SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 116
Descargar para leer sin conexión
รายงาน




                                                      รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554: ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณระบบยา (2552-2554)
                                                                                                                                             สถานการณระบบยา
                                                                                                                                             ประจําป 2554            ความเปลี่ยนแปลงของ
                                                                                                                                                             สถานการณระบบยา (2552-2554)




                                                        แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
       คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
    โทรศัพท 0-218-8452 โทรสาร 0-2254-5191
            E-mail : spr.chula@gmail.com
          Website: www.thaidrugwatch.org
         www.facebook.com/thaidrugwatch
ขอมูลทางบรรณานุกรม
รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554./แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา
พิมพครั้งที่ 1. ตุลาคม 2554 —กรุงเทพ: แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา
สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.)
ที่ปรึกษา :           นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี
บรรณาธิการ :          ยุพดี ศิริสินสุข
ISBN 978-616-551-423-1
ปกและรูปเลม :        http://khunnaipui.multiply.com
ภาพประกอบ :           http://www.stockfreeimages.com
จัดพิมพและเผยแพร : แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                     คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                     ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
                     โทรศัพท 0-218-8452 โทรสาร 0-2254-5191
                     E-mail : spr.chula@gmail.com
                     Website: www.thaidrugwatch.org
                     www.facebook.com/thaidrugwatch
พิมพที่ :            อุษาการพิมพ
                      ถนนราชปรารภ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
                      โทรศัพท 02-251-5815, 02-252-0448
จํานวนพิมพ :         3,000 เลม
รายงาน
สถานการณระบบยา
    ประจําป 2554
         ความเปลี่ยนแปลงของ
 สถานการณระบบยา (2552-2554)
คํานิยม
ป  ญหาการใชยาอยางไมสมเหตุผล เปนปญหาใหญทั่วโลก เพราะอิทธิพลของธุรกิจยาและ
    ความออนแอของระบบจรรยาบรรณวิชาชีพประกอบกัน
      องคการอนามัยโลกมีหนวยงานทีมหนาทีแกปญหานีคอ แผนงานสงเสริมการใชยาอยางมีเหตุผล
                                  ่ ี    ่       ้ ื
(Rational Use of Drug: RUD) แตแผนงานนี้ก็ถูก “บอนไซ” ใหออนแอ เพื่อมิใหไป “ขวางทาง”
ผลประโยชนของธุรกิจยา
      ประเทศไทยมีระบบการคลังสาธารณสุขที่ใชระบบเหมาจายรายหัวกับประชากรกวารอยละ 90
คือระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และระบบประกันสังคม ซึ่งควรมีผลสําคัญใหมีการใชยา
อยางสมเหตุสมผลไดมาก เพราะสถานพยาบาลจําเปนตองควบคุมคาใชจาย แตปญหาการใชยา
อยางไมสมเหตุสมผลก็ยังคงเปนปญหาใหญ โดยเฉพาะกับระบบสวัสดิการขาราชการ ซึ่งใชระบบ
การจายตามรายการการใหบริการ ซึ่งเปนรูโหวใหญของระบบบริการสาธารณสุขของประเทศ
      นายินดีที่มีความพยายามแกปญหานี้ทั้งในภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนมาอยางตอเนื่อง
เปนเวลารวมสี่ทศวรรษแลว ไดแก เรื่อง นโยบายแหงชาติดานยา บัญชียาหลักแหงชาติ การผลักดัน
การใชยาตามชื่อสามัญ การรณรงคขจัดยาชุด โดยการดําเนินงานของทั้งบุคลากรในภาครัฐ และกลุม
ศึกษาปญหายา (กศย.) ตลอดจนองคกรอื่นที่แตกแขนงทํางานนี้มาอยางไมทอถอย “แผนงาน
สรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา(กพย.)” ก็เปนสวนหนึ่งของขบวนการรณรงคเพื่อการใชยา
อยางเหมาะสม แผนงานดังกลาวนี้สามารถผนึกกําลังของผูสนใจ และ “มีไฟ” มาทํางานนี้อยางเปน
ระบบ ดวยความหวังวาจะสามารถทวนกระแส “ทุนนิยมสามานย” ใหปรับตัวเปนทุนนิยมทีมหวใจของ
                                                                                  ่ ี ั
ความเปนมนุษยไดบาง
       รายงานสถานการณระบบยาฉบับนี้ คือบันทึกของทั้งสถานการณและผลของความพยายาม
ที่ควรแก การชื่นชมและใหกําลังใจ



                                                          นายแพทยวิชัย โชควิวัฒน
                       รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ คนที่ 2
คํานํา
ร    ายงานสถานการณระบบยาประจําป 2554 ฉบับนี้ เปนผลพวงทีเกิดขึนจากการรวมกันขับเคลือน
                                                                 ่ ้
     ของภาคีเครือขาย หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง และแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและ
พัฒนาระบบยา (กพย.) เพือเสนอสถานการณเปลียนแปลงทีเกิดขึนในภาพรวมของระบบยาหรือวงจรยา
                        ่                      ่        ่ ้
                                                                                          ่


ในชวงป พ.ศ. 2552-2554 โดยสะทอนปญหาควบคูกับการการพัฒนาทุกดานของระบบยา ไดแก
สถานการณทเกียวของกับการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยา การคัดเลือกยา การจัดหายา การกระจายยา
             ี่ ่                                   
และการใชยา ตั้งแตระดับนโยบาย ระดับภูมิภาค ระดับสถานพยาบาล และระดับชุมชน
       ประจวบกับป 2554 มีเหตุการณสําคัญเกิดขึ้นหลายเรื่อง เชน เปนวาระครบรอบ 30 ปของ
การประกาศใช “นโยบายแหงชาติดานยา และบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2524” (ฉบับแรกของ
ประเทศไทย) โดย นพ.เสม พริงพวงแกว ผูยนหยัดเพือสังคมครบหนึงศตวรรษ เมือวันที่ 31 พฤษภาคม
                            ้          ื         ่            ่          ่
2554, วาระครบรอบ 36 ปของกลุมศึกษาปญหายา (กศย.), การดํารงอยูของระบบหลักประกัน
สุขภาพถวนหนาควบคูกับการจัดหายาจําเปนที่ใชสิทธิตามสิทธิบัตร (CL), การขับเคลื่อนยุทธศาสตร
การเขาถึงยา/การเตรียมการยุตการสงเสริมการขายยาทีไรจริยธรรมโดยภาคประชาสังคมตามมติสมัชชา
                              ิ                       ่
สุขภาพแหงชาติ รวมทั้งการประกาศใช “นโยบายแหงชาติดานยา (ฉบับที่ 3) และแผนยุทธศาสตร
การพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2554-2559”
       นโยบายและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยา เปนความสําคัญลําดับแรกหรือเปนธงนํา
ในการพัฒนาระบบยา ทั้งนี้ ตองมีองคกรรับผิดชอบที่มีศักยภาพเขมแข็ง มีระบบบริหารจัดการที่มี
ธรรมาภิบาล มีระบบเฝาระวัง/เตือนภัยทุกแงมุมในระบบยาที่ไวตอสถานการณ รวมทั้งมีกําลังคนและ
งบประมาณสนับสนุนที่พอเพียง รายงานผลสําเร็จในปนี้เปนเพียงกาวแรก ยังตองการความรวมมือ
รวมใจจากทุกฝาย ทุกองคกร ทุกภาคีเครือขายในการรวมกันสรางระบบยาของประชาชนตอไป จนกวา
จะบรรลุเปาหมาย
       การเปลี่ยนแปลงในวงจรยา เริ่มจากการแกปญหาที่ตนนํ้า คือ การคัดเลือกยาเขาประเทศ
โดยเรงพัฒนาระบบการทบทวนทะเบียนตํารับยา การจัดหายาจําเปนราคาแพงเพื่อคนไทยของ
สํานักงานหลักประกันสุขภาพและองคการเภสัชกรรม นับวาเปนอีกความสําเร็จที่จะทําใหคนไทย
เขาถึงยาอยางเสมอภาค และทายที่สุด ความพยายามของคนเล็กคนนอยในการ รวมกันสราง “ระบบ
ยาของชุมชน” ที่เหมาะสมกับชุมชน
                                                                    ผศ.ภญ.สําลี ใจดี
               ประธานคณะกรรมการกํากับทิศทางแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา
                                                                     1 ตุลาคม 2554
สาสนจาก กพย.
อ    งคประกอบที่สําคัญที่ทําใหระบบใดๆ ยังคงดํารงอยูไดอยางมีสมดุลนั้น ตองมีกลไกสะทอนกลับ
     ‘feedback mechanism’ เพื่อใหไดผลลัพธที่พึงประสงค
       ความหมายของระบบยาตามที่ แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
ไดกาหนดไว คือ การมีนโยบายยาเปนธงนํา ประกอบดวย 3 โครงสรางหลัก คือ องคประกอบกลุมที่ 1
    ํ                                                                              
การบริหารจัดการระบบยา ประกอบดวย การวิจัยพัฒนา การคัดเลือก จัดหา กระจาย และการใชยา
องคประกอบกลุมที่ 2 การพัฒนาระบบบริหารจัดการระดับโครงสรางกลาง ไดแก การควบคุม
บังคับใช ธรรมาภิบาลและจริยธรรม การเงินการคลัง กําลังคนดานสุขภาพ และขอมูลสารสนเทศ
องคประกอบกลุมที่ 3 คือ ระบบและกลไกเฝาระวังระบบยา เปนกลไกสะทอนกลับ ซึ่งสิ่งเหลานี้
ยังมีความจําเปนตองการการศึกษา จัดการความรู เพือจัดทําขอเสนอพัฒนาระบบและกลไกตรวจสอบ
                                                 ่
เฝาระวังอยางเกาะติดตอเนื่อง
       ในวาระที่ กพย. ไดทําหนาที่เฝาระวังและพัฒนาระบบยามาเปนระยะเวลาครบ 3 ป ไดมี
ความพยายามอยางมากในการรวมกันสรางความเขมแข็งของเครือขายใหทําหนาที่เปนกลไกเฝาระวัง
ระบบยา เพิ่มเติมจากภาครัฐที่ทํามาแลว เพื่อเปนการเสริมแรงแข็งขัน และในขณะเดียวกันก็รวมกัน
ขับเคลื่อนนโยบายที่สําคัญๆ จํานวนหนึ่ง แตหนาที่มิไดจบแคนั้น การทําหนาที่เฝาระวังยังเปนกลไก
สําคัญทีตองทําตลอดชีวต ทุกภาคสวนตองรวมกันทําหนาที่ ทังภาครัฐ ในฐานะผูปฏิบตการ ภาควิชาการ
         ่           ิ                                  ้                 ั ิ
ภาคประชาสังคม รวมทั้งสื่อ ที่หลังจากเฝาระวัง จะตองสงสัญญาณเตือนภัย เมื่อเห็นปญหา นโยบาย
อีกจํานวนมากยังตองการการขับเคลือน ทังนโยบายทียงไมมมากอน การแกไขนโยบายหรือการดําเนินงาน
                                 ่    ้         ่ั ี
ทียงไมครบถวน ไมถกตอง ในขณะเดียวกัน ก็ตองมีขบวนการเฝาระวังนโยบายตาง ๆ ทีรฐดําเนินการ
  ่ ั              ู                                                               ่ั
อยู และรวมถึงที่ภาคเอกชนตองรวมดวย ซึ่งภาคเอกชนคงปฏิเสธภาระหนาที่ไมไดในการคํานึงถึง
ประโยชนที่ประเทศไทย และคนไทยพึงไดรับโดยรวม มิใชเพื่อประโยชนสวนตนเทานั้น
       หวังวา รายงานฉบับนี้จะเปนกระจกสะทอนสถานการณระบบยาใหผูที่เกี่ยวของทุกฝาย
พึงตระหนักถึงภารกิจ ใหเกิดการเรียนรู และวางนโยบายในการปรับปรุง ทบทวนซํ้า เปนวงจร
การพัฒนาอยางตอเนือง ใหเกิดผลลัพธทดแกประเทศตอไป เปรียบเสมือนเปนผลทีไดมาจากการบํารุง
                       ่             ี่ ี                                ่
ที่รากสูลําตน และกิ่ง กาน ใบ ดอก

                                                             ผศ.ภญ.ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี
                                          ผูจัดการแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา
า                                                   ย   า
                                 ยร ะบบย                                              เ ลือก
                           โยบา                                              ก า รคัด
                         น                                              ะดับ
                 งร ะดับ                                             งร
          น แปล                                               น แปล
    เปลี่ย                                          าร เปลี่ย
การ                                                ก




สารบัญ
การเปลี่ยนแปลงระดับนโยบายระบบยา               9        การเปลี่ยนแปลงระดับการคัดเลือกยา              25
การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาระบบยา             10       การพัฒนารูปแบบการทบทวน                        26
ของประเทศไทย                                           ทะเบียนตํารับยาและการนําไปสูการปฏิบัติ
การเขาถึงยาของประชาชนไทย :                   15
บทเรียนอดีต ปจจุบัน สําหรับอนาคต                      การเปลี่ยนแปลงระดับการจัดหายา                 31
ขบวนการขับเคลื่อนการใชยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม   22       นวัตกรรมการจัดหายา                            32
สูนโยบายระดับประเทศและระดับนานาชาติ                   เพื่อการเขาถึงยาของประชาชน
                                                       Single window ระบบแจงเตือนภัย ฐานขอมูล      39
                                                       ความปลอดภัยผลิตภัณฑ (ดานยา)
                                                       VMI : นวัตกรรมการพัฒนาการบริหารคลังยา         44
า                                    ยา
                                ัด หาย                               ระ จาย                            ใชยา
                            การจ                                การก                               การ
                    งร ะดับ                                ะดับ                            งร ะดับ
                  ล                                  ล  งร                              ล
         ลี่ย นแป                                 นแป                            ี่ยนแ
                                                                                       ป
      เป                                     ลี่ย                               ล
 การ                                 การ
                                         เป                            ก ารเป




