการดําเนินงานของ ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน (2553) ไดนําเสนอถึง ความแตกตางกันระหวางแนวคิดในการดําเนินงานทั่วไป กับแนวคิดในการดําเนินงานขององคกรชุมชน โดยเฉพาะโครงสรางองคกรและโครงสรางการดําเนินงานขององคกรชุมชนแบบหลวม ๆ ทําใหแนวคิด ดังกลาว สนับสนุนแนวคิดอื่น ๆ ดานการดําเนินงานขององคกรชุมชนใหมีความหนักแนนมากขึ้น ไมวาจะเปน ชินอิจิ (2549) และสถาบันพัฒนาการเมือง (2555) ซึ่งนําเสนอถึงลักษณะโครงสรางองคกร ที่เหมาะสมในลักษณะหลวม ๆ (Consortium) และเปนรูปแบบที่สามารถแกไขปญหาและสรางความ รวมมือกันไดอยางมีประสิทธิภาพ ทั้งยังมีความสอดคลองกับแนวคิดที่นําเสนอโดย ฮูเบอรแมนและฮ็อก (Huberman & Hogg, 1995) ที่กลาวถึงลักษณะการพัฒนาการของรูปแบบองคกรชุมชนที่พัฒนาจาก รูปแบบองคกรแนวราบ (Flat) ไปสูรูปแบบองคกรที่แบงเปนกลุม (Cluster) เมื่อองคกรชุมชนนั้น เจริญเติบโต ลักษณะขางตน จึงเปนลักษณะที่เกิดจากภายในองคกร ไมไดเกิดจากลักษณะภายนอก จึงยังคงมี ผลทําใหเกิดจุดออนดานประสิทธิภาพในการดําเนินงาน โดยเฉพาะสภาพเงื่อนไขแวดลอมภายนอกของ การเปลี่ยนแปลงไปสูความเปนระบบโลก และการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วของชุมชน ทําใหเกิดความ ตองการการเรียนรูที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่ง Brow & Duguid (2001) มีความเห็นวา สิ่งดังกลาวยังมีจุดออนใน ดานความรูเชิงเศรษฐศาสตรที่องคกรชุมชน ไมสามารถสรางนวัตกรรมใหเกิดขึ้นไดมากนัก งานศึกษา ตอมาจึงไดสะทอนภาพของการจัดการภายในองคกรชุมชนและชุมชนในเชิงเศรษฐศาสตรมากขึ้น ดังเชนงานของ ดาริกา สุวรรณมงคลและคณะ (2557) ปริวัตร เปลี่ยนศิริและวาสิตา บุณสาธร (2557) ศรันยู เรืองจันทร (2557) นอกเหนือจากประเด็นทางเศรษฐศาสตรแลว งานศึกษายังใหความสําคัญตอสังคม จนทําให การศึกษามีลักษณะของเศรษฐสังคม (Socioeconomic) รวมอยูดวย โดยงานศึกษา แสดงใหเห็น ความสําคัญของการมีสวนรวม การใชคานิยมทางสังคมมาเปนกลไกในการดําเนินงาน ซึ่งแสดงใหเห็นถึง การนําอัตลักษณของชุมชนและทองถิ่น เขามาเปนกลไกสําคัญของการดําเนินงานขององคกรชุมชน โดย การศึกษาเริ่มจากระดับปจเจกไปสูระดับสังคมหรือชุมชนมากขึ้น การดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่ง เนนรูปแบบที่สอดคลองกับงานศึกษาขางตน เชน งานศึกษาของพยุง รสใจ (2554) สุพรรณณี ไชยอํา พร และฐิติญา วิมลวัฒน (2557) ตางก็เนนรูปแบบของผลการดําเนินงานที่เปลี่ยนแปลงไปสูผลลัพธที่ได จากคานิยมรวมกัน ทั้งนี้ Brignall & Modell (2000) ใหความสําคัญตอการมีสวนรวมของชุมชนจนมี
  • 7. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ ผลตอขอตกลงรวมกันของชุมชนและมีความสามารถตอการกําหนดนโยบายในระดับสูง ดังเชน Sandoval, Flanders & Kozak (2010) ไดขยายความไปสูรูปแบบการใชชุมชนเปนฐานในการพัฒนา ภายใตการมีสวนรวมของชุมชน และภายใตเงื่อนไขแวดลอมหรือภายใตอัตลักษณของชุมชนซึ่ง Orlitzky, Schmidt, & Ryne (2013) ชี้ใหเห็นถึงประเด็นสําคัญดังกลาว โดยเขาเชื่อวา ชุมชนสามารถ ขับเคลื่อน (Mobilization) ไดดวยตัวเอง ทั้งนี้ การเชื่อมโยงกับสังคมภายนอก ทําใหเกิดการปรับตัว ของชุมชนดังที่ Janda (2014) นําเสนอและไดใหความสําคัญตอความสัมพันธระหวางคนและการ เชื่อมโยงกิจกรรมกับโลกภายนอก ทําใหเกิดความสามารถที่เรียกวา ศักยภาพทางสังคม ขอสรุปจากแนวคิดขางตน ทําใหพิจารณาไดถึงการดําเนินงานและตัวชี้วัดความสามารถในการ ดําเนินงานขององคกรชุมชนไดพอสมควร โดยสามารถสรุปไดดังนี้ 1. ความเปนกลุมสมาชิกของประชาชนในชุมชน มีการกําหนดประสิทธิผลของเปาหมายและ ผลลัพธรวมถึงการแบงปนวัตถุประสงครวมกัน 2. มีกิจกรรมและความเคลื่อนไหวที่ชัดเจนดวยกระบวนการจัดการแบบมีสวนรวม