การเปลี่ยนแปลงระดับการกระจายยา                 51          การเปลี่ยนแปลงระดับการใชยา                  79
การพัฒนารูปแบบการเฝาระวัง                     52          การขับเคลื่อนในระดับสถานพยาบาล             80
การใชยาสเตียรอยดที่ ไมเหมาะสม เขต 5                     เพื่อการใชยาที่เหมาะสม : กรณีศึกษา
การจัดการสเตียรอยด                            58          เครือขายคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด
โดยเครือขายชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ                           ระบบฐานขอมูลยา                            89
การจัดการปญหายาไมเหมาะสมในชุมชน :            63          เพื่อการใชยาที่เหมาะสมของประชาชน
กรณีศึกษาจังหวัดยโสธร                                      การขับเคลื่อนภาคประชาชนดานยา :            94
การจัดการปญหายาไมเหมาะสมในชุมชุน :           68          กรณีชื่อสามัญทางยา
กรณีศึกษาอําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี                      รูจัก “ยา” เขาใจใช ไปสูงานสุขภาพชุมชน  96
การคุมครองผูบริโภคในรานยา : นวัตกรรมและ     72          สื่อศิลปะกับการรณรงคแกไขปญหา           101
ความสําเร็จ กรณีโครงการผูบริโภคปลอดภัย                    เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ
เภสัชกรไทยไมแขวนปาย 10 จังหวัดนํารอง
                                                           เปดมานกพย.                                107
นโยบายระบบยา
การขับเคลื่อนนโยบาย
การพัฒนาระบบยาของประเทศไทย
                                                                    นพ.ศิริวัฒน ทิพยธราดล*


1. ความเปนมาของการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยา
สิ    ทธิดานสุขภาพเปนสิทธิพนฐานของมนุษยชาติ ยาจึงมีบทบาทสําคัญตอคุณภาพ
          
                 ่
                             ื้
      การรักษาเพือปองกันและแกไขปญหาสุขภาพ ปญหายาตังแตการเขาไมถึงยา
                                                         ้
ยาราคาแพง ความไมเชือมันในคุณภาพยา การใชยาเกินจําเปน รวมทังอิทธิพลของ
                       ่ ่                                     ้
การสงเสริมการขายยา การโฆษณา การขายตรง และโฆษณาแฝง ปญหายามีความ
เชื่อมโยงกันอยางซับซอน เกี่ยวของกับหนวยงานหลากหลายทั้งรัฐและเอกชน ใน
และนอกประเทศ จึงจําเปนตองมีการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยาใหทนสมัย โดย
                                                                ั
กําหนดเปาหมายและทิศทางในการทํางานรวมกันของหนวยราชการ ภาคเอกชน
และภาคประชาชน เพื่อจัดการกับปญหาใหเกิดการพัฒนาระบบยาอยางตอเนื่อง
ทันกับบริบทและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป

* ประธานคณะทํางานรางนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ



 10     รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
1.1 นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524                     1.2 นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2536
        ประเทศไทยประกาศใช น โยบายแห ง ชาติ                 นโยบายแหงชาติดานยาไดมีการปรับปรุงอีก
ดานยาฉบับแรกเมื่อป พ.ศ.2524 มีสาระสําคัญ คือ        ครังเมือวันที่ 4 พฤษภาคม 2536 “นโยบายแหงชาติ
                                                         ้ ่
นโยบายยาหลักแหงชาติและการพึ่งตนเองดานยา             ดานยา” (ฉบับที่สอง) มีสาระสําคัญไมตางกัน แตมี
โดยจัดใหมยาปลอดภัย มีคณภาพดี ในราคาพอสมควร
            ี            ุ                            การแกไขบางสวนใหเหมาะสมกับสถานการณ อาทิ
กระจายอยางทัวถึง โดยเฉพาะยาสําหรับสาธารณสุข
                ่                                     การสงเสริมและสนับสนุนการใชยาตามบัญชียาหลัก
มูลฐาน รวมถึงการปรับปรุงวิธการดานการจัดหาและ
                            ี                         แหงชาติ การคุมครองผูบริโภคดานยา การขยาย
การกระจายยา การใชยาอยางสมเหตุผล ตลอดจน              นโยบายจากเดิ ม ที่ ร ะบุ เ พี ย งยาแผนโบราณ ให
สนั บ สนุ น การผลิ ต ยาภายในประเทศของภาครั ฐ          ครอบคลุ ม สมุ น ไพร ยาสมุ น ไพร รวมทั้ ง ผนวก
และภาคเอกชน การขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติ          การสงเสริมการใชยาจากสมุนไพรไวดวย
ในชวงเวลาดังกลาวเปนไปอยางเขมแข็งโดยการ
สนับสนุนของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข                 1.3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัฒนา
ในสมัยนั้น (นพ.เสม พริ้งพวงแกว) ผลงานสําคัญ          นโยบายแหงชาติดานยาและการพัฒนาระบบยา
คือการประกาศใชบญชียาหลักแหงชาติฉบับแรกของ
                    ั                                            การพั ฒ นาระบบยาที่ ผ  า นมาประสบ
ประเทศในป 2524 และนําไปสูการปฏิบัติโดยใช           ปญหาความไมตอเนื่อง เนื่องจากการปรับเปลี่ยน
“ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการซื้อยาดวย          คณะรัฐมนตรี ทําใหคณะกรรมการแหงชาติดานยา
เงินงบประมาณของหนวยราชการในสังกัดกระทรวง             ที่แตงตั้งตามมติคณะรัฐมนตรีหมดวาระ สงผลให
สาธารณสุข พ.ศ.2524” นับเปนกลไกสําคัญในการ            การดําเนินนโยบายแหงชาติดานยา การจัดทําบัญชี
นําไปสูการปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข ควบคู          ยาหลักแหงชาติหยุดชะงัก ดังนั้น รัฐบาลจึงไดออก
กับการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล การจัดทํา         ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยคณะกรรมการ
วารสารผูสั่งใชยา การตรึงราคายาจากการรวมศูนย        พัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2551 เพื่อใหคณะ
จัดซื้ อของบางหน วยงาน ซึ่ งตอมาได พัฒนาเปน       กรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ เปนองคกรหลัก
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ.         ในการกํากับ ดูแล และขับเคลื่อนนโยบายแหงชาติ
2535 ซึ่งกําหนดใหหนวยงานรัฐทุกแหงจัดซื้อยาใน       ด า นยาและพั ฒ นาระบบยา แทนคณะกรรมการ
บัญชียาหลักแหงชาติตามราคากลางยา ตามสัดสวน           แหงชาติดานยาที่แตงตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี
วงเงินงบประมาณที่กําหนด รวมทั้งไดจัดทําแผน
                                                              คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ มี
พัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
                                                      อํานาจหนาทีสาคัญคือ (1) กําหนดนโยบายแหงชาติ
                                                                  ่ ํ
และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (2525 – 2529) ทีเนน
                                            ่
                                                      ดานยาและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหง
ใหมี (1) แผนงานพัฒนายาแหงชาติ ประกอบดวย
                                                      ชาติเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพือพิจารณาใหความเห็น
                                                                                 ่
3 โครงการ คือ โครงการผลิตยา โครงการจัดหา
                                                      ชอบ และมอบหมายหนวยงานทีเกียวของดําเนินการ
                                                                                    ่ ่
กระจายยา โครงการวิจัยยาและสมุนไพร (2) แผน
                                                      ตามอํานาจหนาที่ (2) ติดตาม ประเมินผลการปฏิบติ  ั
งานสาธารณสุขมูลฐาน การจัดหายาทีจาเปนสําหรับ
                                   ่ํ
                                                      งานตามนโยบายฯ และแผนยุทธศาสตรฯ ตลอดจน
ชาวบาน (3) แผนงานคุมครองผูบริโภคดานอาหาร
                                                      อํ า นวยการ แก ไ ขป ญ หาจากการปฏิ บั ติ ง านของ
ยา เครื่องสําอาง และวัตถุมีพิษ
                                                      หนวยงานตางๆ (3) จัดทําบัญชียาหลักแหงชาติและ
                                                      กําหนดราคากลางยาในการจัดซือของหนวยงานของ
                                                                                     ้
                                                      รัฐ (4) การสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล เปนตน



                                                  แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                                                                                                    11
นอกจากนั้น กฎกระทรวง แบงสวนราชการ         เปนกลไกหลักในการจัดทําแผนปฏิบตการทีสอดคลอง
                                                                                       ั ิ ่
สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง               กับยุทธศาสตรฯ แบบมีสวนรวม แตเนืองจากในชวง
                                                                                         ่
สาธารณสุข พ.ศ.2552 ซึ่งตราขึ้นใหม ไดกําหนด        เวลาดังกลาว ยังไมมีคณะกรรมการพัฒนาระบบยา
อํานาจหนาที่ใหเอื้อตอการพัฒนาระบบยาแหงชาติ      แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ
ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ไวอยางชัดเจน        จึงมีคําสั่งที่ 12/2552 แตงตั้งคณะกรรมการยกราง
ในขอ 2 (8) วา สํานักงานฯ มีอานาจหนาที่ “ปฏิบติ
                                ํ              ั    แผนปฏิบตการตามยุทธศาสตรการเขาถึงยาถวนหนา
                                                                ั ิ
การอืนใดตามทีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่
      ่        ่                                    ของประชากรไทย ซึงคณะกรรมการฯ ไดดาเนินการ
                                                                          ่                  ํ
ของสํานักงานหรือตามทีรฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี
                         ่ั                         ยกรางแผนปฏิบัติการจนเสร็จสิ้นแลวเสนอไปยัง
มอบหมาย” และในขอ 14 (3) ระบุอํานาจหนาที่          คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ
สํานักยาวามีอํานาจหนาที่ “สนับสนุนขอมูลองค            ต อ มาคณะรั ฐ มนตรี ไ ด มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ 20
ความรูในการกําหนดยุทธศาสตรพฒนาระบบยาและ
                                 ั                 กรกฎาคม 2553 เห็นชอบมติสมัชชาสุขภาพแหง
นโยบายแหงชาติดานยา รวมทังสนับสนุนการพัฒนา
                             ้                     ชาติ ครั้งที่ 2 เรื่อง ยุติการสงเสริมการขายยาที่ขาด
ระบบยาตามยุทธศาสตรที่กําหนด” สงผลใหการ           จริยธรรม: เพื่อลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และ
พัฒนาระบบยาและนโยบายแหงชาติดานยาเปน              สุขภาพของผูปวย และการพัฒนาการแพทยแผนไทย
                                                                    
หนึงในหนาทีรบผิดชอบของสํานักยา สํานักงานคณะ
   ่        ่ั                                      การแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือกใหเปน
กรรมการอาหารและยา อยางเปนทางการ                   ระบบบริการสุขภาพหลักของประเทศคูขนานกับการ 
                                                    แพทยแผนปจจุบัน โดยมอบหมายคณะกรรมการ
     1.4 ความเชื่อมโยงกับสมัชชาสุขภาพ
                                                    พัฒนาระบบยาแหงชาติจดตังคณะทํางานเพือพัฒนา
                                                                                ั ้                    ่
แหงชาติ
                                                    เกณฑจริยธรรมวาดวยการสงเสริมการขายยาใหแลว
        ในป พ.ศ.2550 ไดมีการตราพระราชบัญญัติ      เสร็จภายใน 1 ป และปรับปรุงยาไทยและยาจาก
สุ ข ภาพแห ง ชาติ พ.ศ.2550 เพื่ อ วางกรอบและ       สมุนไพรเขาในบัญชียาหลักแหงชาติ
แนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรและ
การดําเนินงานดานสุขภาพของประเทศ และบัญญัติ
ใหมีการจัดสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ในการประชุม
                                                    2. นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.
สมัชชาฯ ครั้งที่ 1 ไดมีมติรับรองยุทธศาสตรการ      2554
เขาถึงยาถวนหนาของประชากรไทย ซึงคณะรัฐมนตรี
                                    ่                     เนื่ อ งจากนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยาไม ไ ด
ไดมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2552 และ      ปรับปรุงมาเปนเวลานาน 16 ป จึงไมเหมาะสม
มอบหมายคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ                กับบริบทของประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป และคณะ


 12    รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
กรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติไดรับมอบหมาย                 ติดตามประเมินผล โดยการมีสวนรวมของหนวยงาน
                                                                                     
ตามมติคณะรัฐมนตรีใหดาเนินการทีเกียวของกับมติ
                        ํ          ่ ่                  ของรัฐที่กําหนดไวในแตละยุทธศาสตรยอยๆ
สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ดังนั้น เพื่อใหมีการพัฒนา              นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2554 และ
ระบบยาในภาพรวมทั้งระบบ คณะกรรมการพัฒนา                  แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.
ระบบยาแหงชาติดานยาในการประชุมครังที่ 1/2553
                                      ้                2555 – 2559 เปนแผน 5 ป มีสาระสําคัญดังนี้
เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 ไดมีมติเห็นชอบตอราง
นโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ                      วิสัยทัศน ประชาชนเขาถึงยาถวนหนา ใชยา
เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบเพื่อใช           มีเหตุผล ประเทศพึ่งตนเอง
แทนนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยา พ.ศ.2536 ทั้ ง นี้               เป า ประสงค เพื่ อ ให ป ระชาชนได รั บ การ
คณะกรรมการฯไดผนวกยุทธศาสตรตามมติสมัชชา                ปองกันและแกไขปญหาสุขภาพที่ไดมาตรฐาน โดย
สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2551 และ 2552 ที่เกี่ยวของ          การประกันคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิผล
รวมเขาไวในยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ            ของยา การสรางเสริมระบบการใชยาอยางสมเหตุผล
      คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 14 มีนาคม          การสงเสริมการเขาถึงยาจําเปนใหเปนไปอยางเสมอ
2554 เห็นชอบตอนโยบายแหงชาติดานยา และแผน
                                                       ภาค ยังยืน ทันการณ การสรางกลไกการเฝาระวังที่
                                                               ่
ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ตามทีเสนอ่             มีประสิทธิภาพ และอุตสาหกรรมยามีการพัฒนาจน
และมอบหมายคณะกรรมการฯ เปนเจาภาพหลักใน                 ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองได
การกําหนดแผนงาน เปาหมาย ตัวชี้วัด และกลไก

            แผนยุทธศาสตรฯ ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร ซึ่งเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ดังนี้
     ยุทธศาสตรและวัตถุประสงค                                   ยุทธศาสตรยอย
                                      1.   การประสานความรวมมือเครือขายเพื่อการเขาถึงยา
ดานที่ 1 การเขาถึงยา                2.   การสนับสนุนการรวมกลุมของผูปวย
ประชาชนเขาถึงยาจําเปน                    เพื่อการเขาถึงยาและสรางเสริมสุขภาพ
อยางเสมอภาค ทั่วถึง และทันการณ      3.   การสงเสริมใหราคายาสอดคลองกับคาครองชีพ
ในราคาที่เหมาะสม                      4.   การใชประโยชนหรือลดอุปสรรคของขอกําหนดทางกฎหมาย
                                           เพื่อการเขาถึงยา
                                      1.   การพัฒนาระบบและกลไกการกํากับดูแล
                                           เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
                             2.            การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ
ดานที่ 2                    3.            พัฒนากลไกและเครื่องมือ เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล
การใชยาอยางสมเหตุผล        4.            การสรางความเขมแข็งภาคประชาชนดานการใชยาอยางสมเหตุผล
บุคลากรทางการแพทยและประชาชน 5.            การสงเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ
ใชยาอยางสมเหตุผล คุมคา
                             6.            การพัฒนาระบบและกลไกปองกันและแกปญหา
                                           จากการใชยาตานจุลชีพและการดื้อยาของเชื้อกอโรค
                                      7.   การสงเสริมจริยธรรมผูสั่งใชยาและยุติการสงเสริมการขายยา
                                           ที่ขาดจริยธรรม


                                                    แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                                                                                                         13
ยุทธศาสตรและวัตถุประสงค                                   ยุทธศาสตรยอย
                                       1.   การพัฒนากฎระเบียบใหเกิดการลงทุน
                                            และการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ
ดานที่ 3                              2.   การสงเสริมการวิจัยพัฒนา และนวัตกรรมตอยอด
การพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา                    ในอุตสาหกรรมยา
อุตสาหกรรมยา ชีววัตถุ
และสมุนไพร มีศักยภาพเพียงพอ            3.   การสรางทรัพยากรเพื่อสงเสริมภาคการผลิต
ในการพึ่งตนเองของประเทศ                     ของอุตสาหกรรมยาในประเทศ
                                       4.   การสรางความเชื่อมั่นและประกันคุณภาพยา
                                            ที่ผลิตในประเทศแกผูสั่งใชยาและประชาชน
ดานที่ 4                              1.   การพัฒนาศักยภาพระบบการควบคุมยาใหมประสิทธิภาพ
                                                                                     ี
การพัฒนาระบบการควบคุมยา                     โปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล
การประกันคุณภาพ ประสิทธิผล             2.   การพัฒนาระบบการเฝาระวังยาหลังออกสูตลาด
และความปลอดภัยของยา                         และระบบการเตือนภัยดานยา
โดยพัฒนาศักยภาพระบบ
การควบคุมยาของประเทศ                   3.   การทบทวนทะเบียนตํารับยาที่มีผลกระทบสูง

        คณะกรรมการฯ ไดมการประชุมครังที่ 1/2554
                         ี                ้           ที่สําคัญ คือ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กําหนดแนวทางการ            คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2551
จัดทําแผนปฏิบตการตามแผนยุทธศาสตรฯ โดยมอบ
                ั ิ                                   พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ และกฎกระทรวง
หมายคณะอนุกรรมการฯที่คณะกรรมการฯ แตงตั้ง             แบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ
ทัง 4 คณะ ไดแก คณะอนุกรรมการพัฒนานโยบาย
  ้                                                   ยา กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 ซึงเปนรากฐาน
                                                                                        ่
และยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ คณะ               สําคัญตอการพัฒนาอยางตอเนื่องในอนาคต
อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลคณะ                     การพัฒนานโยบายแหงชาติดานยาและแผน
อนุ ก รรมการพั ฒ นาบั ญ ชี ย าหลั ก แห ง ชาติ และ    ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ อยางมี
คณะอนุกรรมการพิจารณากําหนดราคากลางยา รับไป            สวนรวม จะสงผลใหมกรอบและทิศทางการดําเนินงาน
                                                                                  ี
ดําเนินการ ใหแลวเสร็จภายใน 3 เดือน กอนนํามา        รวมกันในการแกไขปญหาของหลายหนวยงานดวย
เปดรับฟงความคิดเห็น เสนอคณะกรรมการฯ ตอไป           ความเขาใจและเต็มใจ กระบวนการพัฒนานโยบาย
                                                      และแผนยุทธศาสตรจงเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนา
                                                                                    ึ
3. บทเรียนและขอเสนอแนะ                               ระบบยา นอกจากนั้น การสรางความเขมแข็งของ
   ตอการขับเคลื่อนนโยบาย                             สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการฯ นับเปน
                                                      เรื่ อ งที่ท า ท า ย ให ส ามารถสร า งความร ว มมือ กับ
   การพัฒนาระบบยา                                     ทุกภาคสวน อยางเทาทันกับสถานการณ ตลอดจน
       การพัฒนาระบบยาอยางตอเนื่องและยั่งยืน         การสนับสนุนองคความรูที่สําคัญในการขับเคลื่อน
จําเปนตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และมีองคกร       นโยบายและยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ
ทีรบผิดชอบโดยตรงทีมศกยภาพในการประสานการ
  ่ั                ่ ี ั
พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร ตลอดจน การติดตาม
ประเมินผล ที่ผานมาไดมีการริเริ่มพัฒนากฎหมาย



 14     รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
การเขาถึงยาของประชาชนไทย :
บทเรียนอดีต ปจจุบน สําหรับอนาคต
                  ั
                                                                 กรรณิการ กิจติเวชกุล*




        ย     าในประเทศไทยมีราคาแพงมาก จากการศึกษาขององคการอนามัยโลกเพือ
              เปรียบเทียบราคายาของประเทศตางๆ พบวา ในประเทศไทยนัน “การรักษา
                                                                         ้
        อาการฉุกเฉินและโรคเรื้อรังสวนใหญ เจาหนาที่ของรัฐที่มีคาตอบแทนตอวันตํ่า
                                                                                       ่


        ที่สุด จําเปนตองทํางานมากกวา 1 วัน1 เพื่อนําเงินคาตอบแทนมาใชเปนคายา
        กรณีตองการยาชือสามัญ แตหากตองการยาตนแบบจําเปนตองทํางานมากทีสด
                         ่                                                        ่ ุ
        ถึง 5 วันจึงจะมีเงินเพียงพอมาเปนคาใชจาย สวนคายารักษาโรคเอชไอวี/เอดส
        สําหรับ 1 เดือน จําเปนตองทํางานถึง 24 วัน และตองทํางาน 0.4 – 12 วันตอเดือน
        เพื่อจะจายเปนคารักษาโรคความดันโลหิตสูง ขออักเสบ และแผลในกระเพาะ
        อาหารสําหรับ 1 เดือน” ซึ่งโดยเฉลี่ยยาตนแบบจะมีราคาแพงกวายาชื่อสามัญ
        ทีถกทีสดประมาณ 3.9 เทา โดยเฉพาะยาทีตดสิทธิบตรจะมีราคาแพงประมาณ
          ่ ู ่ ุ                                   ่ ิ     ั
        3 เทาของ GDP ซึงเกินกวาขอแนะนําขององคการอนามัยโลก (WHO) ทีราคายา
                            ่                                                 ่
        ไมควรเกิน 1 เทาของ GDP ของประเทศนั้น

        * ผูประสานงานโครงการรวมระหวาง ฝายรณรงคเขาถึงยาจําเปน องคการหมอไรพรมแดน และ
          แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ จุฬา
        1 เจาหนาที่ของรัฐที่มีคาตอบแทนตอวันตํ่าที่สุด ประมาณวันละ 211.5 บาท




                               แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                                                                                        15
Rate of use of Efavirenz 600 mg.
     bottles
                CL
50,000
                                             UC Scheme
40,000

30,000

20,000

10,000
                                                                                                 Month
      0
           Jul06
          Sep06
          Nov06
          Jan07
          Mar07
          May07
           Jul07
          Sep07
          Nov07
          Jan08
          Mar08
          May08
           Jul08
          Sep08
          Nov08
          Jan09
          Mar09
          May09
           Jul09
          Sep09
          Nov09
          Jan10
          Mar10
          May10
           Jul10
          Sep10
          Nov10
          Jan11
          Mar11
                     ภาพที่ 1 อัตราการใชยาเอฟฟาไวเรนซ ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ



                        Rate of use of Lopinavir/Ritonavir (200/50mg)
     bottles
                      CL
20,000
18,000
                                             UC Scheme
16,000
14,000
12,000
10,000
 8,000
 6,000
 4,000
 2,000                                                                                           Month
     0
           Jul06
          Sep06
          Nov06
          Jan07
          Mar07
          May07
           Jul07
          Sep07
          Nov07
          Jan08
          Mar08
          May08
           Jul08
          Sep08
          Nov08
          Jan09
          Mar09
          May09
           Jul09
          Sep09
          Nov09
          Jan10
          Mar10
          May10
           Jul10
          Sep10
          Nov10
          Jan11
          Mar11




               ภาพที่ 2 อัตราการใชยาโลพินาเวียร/ริโทรนาเวียร ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ




16     รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
Rate of use of Efavirenz 600 mg.
     bottles
25,000
                    CL
                                                                     SSO Scheme
20,000

15,000

10,000

 5,000
                                                                                                                                                                 Month
        0
          Jul06
         Sep06
         Nov06
         Jan07
         Mar07
         May07
          Jul07
         Sep07
         Nov07
         Jan08
         Mar08
         May08
          Jul08
         Sep08
         Nov08
         Jan09
         Mar09
         May09
          Jul09
         Sep09
         Nov09
         Jan10
         Mar10
         May10
          Jul10
         Sep10
         Nov10
         Jan11
         Mar11
                                        ภาพที่ 3 อัตราการใชยาเอฟฟาไวเรนซ ในระบบประกันสังคม


                            Rate of use of Lopinavir/Ritonavir (200/50mg)
    bottles
6,000
                        CL                                         SSO Scheme
5,000

4,000

3,000

2,000

1,000

    0                                                                                                                                                        Month
        Jul06
                Oct06
                        Jan07
                                Apr07
                                         Jul07
                                                 Oct07
                                                         Jan08
                                                                 Apr08
                                                                         Jul08
                                                                                 Oct08
                                                                                         Jan09
                                                                                                 Apr09
                                                                                                         Jul09
                                                                                                                 Oct09
                                                                                                                         Jan10
                                                                                                                                 Apr10
                                                                                                                                         Jul10
                                                                                                                                                 Oct10
                                                                                                                                                         Jan11