โดยใช ลักษณะพื้นฐานจากภายในชุมชนหรือการใชชุมชนเปนฐาน 3. มีคณะทํางานและรูปแบบองคกร มีการบริหารจัดการของตนเอง มีการกําหนดหนาที่ชัดเจน ทั้งนี้ อาจมาจากขอกําหนดของนโยบายและกฎหมายของรัฐ แตการทําใหเกิดประสิทธิภาพของการ ดําเนินงาน ตองปราศจากการแทรกแซงดานอํานาจการดําเนินงานจากภาครัฐ 4. มีความรวมมือรวมใจและการมีสวนรวมของสมาชิก การแลกเปลี่ยนเรียนรู การประสาน เชื่อมโยงระหวางสมาชิก ชุมชนและระหวางชุมชน 5. มีการจัดสรรทรัพยากรที่สอดคลองตอวัฒนธรรมของชุมชน สภาพภูมิรัฐศาสตรและเศรษฐ สังคมหรืออัตลักษณของชุมชนและทองถิ่น 6. มีการปฏิสัมพันธทั้งในองคกรชุมชนและระหวางองคกรชุมชนทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ เพื่อการเขาถึงความชวยเหลือ ขาวสารขอมูลและการเขาถึงทรัพยากรเพื่อทําใหกระบวนการการทํางาน สนองตอบตอความสามารถในการทํางานของตนเองได ทั้งนี้ การปฏิสัมพันธดังกลาวนําไปสูการสราง โครงสรางทางสังคมและคุณคาทางสังคม ทั้งในรูปเครือขายและการเชื่อมโยงจากการมีคานิยมทางสังคม รวมกัน
  • 8. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ 7. มีกลไกในการดําเนินงานซึ่งผูที่มีบทบาทสําคัญตอการดําเนินงาน คือ ผูนําที่มีความรูและ ประสบการณ สามารถชี้นําและชักนําใหเกิดความรวมมือได เชน การชักนําใหเกิดกระบวนการในการ วางแผนรวมกัน การตัดสินใจที่ดีและกลาหาญ มีบทบาทในเจรจาตอรอง การจัดทํารายงานและมีหนาที่ กระจายขาวสาร รวมถึงการสรางสมดุลระหวางผูมีสวนไดสวนเสียกับการดําเนินงานขององคกรชุมชน ตลอดจน มีอุดมการณและความเสียสละ 8. มีความแตกตางกันของความชัดเจนของลักษณะความรับผิดชอบทางสังคมที่ปรากฏอยูใน องคกรชุมชนที่ดําเนินกิจกรรมทางสังคมเชิงวัฒนธรรมและองคกรชุมชนที่ดําเนินกิจกรรมวิสาหกิจ ลักษณะดังกลาวไดแก ลักษณะพฤติกรรมของบุคคลที่มีตอการปฏิสัมพันธ และลักษณะตอประสิทธิผล เชิงคุณภาพของการดําเนินงาน ซึ่งเกี่ยวของกับการปฏิสัมพันธในลักษณะการเรียนรูแลกเปลี่ยนระหวาง กัน ทั้งภายในและระหวางองคกรชุมชน วิธีการวิจัย ผูวิจัยไดเลือกจังหวัดสุพรรณบุรีเปนพื้นที่วิจัย โดยคัดเลือกองคกรชุมชนที่เปนหนวยในการ วิเคราะห ผูวิจัยไดเลือกองคกรชุมชนมา 4 องคกร ที่ตั้งอยูในจังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งเปนจังหวัดที่มี ลักษณะพื้นที่สวนใหญเปนที่ราบลุม จะมีพื้นที่สวนนอยที่เปนพื้นที่ราบสูง ประชากรสวนใหญทํานาขาว (จังหวัดสุพรรณบุรี, 2555) องคกรปกครองสวนทองถิ่นภายในจังหวัดประกอบดวย องคการบริหารสวน จังหวัด เทศบาลเมืองสุพรรณบุรีและเทศบาลตําบล 35 แหง และองคการบริหารสวนตําบล 91 แหง ภายในจังหวัดแบงเขตกรปกครองเปน 10 อําเภอ 110 ตําบล และ 1,007 ผูวิจัยไดใชขั้นตอนในการสุมตัวอยางแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling Technique) โดยมีขั้นตอนในการสุมตัวอยาง 3 ขั้นตอน ดังตอไปนี้ ไดแก 1) สุมอําเภอ 2) สุมตําบล 3) สุมองคกรชุมชน ในขั้นตอนแรกผูวิจัยไดทําการสุมอําเภอ 4 อําเภอ คือ 1) อําเภอเมืองสุพรรณบุรี 2) อําเภอสองพี่นอง 3) อําเภอเดิมบางนางบวช และ 4) อําเภออูทอง เมื่อไดทําการสุมตัวอยางระดับอําเภอ ดวยวิธีการจักสลากทําใหไดจํานวนอําเภอ 4 อําเภอ ไดแก 1) อําเภอเมืองสุพรรณบุรี 2) อําเภอสองพี่นอง 3) อําเภอเดิมบางนางบวช และ 4) อําเภออูทอง จากนั้น จึงไดทําการสุมตัวอยางระดับตําบลจํานวน 4 แหง โดยสุมเลือกมาอําเภอละ 1 ตําบล ดวย วิธีการจับสลากเชนเดียวกัน ทําใหไดรายชื่อตําบลที่สุมมาได คือ 1) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง
  • 9. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ สุพรรณบุรี 2) ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง 3) ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวช 4) ตําบล บานดอน อําเภออูทอง เมื่อไดจํานวนตัวอยางระดับตําบลทั้ง 4 แหงแลว ผูศึกษาไดทําการสุมตัวอยางระดับองคกรชุมชน ดวยวิธีเดียวกัน โดยสุมจากองคกรชุมชนทั้งสิ้นจํานวน 12 แหงใน 4 ตําบล การสุมตัวอยางระดับองคกร ชุมชนผูวิจัยไดใชวิธีการจับฉลากแลวใสคืนจนไดองคกรชุมชนทั้งสองลักษณะจนครบตามจํานวนที่ กําหนด องคกรชุมชนที่ทําการสุมทั้ง 4 แหงไดแก 1) องคกรชุมชนผูทรงคุณวุฒิหมู 3 (ปราชญชาวบาน หรือมูลนิธิขาวขวัญ) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเชิงสังคมและ วัฒนธรรม 2) องคกรชุมชนสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดินสองพี่นองจํากัด หมู 18 ตําบลบอสุพรรณ อําเภอสองพี่นอง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเปนเชิงวิสาหกิจชุมชน 3) องคกรชุมชนกลุม อสม. (อาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบาน) หมู 7 ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวชในฐานะ ตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม 4) องคกรชุมชนสหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัด หมู 1 ตําบลบานดอน อําเภออูทอง ในฐานะตัวอยางขององคกรที่มีลักษณะเปนเชิงวิสาหกิจชุมชน ภายหลังจากการสุมเลือกองคกรชุมชนไดทั้ง 4 แหง ผูวิจัยไดออกเก็บขอมูลโดยการสังเกต กระบวนการดําเนินงานขององคกรชุมชนทั้ง แหง ดวยการเขาไปมีสวนรวม ใชระยะเวลาในการสังเกต ประมาณ 6 สัปดาหตอองคกร และเก็บรวบรวมขอมูลดวยวิธีการสัมภาษณแบบเจาะลึกผูนําองคกร ชุมชน และสมาชิกขององคกรชุมชนที่สุมมาดวยวิธีการสุมแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) เพิ่ม อีกแหลงละ 25 คน รวมจํานวนสมาชิกที่ถูกสัมภาษณทั้งสิ้น 100 คน สําหรับคณะทํางานขององคกร ชุมชนผูศึกษาไดทําการเก็บขอมูลเพิ่มเติมดวยวิธีการอภิปรายกลุม (Focus Group) นอกจากขอมูลปฐมภูมิที่ไดดังกลาว ผูวิจัยยังไดนําขอมูลทุติยภูมิมาทําการวิเคราะหรวมประกอบ ในระหวางการวิเคราะหขอมูลดวย ขอมูลทุติยภูมิดังกลาว ไดแก ประวัติ ภูมิหลัง วัตถุประสงค เปาหมาย โครงสรางองคกรชุมชน โครงการตาง ๆ ที่ทําซึ่งรวมถึงกิจกรรมตาง ๆ ของโครงการ เอกสาร การวางแผนการดําเนินงานและการปฏิบัติงาน รายงานการประชุม เอกสารที่เกี่ยวของกับงบประมาณ เชน ที่มางบประมาณ หลักฐานการใชจายงบประมาณ และเอกสารการประเมินผลสําเร็จขององคกร ชุมชน ทั้งดานผลผลิตและผลลัพธ และเอกสารที่ปรากฏในรูปแบบอิเลคโทรนิคในเว็บไซดขององคกร ชุมชนนั้น ๆ ขอมูลที่เก็บรวบรวมทั้งหมดจะทําการวิเคราะหดวยวิธีการวิเคราะหเนื้อหาสาระ การจัดหมวดหมู และการเชื่อมโยงความสัมพันธของเนื้อหาสาระและหมวดหมูตาง ๆ พรอมทั้งการบรรยายเปรียบเทียบ
  • 10. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ เพื่อสะทอนและตรวจสอบขอมูลเชิงคุณภาพการดําเนินงานขององคกรชุมชน ทั้งลักษณะสังคมเชิง วัฒนธรรมและลักษณะวิสาหกิจ ผลการวิจัย จากการวิเคราะหขอมูลที่เก็บรวบรวมได ทั้งจากขอมูลทุติยภูมิและปฐมภูมิ ซึ่งประกอบดวย ขอมูลจากการเฝาสังเกตการทํางานขององคกรชุมชน และจากการสัมภาษณผูนําและสมาชิกองคกร ชุมชน ทําใหไดขอสรุปวา องคกรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรีที่สุมมาไดทั้ง 4 แหง มีบทบาทและความ เขมแข็งในการทํางานและมีผลงานที่เปนประโยชนตอชุมชน (ที่องคกรชุมชนนั้นตั้งอยู) องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภทไมมีความแตกตางกันในเรื่องความเขมแข็งและความมุงมั่นในการทํางานเพื่อสวนรวม ใน งานวิจัยนี้ ผูวิจัยไดพบตัวชี้วัดที่ประเมินใหเห็นถึงความเขมแข็งขององคกรชุมชนทั้ง 4 แหง ดังตอไปนี้ 