                            ภาพที่ 4 อัตราการใชยาโลพินาเวียร/ริโทรนาเวียร ในระบบประกันสังคม



                                                                                 แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                                                                                                                                                                     17
ยาที่ ร าคาแพงมากส ว นใหญ เ ป น ยาที่ ติ ด   สาธารณสุขและการเขาถึงยาของประชาชน ไดทาให   ํ
สิทธิบัตร ยาติดสิทธิบัตรสวนใหญมีราคาตอหนวย         ผูปวยเขาถึงยาเพิ่มมากขึ้นอยางมีนัยสําคัญ (ตาม
สูงเกินกวาสิบเทาของคาครองชีพตอวัน และมีแนวโนม     แผนภาพ 1 – 4 : การเขาถึงยาตานไวรัส Efavirenz
วายาใหมทขนทะเบียนจะเปนยาทีตดสิทธิบตรจํานวน
            ี่ ึ้                ่ ิ     ั             และ Lopinavir/Ritonavir นับตังแตการประกาศบังคับ
                                                                                    ้
มากขึ้นเรื่อยๆ                                         ใชสทธิ ณ มีนาคม 2554) ทามกลางแรงกดดันจาก
                                                            ิ
        ถึงแมวาระบบสิทธิบัตรจะมีประโยชน เพื่อ       รัฐบาลประเทศพัฒนาแลว และอุตสาหกรรมยา
เสริมสรางนวัตกรรม แตดวยอํานาจผูกขาดซึงมีระยะ
                                          ่           ขามชาติ อยางไรก็ตาม ปจจัยที่จะใหประชาชน
เวลาถึง 20 ปในปจจุบัน การไดสิทธิบัตรจึงควรมี        เขาถึงยาถวนหนาไมสามารถดําเนินการไดทั้งหมด
คุณภาพมากพอใหสมกับการไดสทธิผกขาดนัน เพราะ
                              ิ ู        ้             เพียงการประกาศบังคับใชสิทธิเพียงลําพัง
ดวยระบบสิทธิบัตรกอใหเกิดการผูกขาด การขาย                        มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา (มสพ.),
การวิจัยตอยอด ทําใหผูผลิตยาชื่อสามัญไมสามารถ       มูลนิธเขาถึงเอดส, มูลนิธศนยคมครองสิทธิดานเอดส,
                                                              ิ                     ิ ู ุ             
ผลิตยาเขามาแขงขันได บริษัทยาตนแบบจึงมีอิสระ        มูลนิธเพือผูบริโภค, เครือขายผูตดเชือเอชไอวี/เอดส
                                                                ิ ่                        ิ ้
ในการกําหนดราคายาเต็มที่ จากงานวิจยพบวา หาก
                                      ั                ประเทศไทย, แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ
                                                                                            
มียาชือสามัญเขามาแขงขันเมือใด จะทําใหยาตนแบบ
      ่                     ่                          (คคส.), แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบ
ตองลดราคาลงเพื่อแขงขันกับยาชื่อสามัญ โดยลด           ยา (กพย.) และแผนงานเภสัชศาสตรเพือสรางเสริม  ่
จากราคาเดิมกอนมีการแขงขันถึง 10 เทา                 สุขภาพ (คภ.สสส.) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวม
       การตัดสินใจใชมาตรการบังคับใชสิทธิของ          กับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.),
กระทรวงสาธารณสุ ข ต อ ยาช ว ยชี วิ ต 7 ตั ว ที่ มี   องคการเภสัชกรรม, องคการหมอไรพรมแดน –
สวนสําคัญในการรักษาผูตดเชือเอชไอวี/เอดส, อาการ
                       ิ ้                            เบลเยียม (ประเทศไทย) และ อ็อกซแฟม (Oxfam)
                                                                 ่
ลิมเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งซึงเปนไปตามสิทธิตาม
  ่                         ่                          สหราชอาณาจักร ไดรวมกับนําเสนอยุทธศาสตรเพือ
                                                                                                                 ่
ทีกฎหมายบัญญัตไวในมาตรา 51 แหง พ.ร.บ.สิทธิบตร
    ่           ิ                             ั        การเขาถึงยา ตั้งแตเดือนตุลาคม 2550 จนนําไปสู
พ.ศ.2522 และเปนการปฏิบัติตามขอตกลง TRIPs             มติ ข องสมั ช ชาสุ ข ภาพแห ง ชาติ ค รั้ ง ที่ 1 ว า ด ว ย
ขององคการการคาโลกและปฏิญญาโดฮา (Doha                 ยุทธศาสตรการเขาถึงยาถวนหนาของประชากรไทย
Declaration on TRIPs and Public Health) ที่            เมือธันวาคม 2551 และปจจุบนยุทธศาสตรดงกลาว
                                                          ่                             ั                ั
กําหนดใหประเทศสมาชิกมีสิทธิที่จะคุมครองระบบ          เป น ส ว นหนึ่ ง ของนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยาและ




 18     รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
ยุทธศาสตรยอยที่ 3 การสงเสริมราคายาในประเทศ
                    ใหสอดคลองกับคาครองชีพของประชาชน
กลยุทธ
        1. กําหนดใหมีการควบคุมราคายาตามกฎหมาย
        2. กําหนดใหมีการแสดงโครงสรางราคายาเพื่อประกอบการตั้งราคายาสําหรับยาที่มีสิทธิบัตร
        3. ควบคุมการตั้งราคายาที่ขายใหกับผูบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน
        4. พิจารณาใชขอยืดหยุนทางการคาตามความตกลงวาดวยการคาเกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสินทางปญญา
(The agreement on Trade – Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPs) ซึ่งเปนไปตาม
หลักสากลเพื่อใหประชาชนเขาถึงยา
        5. กําหนดรายการยาทีประชาชนมีปญหาในการเขาไมถง และกําหนดหลักเกณฑการสงเสริมใหเกิดการ
                             ่                           ึ
เขาถึงยาดังกลาว
        หนวยงานรับผิดชอบหลัก
        (1) กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย             (2) กระทรวงสาธารณสุข
        (3) สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ         (4) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง
        (5) สํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน
           ยุทธศาสตรยอยที่ 4 การใชประโยชนและ/หรือลดอุปสรรค
               ของขอกําหนดทางกฎหมายเพื่อใหเกิดการเขาถึงยา
กลยุทธ
       1. การจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศ ตองไมผูกพันประเทศเกินไปกวาความตกลงวาดวยสิทธิใน
ทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวของกับการคา
       2. รณรงคเพือทําความเขาใจกับประชาชนและผูกาหนดนโยบายเกียวกับการเจรจาการคาและการคุมครอง
                   ่                              ํ             ่                       
ทรัพยสินทางปญญา โดยใชรายงานของคณะผูเชี่ยวชาญจากองคการอนามัยโลก(WHO) สํานักงานโครงการ
พัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) องคการประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา(UNCTAD) และ
                                                             
องคการการคาโลก(WTO)
       3. จัดทําและปรับปรุงฐานขอมูลสิทธิบัตรในรหัสสิทธิบัตรสากล A61K ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ใหสามารถสืบคนไดงาย รวดเร็ว ครบถวน เพื่อใหทราบสถานะสิทธิบัตรและเอื้อตอการผลิตยาชื่อสามัญ
(generic drug)
       4. แกไขกฎหมายสิทธิบัตร เพื่อใหเกิดความเปนธรรม
       5. ยกเลิกภาษีการนําเขายาเฉพาะยาชวยชีวิต ยากําพรา และตัวยาสําคัญออกฤทธิ์ที่นํามาผลิตยา
ในบัญชียาหลักแหงชาติ
       6. พัฒนาชองทางการสือสารดานขอตกลงทรัพยสนทางปญญาฯกับผูปวย ผูปฏิบตงาน และบุคคล/หนวย
                              ่                      ิ                ั ิ
งานที่เกี่ยวของ
      หนวยงานรับผิดชอบหลัก
      (1) กระทรวงสาธารณสุข                         (2) กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย
      (3) กระทรวงการคลัง                           (4) กระทรวงเกษตรและสหกรณ
      (5) กระทรวงตางประเทศ


                                              แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.)
                                                                                                19
เนื้อหาที่มีลักษณะการใหความคุมครองที่เกินไปกวาทริปส
                               หรือทริปสพลัสนั้น ประกอบดวย
        การผูกขาดขอมูลยา (Data Exclusivity) ที่จะกีดกันไมใหรัฐบาลใชขอมูลทดลองทางคลินิค (clinical
trial) เพื่ อ ขึ้ น ทะเบี ย นยาให กั บ ยาชื่ อ สามั ญ แม ว  า ยานั้ น จะไม ไ ด จ ดสิ ท ธิ บั ต รในประเทศนั้ น หรื อ สิ ท ธิ บั ต ร
หมดอายุ ล งหรื อ ถู ก เพิ ก ถอน ทั้ ง นี้ ยั ง จะทํ า ให ก ารนํ า มาตรการใช สิ ท ธิ ต ามสิ ท ธิ บั ต ร (ซี แ อล) เกิ ด ความ
ยุงยากและไมไดผล
        การขยายอายุสิทธิบัตร (Patent Term Extensions) ซึ่งจะทําใหสิทธิบัตรมีอายุเกินกวา 20 ป
        การเพิมกรอบการคุมครองสิทธิบตร (Increasing Patent Scope) ทีทาใหรฐบาลตองยอมใหมการผูกขาด
                  ่                             ั                                           ่ ํ ั                     ี
ตลาดอีก 20 ป ยาที่มีสิทธิบัตรอยูเดิมจะสามารถจดสิทธิบัตรใหมเพิ่มเติมไดถานําไปใชรักษาแบบใหมหรือผลิต
ออกมาในรูปแบบใหม ดวยวิธีการนี้ ยาที่จะขอจดสิทธิบัตรทํานองนี้จะมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางมหาศาล การกระทํา
เชนนี้เทากับเปนการอนุญาตใหยาเหลานั้นผูกขาดตลาดไดยาวนานเพิ่มขึ้นอีกเปนสิบปหรือยาวนานกวานั้น เพียง
แตดัดแปลงสูตรยาหรือกระบวนการผลิตเล็กนอย
        ไมใหมการคัดคานคําขอรับสิทธิบตรกอนการออกสิทธิบตร โดยปกติคาขอรับสิทธิบตร จะประกาศใหผอน
                    ี                              ั                       ั                    ํ            ั                     ู ื่
ยืนคัดคานกอนได ถาเห็นวาสิทธิบตรนีไมถกตอง แตขอเรียกรองนีคอ การไมยอมใหมการตรวจสอบจากสาธารณะ
   ่                                    ั ้ ู                               ้ ื                       ี
กอนการออกสิทธิบัตร เมื่อไดรับสิทธิบัตรก็ไดรับประโยชนผูกขาดตลาดอยางสมบูรณแลว กวากระบวนการเพิก
ถอนหรือคัดคานหลังการออกสิทธิบัตรจะทําไดตองใชเวลาในชั้นศาลเปนปๆ ซึ่งจะเปนการเพิ่มคาการจัดการและ
ภาระทางศาลทรัพยสินทางปญญา
        การเชื่อมโยงสถานะสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนยา (Patent Linkage) ที่กีดกันไมใหยาชื่อสามัญดําเนิน
การลวงหนาเพื่อทําวิจัยและเตรียมขึ้นทะเบียนยาไดทันทีที่สิทธิบัตรของยาตนฉบับหมดอายุลง มาตรการเชนนี้
เปนการประวิงเวลาทําใหมียาชื่อสามัญในตลาดไดชาลง แมวาจะมีการนํามาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตรมาให หรือ
สิทธิบัตรหมดอายุลงแลวหรือถูกเพิกถอนก็ตาม
        ข อ จํ า กั ด ในการใช ม าตรการใช สิ ท ธิ ต ามสิ ท ธิ บั ต ร (Restrictions on Compulsory Licenses)
ซึ่งจะจํากัดสิทธิที่ทุกประเทศพึงมีในการนํามาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตรมาใชเพื่อสรางความมั่นใจวาประชาชนจะ
เขาถึงยาไดทุกคน แมวาสิทธินี้จะถูกยืนยันซํ้าในปฏิญญาและสนธิสัญญาหลายฉบับก็ตาม
        ขอจํากัดในเรื่องการนําเขาคูขนาน (Restrictions on Parallel Imports) ที่จะทําใหการนําเขายาที่จด
สิทธิบัตรในประเทศอื่นแตมีราคาถูกกวาไมสามารถกระทําได
        กฎเกณฑวาดวยการลงทุน (Investment Rules) ซึงจะอนุญาตใหบริษทตางชาติดาเนินคดีกบรัฐบาลโดย
                                                                        ่                        ั        ํ        ั
อาศัยกลไกอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศถาผลประโยชนของบริษัทเหลานั้นถูกกระทบกระเทือนจากนโยบาย
ดานสุขภาพภายในประเทศที่รัฐบาลนํามาใช เชน มาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตร มาตรการคุมครองสาธารณสุขที่
ระบุไวในกฎหมายสิทธิบตร มาตรการควบคุมราคายา นอกจากนี้ มาตรการนียงอาจกีดกันไมใหรฐบาลสงเสริมการ
                             ั                                                              ้ ั                  ั
ผลิตภายในประเทศอีกดวย
        มาตรการชายแดน (Border Measures) ที่ จ ะทํ า ให ผู  ป  ว ยในประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาไม ส ามารถ
เขาไมถึงยาได เพราะเจาหนาที่ศุลกากรจะมีอํานาจยึดจับยาชื่อสามัญที่นําเขาหรืออยูระหวางขนสงเพียงตองสงสัย
วาละเมิดทรัพยสินทางปญญา
        การจํากัดการออกคําสั่งศาล (Injuctions) ซึ่งจะเปนการลดอํานาจศาลของประเทศกําลังพัฒนาลง และ
ทําใหศาลไมสามารถตัดสินคดีโดยคํานึงถึงเรื่องสุขภาพของผูปวยมากอนกําไรบรรษัทขามชาติได
        มาตรการบั ง คั บ ใช ก ฎหมายทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาอื่ น ๆ (Other IP Enforcement Measures)
ที่จะทําใหบุคคลที่เกี่ยวของ เชน ผูใหการรักษา ตองเสี่ยงถูกตํารวจจับหรือถูกดําเนินคดีในศาล และยังรวมไปถึง
บุคคลที่เกี่ยวของในระบบหวงโซอุปสงคและการจัดสงยาชื่อสามัญทั้งหมด นับตั้งแตการผลิต การกระจาย
และจัดสงสินคา อาจถูกฟองดําเนินคดีดวย



 20      รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report
2011 drug system_report

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Vorawut Wongumpornpinit
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015Vorawut Wongumpornpinit
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยUtai Sukviwatsirikul
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษtaem
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...Vorawut Wongumpornpinit
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016some163
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.Pongsa Pongsathorn
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)สุริยา ชื่นวิเศษ
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...nawaporn khamseanwong
 
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทยTAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทยtaem
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 

La actualidad más candente (20)

Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
Guidance on Cannabis for Medical Use คำแนะนำการใช้กัญชาทางการแพทย์ ฉบับปรับปร...
 