1) สมาชิกขององคกรชุมชนทั้ง 4 แหง มีความรวมมือรวมใจกันทั้งระหวางสมาชิกองคกรชุมชน และกับประชาชนทั่วไปภายในชุมชน เปนอยางดี อันเนื่องมาจากพื้นฐานและลักษณะโครงสรางทาง สังคมที่มีความสัมพันธกันในลักษณะเครือญาติและยึดเหนี่ยวกันดวยวัฒนธรรมทางสังคม ทําใหเกิด ความไววางใจซึ่งกันและกัน รวมมือรวมใจกันไมเพียงภายในกลุมสมาชิกองคกรและมีความรวมมือรวม ใจในระดับชุมชน 2) สมาชิกขององคกรชุมชนมีคานิยมทางสังคมรวมกัน ซึ่งไดแก ความเอื้ออาทรตอกัน ความมี อิสระทางความคิดภายใตความคิดที่วา ทุกคนในชุมชนมีความเสมอภาคในการทํางานบนพื้นฐานของ เปาหมายรวมกัน ลักษณะดังกลาวยังทําใหเกิดประสิทธิภาพในการสื่อสารระหวางสมาชิกองคกรชุมชน 3) โครงสรางและรูปแบบวิธีการดําเนินงานขององคกรชุมชนที่มีลักษณะไมเปนทางการ อัน เนื่องมาจากอิทธิพลของวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนภายในชุมชนและทองถิ่น ขณะเดียวกัน การ ทํางานของกรรมการดําเนินการภายใตกรอบการดําเนินงานขององคกร ทําใหการดําเนินงานมีลักษณะ ที่มาจากธรรมชาติและสอดคลองกับบริบททางสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน 4) สมาชิกองคกรสามารถปรับตัวพรอมที่จะรองรับตอการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกในหลายๆ ดานโดยเฉพาะอยางยิ่งในสวนที่เกี่ยวของกับการปรับตัวใหเขากับการเปลี่ยนแปลงทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและนโยบายของรัฐ ซึ่งรวมทั้งการเปลี่ยนแปลงทางการเมือง สงผลใหผูบริหารและสมาชิก ขององคกรชุมชนมองเห็นโอกาสใหม ๆ ที่เปดใหแกองคกรชุมชนหรือเปดใหแกสมาชิก เชน การ ดําเนินงานของสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดินสองพี่นองจํากัด ไดมีโอกาสใหสมาชิกสามารถกูยืมเงินเพื่อ นําไปลงทุนในภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของกับการเกษตร มีการขยายธุรกิจใหเกิดความหลากหลายของ สหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัด มีการนําเงินไปลงทุนในธุรกิจปมน้ํามัน ธุรกิจรานคาอุปกรณทาง
  • 11. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ การเกษตร สวนองคกรที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ดังเชน องคกรชุมชนกลุม อสม. (อาสาสมัคร สาธารณสุขประจําหมูบาน) หมู 7 ตําบลทุงคลี อําเภอเดิมบางนางบวช สามารถควบคุมติดตาม โรคติดตอที่เกิดขึ้นใหมไดอยางมีประสิทธิภาพ สวนองคกรชุมชน ผูทรงคุณวุฒิหมู 3 (ปราชญชาวบาน หรือมูลนิธิขาวขวัญ) ตําบลสระแกว อําเภอเมือง ไดมีการนําภูมิปญญาทองถิ่นผสมผสานกับเทคโนโลยี สมัยใหมเพื่อการพัฒนาพันธุขาวและการเกษตรอินทรีย เปนตน 5) แมวาองคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท จะมีการดําเนินงานที่มีลักษณะแตกตางกัน แตดวย สภาพแวดลอมของโครงสรางทางสังคมและคานิยมทางสังคม ทําใหกิจกรรมขององคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท มีองคประกอบดานสังคมเชิงวัฒนธรรมรวมอยูดวยเปนประจํา กลาวคือ ตองคํานึงการ สนองตอบตอความพึงพอใจและการดําเนินชีวิตที่ดีของสมาชิกองคกรภายในชุมชน 6) โครงสรางและรูปแบบการดําเนินงานขององคกรชุมชน ซึ่งมีลักษณะโครงสรางที่ไมเปน ทางการภายใตลักษณะโครงสรางที่เปนทางการ ทําใหองคกรชุมชนสามารถดํารงไวซึ่งคานิยมทางสังคม และวัฒนธรรมของชุมชน กระบวนการดําเนินงานตาง ๆ จึงมีความสอดคลองกับวิถีชุมชนของคนใน ชุมชน โดยที่ยังคงความสามารถี่จะรักษารูปแบบการดําเนินงานแบบเปนทางการไวควบคูกันได 7) การปฏิบัติงานตามแผนดําเนินงาน ไมเนนกระบวนการดําเนินงาน (ดังเชนองคกรที่มี รูปแบบโครงสรางที่เปนทางการ) แตมีมุงเนนที่ความสําเร็จตอเปาหมายและผลลัพธที่นในชุมชนตองการ เปนหลัก ดังนั้น