National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015National policy and guidelines for human research 2015
National policy and guidelines for human research 2015
 
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้ายุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
ยุทธศาสตร์ระบบยา ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า
 
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทยทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
ทิศทางของระบบยาในระบบประกันสุขภาพไทย
 
จริยธรรม
จริยธรรมจริยธรรม
จริยธรรม
 
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษการแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
การแพทย์ฉุกเฉินในสถานการณ์พิเศษ
 
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
คู่มือแนวทางการพัฒนาแบบแปลนยาแผนโบราณ 2560 Development guideline for traditio...
 
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue  2016
ยุทธศาสตร์ Pharmacy issue 2016
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ.
 
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาลแนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
แนวทางการพัฒนาจริยธรรมของพยาบาล
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี... Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์ โรงพยาบาลชลประทาน มหาวิทยาลัยศรี...
 
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทยTAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
TAEM11: ความก้าวหน้าของสาธารณสุขไทย
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบรูณ์ โครงการการจัดทาข้อเสนอร้านยาคณุภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 

Similar a 2011 drug system_report

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfpraphan khunti
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆTuanthon Boonlue
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Wila Khongcheema
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพweeraboon wisartsakul
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyUtai Sukviwatsirikul
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 

Similar a 2011 drug system_report (20)

Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdfการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา.pdf
 
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02Adrsystemic 140821082625-phpapp02
Adrsystemic 140821082625-phpapp02
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
ความท้าทาย...นโยบายหลักประกันสุขภาพ
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsyClinical Practice Guidelines for epilepsy
Clinical Practice Guidelines for epilepsy
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการรักษาวัณโรคในผู้ใหญ่ พ.ศ. 2555
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 

Más de Surang Judistprasert

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Surang Judistprasert
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategySurang Judistprasert
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation managementSurang Judistprasert
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารSurang Judistprasert
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ PseudoephedrineSurang Judistprasert
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementSurang Judistprasert
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมSurang Judistprasert
 

Más de Surang Judistprasert (19)

Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
Application of biopharmaceutics classification system in formulation developm...
 
7 qcdoe
7 qcdoe7 qcdoe
7 qcdoe
 
Quality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategyQuality by design vs control strategy
Quality by design vs control strategy
 
Introduction to innovation management
Introduction to innovation managementIntroduction to innovation management
Introduction to innovation management
 
Culture of-quality
Culture of-qualityCulture of-quality
Culture of-quality
 
Import be 5 55
Import be 5 55Import be 5 55
Import be 5 55
 
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ประกาศกระทรวง ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrineความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
ความเห็นคณะกฤษฎีกา กรณ๊ ประกาศ Pseudoephedrine
 
TFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvementTFDA : Omeprazole quality improvement
TFDA : Omeprazole quality improvement
 
Program roadmap14 final
Program roadmap14 finalProgram roadmap14 final
Program roadmap14 final
 
Soft gelatin capsule
Soft gelatin capsuleSoft gelatin capsule
Soft gelatin capsule
 
Ketoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxicKetoconazole and hepatotoxic
Ketoconazole and hepatotoxic
 
News 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tabletsNews 2011 Pseudo/tripro tablets
News 2011 Pseudo/tripro tablets
 
TQM & Pharma industry
TQM & Pharma industryTQM & Pharma industry
TQM & Pharma industry
 
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรมจรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
จรรยาบรรณวิชาชีพเภสัชกรรม
 
IVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage formIVIVC topical dosage form
IVIVC topical dosage form
 
Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.Bioequivalence in adv.
Bioequivalence in adv.
 
Basic bioequivalence
Basic bioequivalenceBasic bioequivalence
Basic bioequivalence
 