การวางแผนจึงไมมีสูตรสําเร็จที่เปนผังหรือลายลักษณอักษร การปฏิบัติงานตามแผน อาศัยทักษะการแลกเปลี่ยนเรียนรูและหนาที่รับผิดชอบที่ไดรับมอบหมายหรืออาสาเขามารับผิดชอบ ดังนั้น การดําเนินงานใหบรรลุตามเปาหมายและทําใหเกิดผลลัพธที่ตอบสนองตอสมาชิกภายในชุมชน คือ ตัวชี้วัดความสําเร็จของการดําเนินงาน 8) ผูบริหารองคกรชุมชนมีภาวะผูนํา และมีความสามารถสรางความรวมมือทั้งภายในและ ภายนอกองคกร เห็นไดชัดจากการที่ผูนําสามารถสรางกลไกความรวมมือใหกับสมาชิกทุกคน สนับสนุน การทํางานซึ่งกันและกัน สวนหนึ่งเกิดมาจากการที่ตัวผูนําสามารถเชื่อมประสานผลประโยชนของ องคกรกับหนวยงานภายนอกได และสามารถสรางสมดุลแกผูมีสวนไดสวนเสียทุกคน ทั้งจากภาครัฐและ เอกชน 9) การวัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลจากการดําเนินงานขององคกรชุมชน ไมไดมาจากการ วัดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในเชิงเศรษฐกิจเพียงอยางเดียว แตตองคํานึงถึงผลสําเร็จทางสังคมเชิง วัฒนธรรมควบคูกันไป
  • 12. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ 10) องคกรชุมชนที่วิจัยทั้ง 4 แหง มีผูนําที่สามารถประสานเชื่อมโยงดานผลประโยชนและการ แลกเปลี่ยนเรียนรูกับองคกรภายนอกนอกจากนี้ยังพบวา ผูนําขององคกรชุมชนยังมีอุดมการณที่มั่นคง มีความมุงมั่น มีความเสียสละตอการทําหนาที่ จึงไดรับการยอมรับจากสมาชิกองคกรชุมชนรวมทั้ง สมาชิกภายในชุมชน สวนหนึ่งเกิดจากคุณสมบัติเชิงบารมีจากสถานภาพทางสังคม ความมี ประสบการณ ความสามารถ ความเปนผูมีจริยธรรมและความสามารถในการสรางความเหมาะสมและ สอดคลองดานการดําเนินงานของผูนําชุมชน ใหเปนไปตามสภาพแวดลอมทางเศรษฐกิจและสังคมของ ชุมชน 11) การดําเนินงานขององคกรชุมชน ใชทรัพยากรและวัตถุดิบในการดําเนินการจากภายใน ชุมชน ลดการพึ่งพาทรัพยากรจากแหลงภายนอก กรณีตัวอยาง เชน การจัดการและการบํารุงรักษา แหลงทรัพยากรน้ํา ซึ่งองคกรชุมชนสหกรณผูใชน้ําบานดอนจํากัดมีบทบาทหนาที่ดังกลาว ความสามารถในการนําทรัพยากรจากแหลงธรรมชาติมาใชประโยชนในรูปแบบของการเกษตรอินทรีย หรือเกษตรธรรมชาติจากกลุมสมาชิกขององคกรมูลนิธิขาวขวัญ (ผูทรงคุณวุฒิหมู 3 หรือปราชญ ชาวบาน) สวนการรับรูและความเขาใจในศักยภาพของตนหรือการรูจักตนเอง และความเปนธรรมชาติ ขององคกรชุมชน ทําใหองคกรชุมชนสหกรณการเกษตรปฏิรูปที่ดิน สองพี่นองจํากัด สามารถวางกรอบ การดําเนินงานใหแกสมาชิก เพื่อใหเกิดความเหมาะสมตอสภาพเศรษฐกิจของชุมชน และเหมาะสมกับ ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดโดยไมพึ่งพาทรัพยากรเงินจากภายนอก ในการวิจัยเพื่อตอบสนองวัตถุประสงคที่มุงเปรียบเทียบการดําเนินงานขององคกรชุมชนที่มี ลักษณะเชิงสังคมวัฒนธรรมและองคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน ทําใหพบวา องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภทมีความแตกตางกันในดานกิจกรรมและการเคลื่อนไหว อยางไรก็ตาม เมื่อการเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานขององคกรชุมชนพบวาองคกรชุมชนทั้ง 4 แหง ตางก็อยูภายใตบริบทของสังคมและวัฒนธรรมของชุมชน ซึ่งมาจากลักษณะธรรมชาติที่ดํารงอยูใน ภายในองคกรชุมชน การเปรียบเทียบดังกลาวยังพบลักษณะความแตกตางดานอื่น ๆ อันไดแก ประการแรก ลักษณะที่แตกตางกันในบทบาทขององคกรชุมชนคือ ความแตกตางระหวางองคกร ชุมชนที่มีลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมกับองคกรชุมชนที่มีลักษณะเปนวิสาหกิจชุมชน ไดแก องคกร ประเภทแรกจะมีการดําเนินการแสดงออกในเชิงการประทวง การรณรงค การผลักดันกฎหมายและ นโยบายภาครัฐ โดยที่องคกรชุมชนในเชิงวิสาหกิจไมมีความชัดเจนของลักษณะการแสดงบทบาท ดังกลาว องคกรชุมชนที่มีลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรมมีความชัดเจนตอการแสดงบทบาทในเชิงการ ผลักดันและการเขาไปมีสวนรวมในการรณรงค ทั้งที่เปนไปตามนโยบายภาครัฐ และการตอตานหรือ