2011 drug system_report

  • 1. รายงาน รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554: ความเปลี่ยนแปลงของสถานการณระบบยา (2552-2554) สถานการณระบบยา ประจําป 2554 ความเปลี่ยนแปลงของ สถานการณระบบยา (2552-2554) แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0-218-8452 โทรสาร 0-2254-5191 E-mail : spr.chula@gmail.com Website: www.thaidrugwatch.org www.facebook.com/thaidrugwatch
  • 2. ขอมูลทางบรรณานุกรม รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554./แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา พิมพครั้งที่ 1. ตุลาคม 2554 —กรุงเทพ: แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา สนับสนุนโดยสํานักงานกองทุนการสรางเสริมสุขภาพ (สสส.) ที่ปรึกษา : นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี บรรณาธิการ : ยุพดี ศิริสินสุข ISBN 978-616-551-423-1 ปกและรูปเลม : http://khunnaipui.multiply.com ภาพประกอบ : http://www.stockfreeimages.com จัดพิมพและเผยแพร : แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) คณะเภสัชศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงวังใหม เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 โทรศัพท 0-218-8452 โทรสาร 0-2254-5191 E-mail : spr.chula@gmail.com Website: www.thaidrugwatch.org www.facebook.com/thaidrugwatch พิมพที่ : อุษาการพิมพ ถนนราชปรารภ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทรศัพท 02-251-5815, 02-252-0448 จํานวนพิมพ : 3,000 เลม
  • 3. รายงาน สถานการณระบบยา ประจําป 2554 ความเปลี่ยนแปลงของ สถานการณระบบยา (2552-2554)
  • 4.
  • 5. คํานิยม ป ญหาการใชยาอยางไมสมเหตุผล เปนปญหาใหญทั่วโลก เพราะอิทธิพลของธุรกิจยาและ ความออนแอของระบบจรรยาบรรณวิชาชีพประกอบกัน องคการอนามัยโลกมีหนวยงานทีมหนาทีแกปญหานีคอ แผนงานสงเสริมการใชยาอยางมีเหตุผล ่ ี ่  ้ ื (Rational Use of Drug: RUD) แตแผนงานนี้ก็ถูก “บอนไซ” ใหออนแอ เพื่อมิใหไป “ขวางทาง” ผลประโยชนของธุรกิจยา ประเทศไทยมีระบบการคลังสาธารณสุขที่ใชระบบเหมาจายรายหัวกับประชากรกวารอยละ 90 คือระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ และระบบประกันสังคม ซึ่งควรมีผลสําคัญใหมีการใชยา อยางสมเหตุสมผลไดมาก เพราะสถานพยาบาลจําเปนตองควบคุมคาใชจาย แตปญหาการใชยา อยางไมสมเหตุสมผลก็ยังคงเปนปญหาใหญ โดยเฉพาะกับระบบสวัสดิการขาราชการ ซึ่งใชระบบ การจายตามรายการการใหบริการ ซึ่งเปนรูโหวใหญของระบบบริการสาธารณสุขของประเทศ นายินดีที่มีความพยายามแกปญหานี้ทั้งในภาครัฐและองคกรพัฒนาเอกชนมาอยางตอเนื่อง เปนเวลารวมสี่ทศวรรษแลว ไดแก เรื่อง นโยบายแหงชาติดานยา บัญชียาหลักแหงชาติ การผลักดัน การใชยาตามชื่อสามัญ การรณรงคขจัดยาชุด โดยการดําเนินงานของทั้งบุคลากรในภาครัฐ และกลุม ศึกษาปญหายา (กศย.) ตลอดจนองคกรอื่นที่แตกแขนงทํางานนี้มาอยางไมทอถอย “แผนงาน สรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา(กพย.)” ก็เปนสวนหนึ่งของขบวนการรณรงคเพื่อการใชยา อยางเหมาะสม แผนงานดังกลาวนี้สามารถผนึกกําลังของผูสนใจ และ “มีไฟ” มาทํางานนี้อยางเปน ระบบ ดวยความหวังวาจะสามารถทวนกระแส “ทุนนิยมสามานย” ใหปรับตัวเปนทุนนิยมทีมหวใจของ ่ ี ั ความเปนมนุษยไดบาง รายงานสถานการณระบบยาฉบับนี้ คือบันทึกของทั้งสถานการณและผลของความพยายาม ที่ควรแก การชื่นชมและใหกําลังใจ นายแพทยวิชัย โชควิวัฒน รองประธานคณะกรรมการกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ คนที่ 2
  • 6. คํานํา ร ายงานสถานการณระบบยาประจําป 2554 ฉบับนี้ เปนผลพวงทีเกิดขึนจากการรวมกันขับเคลือน ่ ้ ของภาคีเครือขาย หนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบโดยตรง และแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและ พัฒนาระบบยา (กพย.) เพือเสนอสถานการณเปลียนแปลงทีเกิดขึนในภาพรวมของระบบยาหรือวงจรยา ่ ่ ่ ้ ่ ในชวงป พ.ศ. 2552-2554 โดยสะทอนปญหาควบคูกับการการพัฒนาทุกดานของระบบยา ไดแก สถานการณทเกียวของกับการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยา การคัดเลือกยา การจัดหายา การกระจายยา ี่ ่  และการใชยา ตั้งแตระดับนโยบาย ระดับภูมิภาค ระดับสถานพยาบาล และระดับชุมชน ประจวบกับป 2554 มีเหตุการณสําคัญเกิดขึ้นหลายเรื่อง เชน เปนวาระครบรอบ 30 ปของ การประกาศใช “นโยบายแหงชาติดานยา และบัญชียาหลักแหงชาติ พ.ศ.2524” (ฉบับแรกของ ประเทศไทย) โดย นพ.เสม พริงพวงแกว ผูยนหยัดเพือสังคมครบหนึงศตวรรษ เมือวันที่ 31 พฤษภาคม ้ ื ่ ่ ่ 2554, วาระครบรอบ 36 ปของกลุมศึกษาปญหายา (กศย.), การดํารงอยูของระบบหลักประกัน สุขภาพถวนหนาควบคูกับการจัดหายาจําเปนที่ใชสิทธิตามสิทธิบัตร (CL), การขับเคลื่อนยุทธศาสตร การเขาถึงยา/การเตรียมการยุตการสงเสริมการขายยาทีไรจริยธรรมโดยภาคประชาสังคมตามมติสมัชชา ิ ่ สุขภาพแหงชาติ รวมทั้งการประกาศใช “นโยบายแหงชาติดานยา (ฉบับที่ 3) และแผนยุทธศาสตร การพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2554-2559” นโยบายและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยา เปนความสําคัญลําดับแรกหรือเปนธงนํา ในการพัฒนาระบบยา ทั้งนี้ ตองมีองคกรรับผิดชอบที่มีศักยภาพเขมแข็ง มีระบบบริหารจัดการที่มี ธรรมาภิบาล มีระบบเฝาระวัง/เตือนภัยทุกแงมุมในระบบยาที่ไวตอสถานการณ รวมทั้งมีกําลังคนและ งบประมาณสนับสนุนที่พอเพียง รายงานผลสําเร็จในปนี้เปนเพียงกาวแรก ยังตองการความรวมมือ รวมใจจากทุกฝาย ทุกองคกร ทุกภาคีเครือขายในการรวมกันสรางระบบยาของประชาชนตอไป จนกวา จะบรรลุเปาหมาย การเปลี่ยนแปลงในวงจรยา เริ่มจากการแกปญหาที่ตนนํ้า คือ การคัดเลือกยาเขาประเทศ โดยเรงพัฒนาระบบการทบทวนทะเบียนตํารับยา การจัดหายาจําเปนราคาแพงเพื่อคนไทยของ สํานักงานหลักประกันสุขภาพและองคการเภสัชกรรม นับวาเปนอีกความสําเร็จที่จะทําใหคนไทย เขาถึงยาอยางเสมอภาค และทายที่สุด ความพยายามของคนเล็กคนนอยในการ รวมกันสราง “ระบบ ยาของชุมชน” ที่เหมาะสมกับชุมชน ผศ.ภญ.สําลี ใจดี ประธานคณะกรรมการกํากับทิศทางแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา 1 ตุลาคม 2554
  • 7. สาสนจาก กพย. อ งคประกอบที่สําคัญที่ทําใหระบบใดๆ ยังคงดํารงอยูไดอยางมีสมดุลนั้น ตองมีกลไกสะทอนกลับ ‘feedback mechanism’ เพื่อใหไดผลลัพธที่พึงประสงค ความหมายของระบบยาตามที่ แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ไดกาหนดไว คือ การมีนโยบายยาเปนธงนํา ประกอบดวย 3 โครงสรางหลัก คือ องคประกอบกลุมที่ 1 ํ  การบริหารจัดการระบบยา ประกอบดวย การวิจัยพัฒนา การคัดเลือก จัดหา กระจาย และการใชยา องคประกอบกลุมที่ 2 การพัฒนาระบบบริหารจัดการระดับโครงสรางกลาง ไดแก การควบคุม บังคับใช ธรรมาภิบาลและจริยธรรม การเงินการคลัง กําลังคนดานสุขภาพ และขอมูลสารสนเทศ องคประกอบกลุมที่ 3 คือ ระบบและกลไกเฝาระวังระบบยา เปนกลไกสะทอนกลับ ซึ่งสิ่งเหลานี้ ยังมีความจําเปนตองการการศึกษา จัดการความรู เพือจัดทําขอเสนอพัฒนาระบบและกลไกตรวจสอบ ่ เฝาระวังอยางเกาะติดตอเนื่อง ในวาระที่ กพย. ไดทําหนาที่เฝาระวังและพัฒนาระบบยามาเปนระยะเวลาครบ 3 ป ไดมี ความพยายามอยางมากในการรวมกันสรางความเขมแข็งของเครือขายใหทําหนาที่เปนกลไกเฝาระวัง ระบบยา เพิ่มเติมจากภาครัฐที่ทํามาแลว เพื่อเปนการเสริมแรงแข็งขัน และในขณะเดียวกันก็รวมกัน ขับเคลื่อนนโยบายที่สําคัญๆ จํานวนหนึ่ง แตหนาที่มิไดจบแคนั้น การทําหนาที่เฝาระวังยังเปนกลไก สําคัญทีตองทําตลอดชีวต ทุกภาคสวนตองรวมกันทําหนาที่ ทังภาครัฐ ในฐานะผูปฏิบตการ ภาควิชาการ ่  ิ ้  ั ิ ภาคประชาสังคม รวมทั้งสื่อ ที่หลังจากเฝาระวัง จะตองสงสัญญาณเตือนภัย เมื่อเห็นปญหา นโยบาย อีกจํานวนมากยังตองการการขับเคลือน ทังนโยบายทียงไมมมากอน การแกไขนโยบายหรือการดําเนินงาน ่ ้ ่ั ี ทียงไมครบถวน ไมถกตอง ในขณะเดียวกัน ก็ตองมีขบวนการเฝาระวังนโยบายตาง ๆ ทีรฐดําเนินการ ่ ั ู  ่ั อยู และรวมถึงที่ภาคเอกชนตองรวมดวย ซึ่งภาคเอกชนคงปฏิเสธภาระหนาที่ไมไดในการคํานึงถึง ประโยชนที่ประเทศไทย และคนไทยพึงไดรับโดยรวม มิใชเพื่อประโยชนสวนตนเทานั้น หวังวา รายงานฉบับนี้จะเปนกระจกสะทอนสถานการณระบบยาใหผูที่เกี่ยวของทุกฝาย พึงตระหนักถึงภารกิจ ใหเกิดการเรียนรู และวางนโยบายในการปรับปรุง ทบทวนซํ้า เปนวงจร การพัฒนาอยางตอเนือง ใหเกิดผลลัพธทดแกประเทศตอไป เปรียบเสมือนเปนผลทีไดมาจากการบํารุง ่ ี่ ี ่ ที่รากสูลําตน และกิ่ง กาน ใบ ดอก ผศ.ภญ.ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผูจัดการแผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา
  • 8. ย า ยร ะบบย เ ลือก โยบา ก า รคัด น ะดับ งร ะดับ งร น แปล น แปล เปลี่ย าร เปลี่ย การ ก สารบัญ การเปลี่ยนแปลงระดับนโยบายระบบยา 9 การเปลี่ยนแปลงระดับการคัดเลือกยา 25 การขับเคลื่อนนโยบายการพัฒนาระบบยา 10 การพัฒนารูปแบบการทบทวน 26 ของประเทศไทย ทะเบียนตํารับยาและการนําไปสูการปฏิบัติ การเขาถึงยาของประชาชนไทย : 15 บทเรียนอดีต ปจจุบัน สําหรับอนาคต การเปลี่ยนแปลงระดับการจัดหายา 31 ขบวนการขับเคลื่อนการใชยาปฏิชีวนะที่เหมาะสม 22 นวัตกรรมการจัดหายา 32 สูนโยบายระดับประเทศและระดับนานาชาติ เพื่อการเขาถึงยาของประชาชน Single window ระบบแจงเตือนภัย ฐานขอมูล 39 ความปลอดภัยผลิตภัณฑ (ดานยา) VMI : นวัตกรรมการพัฒนาการบริหารคลังยา 44
  • 9. ยา ัด หาย ระ จาย ใชยา การจ การก การ งร ะดับ ะดับ งร ะดับ ล ล งร ล ลี่ย นแป นแป ี่ยนแ ป เป ลี่ย ล การ การ เป ก ารเป การเปลี่ยนแปลงระดับการกระจายยา 51 การเปลี่ยนแปลงระดับการใชยา 79 การพัฒนารูปแบบการเฝาระวัง 52 การขับเคลื่อนในระดับสถานพยาบาล 80 การใชยาสเตียรอยดที่ ไมเหมาะสม เขต 5 เพื่อการใชยาที่เหมาะสม : กรณีศึกษา การจัดการสเตียรอยด 58 เครือขายคณะกรรมการเภสัชกรรมและการบําบัด โดยเครือขายชุมชนจังหวัดศรีสะเกษ ระบบฐานขอมูลยา 89 การจัดการปญหายาไมเหมาะสมในชุมชน : 63 เพื่อการใชยาที่เหมาะสมของประชาชน กรณีศึกษาจังหวัดยโสธร การขับเคลื่อนภาคประชาชนดานยา : 94 การจัดการปญหายาไมเหมาะสมในชุมชุน : 68 กรณีชื่อสามัญทางยา กรณีศึกษาอําเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี รูจัก “ยา” เขาใจใช ไปสูงานสุขภาพชุมชน 96 การคุมครองผูบริโภคในรานยา : นวัตกรรมและ 72 สื่อศิลปะกับการรณรงคแกไขปญหา 101 ความสําเร็จ กรณีโครงการผูบริโภคปลอดภัย เชื้อแบคทีเรียดื้อยาปฏิชีวนะ เภสัชกรไทยไมแขวนปาย 10 จังหวัดนํารอง เปดมานกพย. 107
  • 10.
  • 12. การขับเคลื่อนนโยบาย การพัฒนาระบบยาของประเทศไทย นพ.ศิริวัฒน ทิพยธราดล* 1. ความเปนมาของการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยา สิ ทธิดานสุขภาพเปนสิทธิพนฐานของมนุษยชาติ ยาจึงมีบทบาทสําคัญตอคุณภาพ  ่ ื้ การรักษาเพือปองกันและแกไขปญหาสุขภาพ ปญหายาตังแตการเขาไมถึงยา ้ ยาราคาแพง ความไมเชือมันในคุณภาพยา การใชยาเกินจําเปน รวมทังอิทธิพลของ ่ ่ ้ การสงเสริมการขายยา การโฆษณา การขายตรง และโฆษณาแฝง ปญหายามีความ เชื่อมโยงกันอยางซับซอน เกี่ยวของกับหนวยงานหลากหลายทั้งรัฐและเอกชน ใน และนอกประเทศ จึงจําเปนตองมีการพัฒนานโยบายแหงชาติดานยาใหทนสมัย โดย  ั กําหนดเปาหมายและทิศทางในการทํางานรวมกันของหนวยราชการ ภาคเอกชน และภาคประชาชน เพื่อจัดการกับปญหาใหเกิดการพัฒนาระบบยาอยางตอเนื่อง ทันกับบริบทและสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป * ประธานคณะทํางานรางนโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ 10 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