  • 13. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ ขัดแยงกับนโยบายของภาครัฐ สิ่งดังกลาวมาจากปจจัยดานความรับผิดชอบทางสังคม อันเปนสวนหนึ่ง ที่ผสมผสานไวในเปาหมายของการดําเนินงาน ประการที่สอง ลักษณะของการใหความสําคัญตอการเขาไปมีสวนรวมในดานการปฏิบัติงานของ สมาชิกขององคกรชุมชนที่มีลักษณะการดําเนินงานเชิงสังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะการรวม ดําเนินงานตามแผนปฏิบัติงาน เนื่องจาก สมาชิกองคกรตางมีอุดมการณรวมกัน และมีความตองการใน การแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อนําไปประยุกตในการดําเนินชีวิต นอกจากนั้น ยังมีลักษณะของการคํานึงถึง ผลกระทบทางสังคมอันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดลอมภายนอกทั้งทางดานเทคโนโลยี สภาพแวดลอมทางสังคมและสภาพแวดลอมทางธรรมชาติ ในขณะที่สมาชิกขององคกรชุมชนที่มี ลักษณะวิสาหกิจชุมชน มักไมใหความสําคัญตอการเขาไปมีสวนรวมในการดําเนินงานขององคกรมาก นัก เนื่องจาก สมาชิกองคกรมุงหวังผลตอบแทนดานเศรษฐกิจเปนสําคัญ ประการที่สาม องคกรชุมชนทั้งสองลักษณะมีความแตกตางกันในดานการพัฒนาความรู ความสามารถ การแลกเปลี่ยนเรียนรูและการสรางเครือขายองคกรชุมชนในระดับขยายสูภายนอก ทั้ง ระดับระหวางชุมชนและระดับภูมิภาค ผลการวิจัยพบวา องคกรชุมชนในลักษณะการดําเนินงานเชิง สังคมและวัฒนธรรม จะเนนการพัฒนาความรูความสามารถเพื่อผลทางสังคม และการพัฒนาไปสูการ ขยายเครือขายในระดับตาง ๆ ขณะที่องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน เนนดานการสนองตอบ ตอสมาชิกองคกรและชุมชน เนนการพึ่งพาตนเอง และโดยลักษณะที่เปนองคกรซึ่งไดผานการเรียนรู จากประสบการณของความลมเหลวในอดีตที่ผานมา องคกรชุมชนประเภทนี้จึงไมเนนการพัฒนาไปสู การขยายเครือขาย จึงทําใหทั้งองคกรชุมชนและสมาชิกขององคกรชุมชนไมเห็นความสําคัญของการ บริหารแบบใชเครือขาย และมีลักษณะการดําเนินงานเฉพาะในพื้นที่ของตนเองเทานั้น ประการที่สี่ ความแตกตางในบทบาทภาวะผูนํา โดยเฉพาะผูนําในองคกรชุมชนที่มีการ ดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมสามารถแสดงบทบาทไปตามเงื่อนไขของบริบททางสังคม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะการสนับสนุนจากสถานการณตาง ๆ และมีบุคลิกภาพที่เกี่ยวของกับการชี้ นําไปสูเปาหมายไดดีกวาองคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจชุมชน ประการสําคัญ ผูนําองคกรที่มีการ ดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม จะมีอุดมการณที่มั่นคงและมีความกลาหาญ ความ เสียสละในการดําเนินการตามเปาหมายขององคกร มากกวาผูนําองคกรที่มีลักษณะวิสาหกิจ
  • 14. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ สรุปและอภิปรายผล งานวิจัยชิ้นนี้ไดวิเคราะหและชี้ใหเห็นถึงความเขมแข็งและไดเปรียบเทียบการดําเนินงานของ องคกรชุมชน 2 ประเภท อันไดแก องคกรที่มีการดําเนินงานประกอบการเชิงวิสาหกิจและองคกรชุมชน ที่มีการดําเนินงานในลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมในจังหวัดสุพรรณบุรี ผลการวิเคราะหขอมูลชี้ใหเห็นวา องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท มีความเขมแข็งในการดําเนินการ ดังที่ไดกลาวมาขางตน องคกรชุมชนทั้ง 4 องคกร สามารถตอบสนองความตองการและไดรับการ ยอมรับจากสมาชิกในชุมชน สวนหนึ่งเปนเพราะองคกรทั้ง 4 แหงมีรูปแบบการบริหารในลักษณะ เครือขายและเนนการเปดโอกาสใหสมาชิกในชุมชนมีความรูสึกเปนเจาของ ไมใชเพียงแตเนนในเรื่อง