  • 13. 1.1 นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2524 1.2 นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2536 ประเทศไทยประกาศใช น โยบายแห ง ชาติ นโยบายแหงชาติดานยาไดมีการปรับปรุงอีก ดานยาฉบับแรกเมื่อป พ.ศ.2524 มีสาระสําคัญ คือ ครังเมือวันที่ 4 พฤษภาคม 2536 “นโยบายแหงชาติ ้ ่ นโยบายยาหลักแหงชาติและการพึ่งตนเองดานยา ดานยา” (ฉบับที่สอง) มีสาระสําคัญไมตางกัน แตมี โดยจัดใหมยาปลอดภัย มีคณภาพดี ในราคาพอสมควร ี ุ การแกไขบางสวนใหเหมาะสมกับสถานการณ อาทิ กระจายอยางทัวถึง โดยเฉพาะยาสําหรับสาธารณสุข ่ การสงเสริมและสนับสนุนการใชยาตามบัญชียาหลัก มูลฐาน รวมถึงการปรับปรุงวิธการดานการจัดหาและ ี แหงชาติ การคุมครองผูบริโภคดานยา การขยาย การกระจายยา การใชยาอยางสมเหตุผล ตลอดจน นโยบายจากเดิ ม ที่ ร ะบุ เ พี ย งยาแผนโบราณ ให สนั บ สนุ น การผลิ ต ยาภายในประเทศของภาครั ฐ ครอบคลุ ม สมุ น ไพร ยาสมุ น ไพร รวมทั้ ง ผนวก และภาคเอกชน การขับเคลื่อนนโยบายสูการปฏิบัติ การสงเสริมการใชยาจากสมุนไพรไวดวย ในชวงเวลาดังกลาวเปนไปอยางเขมแข็งโดยการ สนับสนุนของรัฐมนตรีวาการกระทรวงสาธารณสุข 1.3 กฎหมายที่เกี่ยวของกับการพัฒนา ในสมัยนั้น (นพ.เสม พริ้งพวงแกว) ผลงานสําคัญ นโยบายแหงชาติดานยาและการพัฒนาระบบยา คือการประกาศใชบญชียาหลักแหงชาติฉบับแรกของ ั การพั ฒ นาระบบยาที่ ผ  า นมาประสบ ประเทศในป 2524 และนําไปสูการปฏิบัติโดยใช ปญหาความไมตอเนื่อง เนื่องจากการปรับเปลี่ยน “ระเบียบกระทรวงสาธารณสุขวาดวยการซื้อยาดวย คณะรัฐมนตรี ทําใหคณะกรรมการแหงชาติดานยา เงินงบประมาณของหนวยราชการในสังกัดกระทรวง ที่แตงตั้งตามมติคณะรัฐมนตรีหมดวาระ สงผลให สาธารณสุข พ.ศ.2524” นับเปนกลไกสําคัญในการ การดําเนินนโยบายแหงชาติดานยา การจัดทําบัญชี นําไปสูการปฏิบัติของกระทรวงสาธารณสุข ควบคู ยาหลักแหงชาติหยุดชะงัก ดังนั้น รัฐบาลจึงไดออก กับการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล การจัดทํา ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยคณะกรรมการ วารสารผูสั่งใชยา การตรึงราคายาจากการรวมศูนย พัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2551 เพื่อใหคณะ จัดซื้ อของบางหน วยงาน ซึ่ งตอมาได พัฒนาเปน กรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ เปนองคกรหลัก ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวยการพัสดุ พ.ศ. ในการกํากับ ดูแล และขับเคลื่อนนโยบายแหงชาติ 2535 ซึ่งกําหนดใหหนวยงานรัฐทุกแหงจัดซื้อยาใน ด า นยาและพั ฒ นาระบบยา แทนคณะกรรมการ บัญชียาหลักแหงชาติตามราคากลางยา ตามสัดสวน แหงชาติดานยาที่แตงตั้งตามมติคณะรัฐมนตรี วงเงินงบประมาณที่กําหนด รวมทั้งไดจัดทําแผน คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ มี พัฒนาการสาธารณสุข ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจ อํานาจหนาทีสาคัญคือ (1) กําหนดนโยบายแหงชาติ ่ ํ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 5 (2525 – 2529) ทีเนน ่ ดานยาและแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหง ใหมี (1) แผนงานพัฒนายาแหงชาติ ประกอบดวย ชาติเสนอตอคณะรัฐมนตรีเพือพิจารณาใหความเห็น ่ 3 โครงการ คือ โครงการผลิตยา โครงการจัดหา ชอบ และมอบหมายหนวยงานทีเกียวของดําเนินการ ่ ่ กระจายยา โครงการวิจัยยาและสมุนไพร (2) แผน ตามอํานาจหนาที่ (2) ติดตาม ประเมินผลการปฏิบติ ั งานสาธารณสุขมูลฐาน การจัดหายาทีจาเปนสําหรับ ่ํ งานตามนโยบายฯ และแผนยุทธศาสตรฯ ตลอดจน ชาวบาน (3) แผนงานคุมครองผูบริโภคดานอาหาร อํ า นวยการ แก ไ ขป ญ หาจากการปฏิ บั ติ ง านของ ยา เครื่องสําอาง และวัตถุมีพิษ หนวยงานตางๆ (3) จัดทําบัญชียาหลักแหงชาติและ กําหนดราคากลางยาในการจัดซือของหนวยงานของ ้ รัฐ (4) การสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผล เปนตน แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) 11
  • 14. นอกจากนั้น กฎกระทรวง แบงสวนราชการ เปนกลไกหลักในการจัดทําแผนปฏิบตการทีสอดคลอง ั ิ ่ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวง กับยุทธศาสตรฯ แบบมีสวนรวม แตเนืองจากในชวง  ่ สาธารณสุข พ.ศ.2552 ซึ่งตราขึ้นใหม ไดกําหนด เวลาดังกลาว ยังไมมีคณะกรรมการพัฒนาระบบยา อํานาจหนาที่ใหเอื้อตอการพัฒนาระบบยาแหงชาติ แหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการสุขภาพแหงชาติ ตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีฯ ไวอยางชัดเจน จึงมีคําสั่งที่ 12/2552 แตงตั้งคณะกรรมการยกราง ในขอ 2 (8) วา สํานักงานฯ มีอานาจหนาที่ “ปฏิบติ ํ ั แผนปฏิบตการตามยุทธศาสตรการเขาถึงยาถวนหนา ั ิ การอืนใดตามทีกฎหมายกําหนดใหเปนอํานาจหนาที่ ่ ่ ของประชากรไทย ซึงคณะกรรมการฯ ไดดาเนินการ ่ ํ ของสํานักงานหรือตามทีรฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรี ่ั ยกรางแผนปฏิบัติการจนเสร็จสิ้นแลวเสนอไปยัง มอบหมาย” และในขอ 14 (3) ระบุอํานาจหนาที่ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ สํานักยาวามีอํานาจหนาที่ “สนับสนุนขอมูลองค ต อ มาคณะรั ฐ มนตรี ไ ด มี ม ติ เ มื่ อ วั น ที่ 20 ความรูในการกําหนดยุทธศาสตรพฒนาระบบยาและ  ั กรกฎาคม 2553 เห็นชอบมติสมัชชาสุขภาพแหง นโยบายแหงชาติดานยา รวมทังสนับสนุนการพัฒนา  ้ ชาติ ครั้งที่ 2 เรื่อง ยุติการสงเสริมการขายยาที่ขาด ระบบยาตามยุทธศาสตรที่กําหนด” สงผลใหการ จริยธรรม: เพื่อลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และ พัฒนาระบบยาและนโยบายแหงชาติดานยาเปน สุขภาพของผูปวย และการพัฒนาการแพทยแผนไทย   หนึงในหนาทีรบผิดชอบของสํานักยา สํานักงานคณะ ่ ่ั การแพทยพื้นบานและการแพทยทางเลือกใหเปน กรรมการอาหารและยา อยางเปนทางการ ระบบบริการสุขภาพหลักของประเทศคูขนานกับการ  แพทยแผนปจจุบัน โดยมอบหมายคณะกรรมการ 1.4 ความเชื่อมโยงกับสมัชชาสุขภาพ พัฒนาระบบยาแหงชาติจดตังคณะทํางานเพือพัฒนา ั ้ ่ แหงชาติ เกณฑจริยธรรมวาดวยการสงเสริมการขายยาใหแลว ในป พ.ศ.2550 ไดมีการตราพระราชบัญญัติ เสร็จภายใน 1 ป และปรับปรุงยาไทยและยาจาก สุ ข ภาพแห ง ชาติ พ.ศ.2550 เพื่ อ วางกรอบและ สมุนไพรเขาในบัญชียาหลักแหงชาติ แนวทางในการกําหนดนโยบาย ยุทธศาสตรและ การดําเนินงานดานสุขภาพของประเทศ และบัญญัติ ใหมีการจัดสมัชชาสุขภาพแหงชาติ ในการประชุม 2. นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ. สมัชชาฯ ครั้งที่ 1 ไดมีมติรับรองยุทธศาสตรการ 2554 เขาถึงยาถวนหนาของประชากรไทย ซึงคณะรัฐมนตรี ่ เนื่ อ งจากนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยาไม ไ ด ไดมีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 9 มิถุนายน 2552 และ ปรับปรุงมาเปนเวลานาน 16 ป จึงไมเหมาะสม มอบหมายคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ กับบริบทของประเทศที่เปลี่ยนแปลงไป และคณะ 12 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
  • 15. กรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติไดรับมอบหมาย ติดตามประเมินผล โดยการมีสวนรวมของหนวยงาน  ตามมติคณะรัฐมนตรีใหดาเนินการทีเกียวของกับมติ ํ ่ ่ ของรัฐที่กําหนดไวในแตละยุทธศาสตรยอยๆ สมัชชาสุขภาพแหงชาติ ดังนั้น เพื่อใหมีการพัฒนา นโยบายแหงชาติดานยา พ.ศ.2554 และ ระบบยาในภาพรวมทั้งระบบ คณะกรรมการพัฒนา แผนยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ. ระบบยาแหงชาติดานยาในการประชุมครังที่ 1/2553  ้ 2555 – 2559 เปนแผน 5 ป มีสาระสําคัญดังนี้ เมื่อวันที่ 2 กันยายน 2553 ไดมีมติเห็นชอบตอราง นโยบายและยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ วิสัยทัศน ประชาชนเขาถึงยาถวนหนา ใชยา เพื่อเสนอตอคณะรัฐมนตรีใหความเห็นชอบเพื่อใช มีเหตุผล ประเทศพึ่งตนเอง แทนนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยา พ.ศ.2536 ทั้ ง นี้ เป า ประสงค เพื่ อ ให ป ระชาชนได รั บ การ คณะกรรมการฯไดผนวกยุทธศาสตรตามมติสมัชชา ปองกันและแกไขปญหาสุขภาพที่ไดมาตรฐาน โดย สุขภาพแหงชาติ พ.ศ.2551 และ 2552 ที่เกี่ยวของ การประกันคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิผล รวมเขาไวในยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ของยา การสรางเสริมระบบการใชยาอยางสมเหตุผล คณะรัฐมนตรีไดมีมติเมื่อวันที่ 14 มีนาคม การสงเสริมการเขาถึงยาจําเปนใหเปนไปอยางเสมอ 2554 เห็นชอบตอนโยบายแหงชาติดานยา และแผน  ภาค ยังยืน ทันการณ การสรางกลไกการเฝาระวังที่ ่ ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ ตามทีเสนอ่ มีประสิทธิภาพ และอุตสาหกรรมยามีการพัฒนาจน และมอบหมายคณะกรรมการฯ เปนเจาภาพหลักใน ประเทศสามารถพึ่งพาตนเองได การกําหนดแผนงาน เปาหมาย ตัวชี้วัด และกลไก แผนยุทธศาสตรฯ ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร ซึ่งเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน ดังนี้ ยุทธศาสตรและวัตถุประสงค ยุทธศาสตรยอย 1. การประสานความรวมมือเครือขายเพื่อการเขาถึงยา ดานที่ 1 การเขาถึงยา 2. การสนับสนุนการรวมกลุมของผูปวย ประชาชนเขาถึงยาจําเปน เพื่อการเขาถึงยาและสรางเสริมสุขภาพ อยางเสมอภาค ทั่วถึง และทันการณ 3. การสงเสริมใหราคายาสอดคลองกับคาครองชีพ ในราคาที่เหมาะสม 4. การใชประโยชนหรือลดอุปสรรคของขอกําหนดทางกฎหมาย เพื่อการเขาถึงยา 1. การพัฒนาระบบและกลไกการกํากับดูแล เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล 2. การพัฒนาระบบการผลิตและพัฒนากําลังคนดานสุขภาพ ดานที่ 2 3. พัฒนากลไกและเครื่องมือ เพื่อใหเกิดการใชยาอยางสมเหตุผล การใชยาอยางสมเหตุผล 4. การสรางความเขมแข็งภาคประชาชนดานการใชยาอยางสมเหตุผล บุคลากรทางการแพทยและประชาชน 5. การสงเสริมการผลิตและประกันคุณภาพยาชื่อสามัญ ใชยาอยางสมเหตุผล คุมคา 6. การพัฒนาระบบและกลไกปองกันและแกปญหา จากการใชยาตานจุลชีพและการดื้อยาของเชื้อกอโรค 7. การสงเสริมจริยธรรมผูสั่งใชยาและยุติการสงเสริมการขายยา ที่ขาดจริยธรรม แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) 13
  • 16. ยุทธศาสตรและวัตถุประสงค ยุทธศาสตรยอย 1. การพัฒนากฎระเบียบใหเกิดการลงทุน และการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ ดานที่ 3 2. การสงเสริมการวิจัยพัฒนา และนวัตกรรมตอยอด การพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยา ในอุตสาหกรรมยา อุตสาหกรรมยา ชีววัตถุ และสมุนไพร มีศักยภาพเพียงพอ 3. การสรางทรัพยากรเพื่อสงเสริมภาคการผลิต ในการพึ่งตนเองของประเทศ ของอุตสาหกรรมยาในประเทศ 4. การสรางความเชื่อมั่นและประกันคุณภาพยา ที่ผลิตในประเทศแกผูสั่งใชยาและประชาชน ดานที่ 4 1. การพัฒนาศักยภาพระบบการควบคุมยาใหมประสิทธิภาพ ี การพัฒนาระบบการควบคุมยา โปรงใส ตามหลักธรรมาภิบาล การประกันคุณภาพ ประสิทธิผล 2. การพัฒนาระบบการเฝาระวังยาหลังออกสูตลาด และความปลอดภัยของยา และระบบการเตือนภัยดานยา โดยพัฒนาศักยภาพระบบ การควบคุมยาของประเทศ 3. การทบทวนทะเบียนตํารับยาที่มีผลกระทบสูง คณะกรรมการฯ ไดมการประชุมครังที่ 1/2554 ี ้ ที่สําคัญ คือ ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีวาดวย เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2554 กําหนดแนวทางการ คณะกรรมการพัฒนาระบบยาแหงชาติ พ.ศ.2551 จัดทําแผนปฏิบตการตามแผนยุทธศาสตรฯ โดยมอบ ั ิ พระราชบัญญัติสุขภาพแหงชาติ และกฎกระทรวง หมายคณะอนุกรรมการฯที่คณะกรรมการฯ แตงตั้ง แบงสวนราชการสํานักงานคณะกรรมการอาหารและ ทัง 4 คณะ ไดแก คณะอนุกรรมการพัฒนานโยบาย ้ ยา กระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2552 ซึงเปนรากฐาน ่ และยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ คณะ สําคัญตอการพัฒนาอยางตอเนื่องในอนาคต อนุกรรมการสงเสริมการใชยาอยางสมเหตุผลคณะ การพัฒนานโยบายแหงชาติดานยาและแผน อนุ ก รรมการพั ฒ นาบั ญ ชี ย าหลั ก แห ง ชาติ และ ยุทธศาสตรการพัฒนาระบบยาแหงชาติ อยางมี คณะอนุกรรมการพิจารณากําหนดราคากลางยา รับไป สวนรวม จะสงผลใหมกรอบและทิศทางการดําเนินงาน ี ดําเนินการ ใหแลวเสร็จภายใน 3 เดือน กอนนํามา รวมกันในการแกไขปญหาของหลายหนวยงานดวย เปดรับฟงความคิดเห็น เสนอคณะกรรมการฯ ตอไป ความเขาใจและเต็มใจ กระบวนการพัฒนานโยบาย และแผนยุทธศาสตรจงเปนหัวใจสําคัญในการพัฒนา ึ 3. บทเรียนและขอเสนอแนะ ระบบยา นอกจากนั้น การสรางความเขมแข็งของ ตอการขับเคลื่อนนโยบาย สํานักงานเลขานุการของคณะกรรมการฯ นับเปน เรื่ อ งที่ท า ท า ย ให ส ามารถสร า งความร ว มมือ กับ การพัฒนาระบบยา ทุกภาคสวน อยางเทาทันกับสถานการณ ตลอดจน การพัฒนาระบบยาอยางตอเนื่องและยั่งยืน การสนับสนุนองคความรูที่สําคัญในการขับเคลื่อน จําเปนตองดําเนินการอยางตอเนื่อง และมีองคกร นโยบายและยุทธศาสตรสูการปฏิบัติ ทีรบผิดชอบโดยตรงทีมศกยภาพในการประสานการ ่ั ่ ี ั พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร ตลอดจน การติดตาม ประเมินผล ที่ผานมาไดมีการริเริ่มพัฒนากฎหมาย 14 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