การมีสวนรวมของคนในชุมชน องคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท นับวาเปนสวนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาความเขมแข็งของ ประเทศตามวิถีเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่สมดุล กลาวคือ เปนการนําลักษณะสังคมเชิงวัฒนธรรม ซึ่งมีและดํารงอยูภายในชุมชน โดยมีองคประกอบของทุนทางสังคมเปนกลไกในการดําเนินงาน ทั้งนี้ เพื่อผลลัพธในการดํารงชีวิตที่มีคุณภาพตามหลักความพอดี ความพียงและความยั่งยืนในการดํารงชีวิต เมื่อเปรียบเทียบลักษณะการดําเนินงานขององคกรชุมชนทั้ง 2 ประเภท แมวาจะเห็นลักษณะ ความแตกตางทางดานกิจกรรมและวัตถุประสงคขององคกรชุมชนแตละประเภทก็ตาม แตองคกรทั้ง 2 ประเภท ก็มีความคลายคลึงกันในเรื่อง การปรับตัวใหเขากับลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรมของ ชุมชน ซึ่งเปนลักษณะที่เกิดขึ้นและดํารงอยูตามธรรมชาติภายในชุมชน จากการเปรียบเทียบลักษณะขององคกรชุมชนทั้งสองลักษณะ ยังไดพบวาองคกรชุมชนที่มี ลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม ใหความสําคัญตอคุณคาทางสังคมมากกวารูปแบบการดําเนินงาน และ สามารถตอบสนองคุณคาทางสังคมไดดีกวาองคกรในลักษณะวิสาหกิจหรือธุรกิจชุมชน โดยองคกรที่มี ลักษณะเชิงสังคมและวัฒนธรรม มีความคิดริเริ่ม และเกิดนวัตกรรมในการดําเนินงาน เชน การลําดับ ความสําคัญของทรัพยากร จึงไดรับการยอมรับจากสมาชิกองคกรที่อยูในชุมชน นอกจากนั้น องคกร ชุมชนที่มีลักษณะดําเนินงานเชิงสังคมและวัฒนธรรมยังมีศักยภาพในการเรียกรองและผลักดัน ผลประโยชนทางการเมือง ผลักดันกฎหมายและรวมถึงการสรางเครือขายใหขยายไปสูสูระดับกวางได มากกวาองคกรที่ดําเนินงานในลักษณะวิสาหกิจชุมชน ทั้งนี้ นาจะมาจาก เปาหมายที่แตกตางกัน โดย องคกรชุมชนที่มีลักษณะวิสาหกิจจะมุงเนนผลดานเศรษฐกิจ แตองคกรชุมชนที่มีลักษณะเชิงสังคมและ วัฒนธรรมมุงเนนเปาหมายที่กอใหเกิดความรับผิดชอบทางสังคม แมวาองคกรที่มีลักษณะวิสาหกิจ จะ ใชกลไกของทุนทางสังคมมาเปนเครื่องมือในการดําเนินงาน แตก็ไมสามารถดําเนินงานสูความเปน เครือขายได เนื่องจาก การเรียนรูประสบการณที่ลมเหลวทั้งภายในองคกรและความลมเหลวขององคกร
  • 15. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ วิสาหกิจอื่น ทั้งยังตองอยูภายใตกรอบของระเบียบภาครัฐ ไมวาจะเปนระเบียบเกี่ยวกับการ ประกอบการ การบริหารดานการเงินโดยเฉพาะพระราชบัญญัติสหกรณ ทําใหตองอยูภายใตการกํากับ และการประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐ ในงานวิจัยนี้ยังไดพบวา องคประกอบดานตัวชี้วัดการดําเนินงานขององคกรชุมชนในดาน รูปแบบการบริหารจัดการขององคกรชุมชนที่ในงานวิจัยนี้ สอดคลองกับโครงสรางทางสังคมและคานิยม ทางสังคมของชุมชน รวมถึงลักษณะบุคลิกภาพของผูนําชุมชน งานวัยนี้พบวา การจัดโครงสรางการ บริหารงานหรือโครงสรางการดําเนินงาน มีลักษณะการรวมตัวแบบหลวมๆ (Consortium) อันเปน รูปแบบขององคระดับรากหญา หรือเรียกไดวา เปนองคกรในรูปแบบกลุม หรือสถาบันที่มีประสิทธิภาพ ในการแกไขปญหาและเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนไดดี การจัดรูปแบบการดําเนินงานขางตน ขึ้นอยูกับบุคลิกภาพที่สะทอนจากบทบาทและลักษณะของ ผูนําชุมชนที่มาจากโครงสรางทางสังคมและวัฒนธรรมในทองถิ่น ดังที่ ชินอิจิ (2006) ไดนําเสนอถึง ลักษณะอุปถัมภและลักษณะของความเคารพในระดับอาวุโส การแสดงออกถึงผูมีภูมิปญญา การเปนที่ ยอมรับจากสมาชิกชุมชน ซึ่งลักษณะดังกลาว สามารถนํามาใชประโยชนในเชิงประสานงานทั้งภายใน และภายนอกองคกร นอกจากนั้น บทบาทในการชี้นํา เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามวัตถุประสงค โดยเฉพาะการชี้นําดานคานิยมของชุมชน เปนประโยชนตอกระบวนการทํางานอยางมาก ทั้งในดานการ กระตุนความคิดและการปฏิบัติตอสมาชิก คุณสมบัติของผูนําชุมชน ดานความมุงมั่น ความมีอุดมการณ ความเสียสละโดยเฉพาะความพอดี ทําใหเกิดการสรางความสมดุลระหวางผลประโยชนขององคกร ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสีย นอกจากนั้น ผูนําชุมชนยังมีทักษะในสรางกลไกตางๆ เพื่อให องคกร เติบโตตามธรรมชาติของชุมชน โดยไมตองอยูภายใตสภาพแวดลอมภายนอกมากจนเกินไป ขอเสนอแนะ ในงานวิจัยนี้ ไดชี้ใหเห็นถึงศักยภาพและความสามารถขององคกรชุมชน ในการแกไขปญหาและ ตอบสนองความตองการของสมาชิกในชุมชนจังหวัดสุพรรณบุรี องคกรทั้ง 2 ประเภทที่เลือกมาวิจัยใน ครั้งนี้ ตางมีลักษณะเปนสถาบันที่อนุรักษ ยึดเหนี่ยวและถายทอดคานิยมที่ดีทางสังคมและวัฒนธรรม แมวาการดําเนินงานขององคกรชุมชนจะไมไดมีรูปแบบและไมไดใชทฤษฎีทางวิชาการเปนตัวนําก็ตาม แตการดําเนินงานขององคกรชุมชนซึ่งเกิดจากการใชศักยภาพของชุมชน โดยเฉพาะอยางยิ่งองคกร ชุมชนทั้ง 2 ประเภทไดเปดโอกาสใหประชาชนในชุมชนเขามามีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมในทองถิ่น ทําใหสามารถสรางแนวคิดเพื่อนําไปสูตัวแบบของการพัฒนาเพื่อวางเปนกรอบใน นโยบาย การพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจระดับลาง และเพื่อสงเสริมศักยภาพในการพึ่งพาตนเองของภาค ประชาชนใหมีความเขมแข็งมากขึ้น
  • 16. วารสารการบริหารทองถิ่น ปที่ 8 ฉบับที่ 3 (กรกฎาคม – กันยายน 2558) Vol. 8 No. 3 July – September 2015 ____________________________________________________________________ งานวิจัยนี้สะทอนใหเห็นวา เพื่อใหสอดคลองกับขอเสนอแนะขางตน รัฐบาลควรใชศักยภาพและ ความสามารถในดานการดําเนินงานขององคกรชุมชนซึ่งมีพื้นฐานจากธรรมชาติของโครงสรางทางสังคม และวัฒนธรรมที่เขมแข็ง ใหเกิดประโยชนเต็ม ในการผลิตผลผลิตดานการเกษตร การแปรรูป รวมทั้ง รูปแบบวิสาหกิจอื่น ๆ ใหพัฒนาสูการเชื่อมโยงสูระดับภูมิภาค และความเปนสากลโดยไมจําเปนตอง เปลี่ยนแปลงวิธีการและกระบวนการดําเนินงานขององคกรดังกลาว จากขอคนพบในเรื่อง ความเขมแข็งขององคกรชุมชน ที่เกิดขึ้นเองโดยธรรมชาติ ทั้งในรูปแบบ การดําเนินงานและรูปแบบการประสานเชื่อมโยงในลักษณะเครือขาย โดยไมมีการจัดตั้งและแทรกแซง จากองคกรภายนอก รวมทั้งหนวยงานราชการ เปนการยืนยันวา องคกรชุมชนมีความเขมแข็งและ สามารถเจริญเติบโตดวยตนเองได แตเนื่องจากงานวิจัยนี้ ศึกษาองคกรชุมชนเพียง 2 ประเภท เทานั้น ดังนั้น ในอนาคตจึงควรมีการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในองคกรชุมชนประเภทอื่น แมวางานศึกษาวิจัยใน ลักษณะดังกลาวหรือที่เกี่ยวของจะมีอยูมากแลวก็ตาม แตผลงานในเรื่องนี้ยังมีลักษณะแบบแยกสวน (Fragmentation) และขาดมุมมองของการมองในภาพรวม (Holistic) ผูวิจัยจึงเสนอแนะให ทําการศึกษาวิจัยเพิ่มเติมในเชิงบูรณาการทั้งในแงของขอบเขตและเนื้อหาสาระของการวิจัย เพื่อ ประโยชนตอการพัฒนาองคกรชุมชนเพื่อเปนรากฐานของการเปลี่ยนกระบวนทัศนเดิมของการพัฒนา ประเทศจากสวนกลางสูสวนทองถิ่นใหกลายมาเปนการใชกลยุทธการพัฒนาทองถิ่นไปสูสวนกลางตอไป เอกสารอางอิง คณะทํางานสุขภาพคนไทย. (2554). รายงานสุขภาพคนไทย. 6 ม.ค.2556, http://www.hiso.or.th/ hiso5/ report/report2011T.php. จังหวัดสุพรรณบุรี. (2555). ขอมูลทั่วไปของจังหวัดสุพรรณบุรี. 12 สิงหาคม 2557, htpp://www. suphsburi. ac.th. ชิเกโตมิ, ชินอิชิ. (2549). ศักยภาพในการสรางองคกรของสังคมทองถิ่นในการพัฒนาชนบท: การศึกษา เปรียบเทียบการจัดองคกรสินเชื่อขนาดเล็กระหวางประเทศไทยกับฟลิปปนส. 12 สิงหาคม 2551, http://www. Midnight univ.org/ศักยภาพในการสรางองคกร.