  • 17. การเขาถึงยาของประชาชนไทย : บทเรียนอดีต ปจจุบน สําหรับอนาคต ั กรรณิการ กิจติเวชกุล* ย าในประเทศไทยมีราคาแพงมาก จากการศึกษาขององคการอนามัยโลกเพือ เปรียบเทียบราคายาของประเทศตางๆ พบวา ในประเทศไทยนัน “การรักษา ้ อาการฉุกเฉินและโรคเรื้อรังสวนใหญ เจาหนาที่ของรัฐที่มีคาตอบแทนตอวันตํ่า ่ ที่สุด จําเปนตองทํางานมากกวา 1 วัน1 เพื่อนําเงินคาตอบแทนมาใชเปนคายา กรณีตองการยาชือสามัญ แตหากตองการยาตนแบบจําเปนตองทํางานมากทีสด  ่ ่ ุ ถึง 5 วันจึงจะมีเงินเพียงพอมาเปนคาใชจาย สวนคายารักษาโรคเอชไอวี/เอดส สําหรับ 1 เดือน จําเปนตองทํางานถึง 24 วัน และตองทํางาน 0.4 – 12 วันตอเดือน เพื่อจะจายเปนคารักษาโรคความดันโลหิตสูง ขออักเสบ และแผลในกระเพาะ อาหารสําหรับ 1 เดือน” ซึ่งโดยเฉลี่ยยาตนแบบจะมีราคาแพงกวายาชื่อสามัญ ทีถกทีสดประมาณ 3.9 เทา โดยเฉพาะยาทีตดสิทธิบตรจะมีราคาแพงประมาณ ่ ู ่ ุ ่ ิ ั 3 เทาของ GDP ซึงเกินกวาขอแนะนําขององคการอนามัยโลก (WHO) ทีราคายา ่ ่ ไมควรเกิน 1 เทาของ GDP ของประเทศนั้น * ผูประสานงานโครงการรวมระหวาง ฝายรณรงคเขาถึงยาจําเปน องคการหมอไรพรมแดน และ แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ จุฬา 1 เจาหนาที่ของรัฐที่มีคาตอบแทนตอวันตํ่าที่สุด ประมาณวันละ 211.5 บาท แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) 15
  • 18. Rate of use of Efavirenz 600 mg. bottles CL 50,000 UC Scheme 40,000 30,000 20,000 10,000 Month 0 Jul06 Sep06 Nov06 Jan07 Mar07 May07 Jul07 Sep07 Nov07 Jan08 Mar08 May08 Jul08 Sep08 Nov08 Jan09 Mar09 May09 Jul09 Sep09 Nov09 Jan10 Mar10 May10 Jul10 Sep10 Nov10 Jan11 Mar11 ภาพที่ 1 อัตราการใชยาเอฟฟาไวเรนซ ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ Rate of use of Lopinavir/Ritonavir (200/50mg) bottles CL 20,000 18,000 UC Scheme 16,000 14,000 12,000 10,000 8,000 6,000 4,000 2,000 Month 0 Jul06 Sep06 Nov06 Jan07 Mar07 May07 Jul07 Sep07 Nov07 Jan08 Mar08 May08 Jul08 Sep08 Nov08 Jan09 Mar09 May09 Jul09 Sep09 Nov09 Jan10 Mar10 May10 Jul10 Sep10 Nov10 Jan11 Mar11 ภาพที่ 2 อัตราการใชยาโลพินาเวียร/ริโทรนาเวียร ในระบบหลักประกันสุขภาพแหงชาติ 16 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
  • 19. Rate of use of Efavirenz 600 mg. bottles 25,000 CL SSO Scheme 20,000 15,000 10,000 5,000 Month 0 Jul06 Sep06 Nov06 Jan07 Mar07 May07 Jul07 Sep07 Nov07 Jan08 Mar08 May08 Jul08 Sep08 Nov08 Jan09 Mar09 May09 Jul09 Sep09 Nov09 Jan10 Mar10 May10 Jul10 Sep10 Nov10 Jan11 Mar11 ภาพที่ 3 อัตราการใชยาเอฟฟาไวเรนซ ในระบบประกันสังคม Rate of use of Lopinavir/Ritonavir (200/50mg) bottles 6,000 CL SSO Scheme 5,000 4,000 3,000 2,000 1,000 0 Month Jul06 Oct06 Jan07 Apr07 Jul07 Oct07 Jan08 Apr08 Jul08 Oct08 Jan09 Apr09 Jul09 Oct09 Jan10 Apr10 Jul10 Oct10 Jan11 ภาพที่ 4 อัตราการใชยาโลพินาเวียร/ริโทรนาเวียร ในระบบประกันสังคม แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) 17
  • 20. ยาที่ ร าคาแพงมากส ว นใหญ เ ป น ยาที่ ติ ด สาธารณสุขและการเขาถึงยาของประชาชน ไดทาให ํ สิทธิบัตร ยาติดสิทธิบัตรสวนใหญมีราคาตอหนวย ผูปวยเขาถึงยาเพิ่มมากขึ้นอยางมีนัยสําคัญ (ตาม สูงเกินกวาสิบเทาของคาครองชีพตอวัน และมีแนวโนม แผนภาพ 1 – 4 : การเขาถึงยาตานไวรัส Efavirenz วายาใหมทขนทะเบียนจะเปนยาทีตดสิทธิบตรจํานวน ี่ ึ้ ่ ิ ั และ Lopinavir/Ritonavir นับตังแตการประกาศบังคับ ้ มากขึ้นเรื่อยๆ ใชสทธิ ณ มีนาคม 2554) ทามกลางแรงกดดันจาก ิ ถึงแมวาระบบสิทธิบัตรจะมีประโยชน เพื่อ รัฐบาลประเทศพัฒนาแลว และอุตสาหกรรมยา เสริมสรางนวัตกรรม แตดวยอํานาจผูกขาดซึงมีระยะ  ่ ขามชาติ อยางไรก็ตาม ปจจัยที่จะใหประชาชน เวลาถึง 20 ปในปจจุบัน การไดสิทธิบัตรจึงควรมี เขาถึงยาถวนหนาไมสามารถดําเนินการไดทั้งหมด คุณภาพมากพอใหสมกับการไดสทธิผกขาดนัน เพราะ ิ ู ้ เพียงการประกาศบังคับใชสิทธิเพียงลําพัง ดวยระบบสิทธิบัตรกอใหเกิดการผูกขาด การขาย มูลนิธิสาธารณสุขกับการพัฒนา (มสพ.), การวิจัยตอยอด ทําใหผูผลิตยาชื่อสามัญไมสามารถ มูลนิธเขาถึงเอดส, มูลนิธศนยคมครองสิทธิดานเอดส, ิ ิ ู ุ  ผลิตยาเขามาแขงขันได บริษัทยาตนแบบจึงมีอิสระ มูลนิธเพือผูบริโภค, เครือขายผูตดเชือเอชไอวี/เอดส ิ ่   ิ ้ ในการกําหนดราคายาเต็มที่ จากงานวิจยพบวา หาก ั ประเทศไทย, แผนงานคุมครองผูบริโภคดานสุขภาพ   มียาชือสามัญเขามาแขงขันเมือใด จะทําใหยาตนแบบ ่ ่ (คคส.), แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบ ตองลดราคาลงเพื่อแขงขันกับยาชื่อสามัญ โดยลด ยา (กพย.) และแผนงานเภสัชศาสตรเพือสรางเสริม ่ จากราคาเดิมกอนมีการแขงขันถึง 10 เทา สุขภาพ (คภ.สสส.) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวม การตัดสินใจใชมาตรการบังคับใชสิทธิของ กับสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (สปสช.), กระทรวงสาธารณสุ ข ต อ ยาช ว ยชี วิ ต 7 ตั ว ที่ มี องคการเภสัชกรรม, องคการหมอไรพรมแดน – สวนสําคัญในการรักษาผูตดเชือเอชไอวี/เอดส, อาการ  ิ ้ เบลเยียม (ประเทศไทย) และ อ็อกซแฟม (Oxfam) ่ ลิมเลือดหัวใจ และโรคมะเร็งซึงเปนไปตามสิทธิตาม ่ ่ สหราชอาณาจักร ไดรวมกับนําเสนอยุทธศาสตรเพือ  ่ ทีกฎหมายบัญญัตไวในมาตรา 51 แหง พ.ร.บ.สิทธิบตร ่ ิ ั การเขาถึงยา ตั้งแตเดือนตุลาคม 2550 จนนําไปสู พ.ศ.2522 และเปนการปฏิบัติตามขอตกลง TRIPs มติ ข องสมั ช ชาสุ ข ภาพแห ง ชาติ ค รั้ ง ที่ 1 ว า ด ว ย ขององคการการคาโลกและปฏิญญาโดฮา (Doha ยุทธศาสตรการเขาถึงยาถวนหนาของประชากรไทย Declaration on TRIPs and Public Health) ที่ เมือธันวาคม 2551 และปจจุบนยุทธศาสตรดงกลาว ่ ั ั กําหนดใหประเทศสมาชิกมีสิทธิที่จะคุมครองระบบ เป น ส ว นหนึ่ ง ของนโยบายแห ง ชาติ ด  า นยาและ 18 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554
  • 21. ยุทธศาสตรยอยที่ 3 การสงเสริมราคายาในประเทศ ใหสอดคลองกับคาครองชีพของประชาชน กลยุทธ 1. กําหนดใหมีการควบคุมราคายาตามกฎหมาย 2. กําหนดใหมีการแสดงโครงสรางราคายาเพื่อประกอบการตั้งราคายาสําหรับยาที่มีสิทธิบัตร 3. ควบคุมการตั้งราคายาที่ขายใหกับผูบริโภคในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน 4. พิจารณาใชขอยืดหยุนทางการคาตามความตกลงวาดวยการคาเกี่ยวกับสิทธิในทรัพยสินทางปญญา (The agreement on Trade – Related Aspects of Intellectual Property Rights; TRIPs) ซึ่งเปนไปตาม หลักสากลเพื่อใหประชาชนเขาถึงยา 5. กําหนดรายการยาทีประชาชนมีปญหาในการเขาไมถง และกําหนดหลักเกณฑการสงเสริมใหเกิดการ ่  ึ เขาถึงยาดังกลาว หนวยงานรับผิดชอบหลัก (1) กรมการคาภายใน กระทรวงพาณิชย (2) กระทรวงสาธารณสุข (3) สํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ (4) กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง (5) สํานักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ยุทธศาสตรยอยที่ 4 การใชประโยชนและ/หรือลดอุปสรรค ของขอกําหนดทางกฎหมายเพื่อใหเกิดการเขาถึงยา กลยุทธ 1. การจัดทําหนังสือสัญญาระหวางประเทศ ตองไมผูกพันประเทศเกินไปกวาความตกลงวาดวยสิทธิใน ทรัพยสินทางปญญาที่เกี่ยวของกับการคา 2. รณรงคเพือทําความเขาใจกับประชาชนและผูกาหนดนโยบายเกียวกับการเจรจาการคาและการคุมครอง ่  ํ ่  ทรัพยสินทางปญญา โดยใชรายงานของคณะผูเชี่ยวชาญจากองคการอนามัยโลก(WHO) สํานักงานโครงการ พัฒนาแหงสหประชาชาติ (UNDP) องคการประชุมสหประชาชาติวาดวยการคาและการพัฒนา(UNCTAD) และ  องคการการคาโลก(WTO) 3. จัดทําและปรับปรุงฐานขอมูลสิทธิบัตรในรหัสสิทธิบัตรสากล A61K ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ใหสามารถสืบคนไดงาย รวดเร็ว ครบถวน เพื่อใหทราบสถานะสิทธิบัตรและเอื้อตอการผลิตยาชื่อสามัญ (generic drug) 4. แกไขกฎหมายสิทธิบัตร เพื่อใหเกิดความเปนธรรม 5. ยกเลิกภาษีการนําเขายาเฉพาะยาชวยชีวิต ยากําพรา และตัวยาสําคัญออกฤทธิ์ที่นํามาผลิตยา ในบัญชียาหลักแหงชาติ 6. พัฒนาชองทางการสือสารดานขอตกลงทรัพยสนทางปญญาฯกับผูปวย ผูปฏิบตงาน และบุคคล/หนวย ่ ิ    ั ิ งานที่เกี่ยวของ หนวยงานรับผิดชอบหลัก (1) กระทรวงสาธารณสุข (2) กรมทรัพยสินทางปญญา กระทรวงพาณิชย (3) กระทรวงการคลัง (4) กระทรวงเกษตรและสหกรณ (5) กระทรวงตางประเทศ แผนงานสรางกลไกเฝาระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) 19
  • 22. เนื้อหาที่มีลักษณะการใหความคุมครองที่เกินไปกวาทริปส หรือทริปสพลัสนั้น ประกอบดวย การผูกขาดขอมูลยา (Data Exclusivity) ที่จะกีดกันไมใหรัฐบาลใชขอมูลทดลองทางคลินิค (clinical trial) เพื่ อ ขึ้ น ทะเบี ย นยาให กั บ ยาชื่ อ สามั ญ แม ว  า ยานั้ น จะไม ไ ด จ ดสิ ท ธิ บั ต รในประเทศนั้ น หรื อ สิ ท ธิ บั ต ร หมดอายุ ล งหรื อ ถู ก เพิ ก ถอน ทั้ ง นี้ ยั ง จะทํ า ให ก ารนํ า มาตรการใช สิ ท ธิ ต ามสิ ท ธิ บั ต ร (ซี แ อล) เกิ ด ความ ยุงยากและไมไดผล การขยายอายุสิทธิบัตร (Patent Term Extensions) ซึ่งจะทําใหสิทธิบัตรมีอายุเกินกวา 20 ป การเพิมกรอบการคุมครองสิทธิบตร (Increasing Patent Scope) ทีทาใหรฐบาลตองยอมใหมการผูกขาด ่  ั ่ ํ ั ี ตลาดอีก 20 ป ยาที่มีสิทธิบัตรอยูเดิมจะสามารถจดสิทธิบัตรใหมเพิ่มเติมไดถานําไปใชรักษาแบบใหมหรือผลิต ออกมาในรูปแบบใหม ดวยวิธีการนี้ ยาที่จะขอจดสิทธิบัตรทํานองนี้จะมีจํานวนเพิ่มขึ้นอยางมหาศาล การกระทํา เชนนี้เทากับเปนการอนุญาตใหยาเหลานั้นผูกขาดตลาดไดยาวนานเพิ่มขึ้นอีกเปนสิบปหรือยาวนานกวานั้น เพียง แตดัดแปลงสูตรยาหรือกระบวนการผลิตเล็กนอย ไมใหมการคัดคานคําขอรับสิทธิบตรกอนการออกสิทธิบตร โดยปกติคาขอรับสิทธิบตร จะประกาศใหผอน ี ั ั ํ ั ู ื่ ยืนคัดคานกอนได ถาเห็นวาสิทธิบตรนีไมถกตอง แตขอเรียกรองนีคอ การไมยอมใหมการตรวจสอบจากสาธารณะ ่ ั ้ ู  ้ ื ี กอนการออกสิทธิบัตร เมื่อไดรับสิทธิบัตรก็ไดรับประโยชนผูกขาดตลาดอยางสมบูรณแลว กวากระบวนการเพิก ถอนหรือคัดคานหลังการออกสิทธิบัตรจะทําไดตองใชเวลาในชั้นศาลเปนปๆ ซึ่งจะเปนการเพิ่มคาการจัดการและ ภาระทางศาลทรัพยสินทางปญญา การเชื่อมโยงสถานะสิทธิบัตรกับการขึ้นทะเบียนยา (Patent Linkage) ที่กีดกันไมใหยาชื่อสามัญดําเนิน การลวงหนาเพื่อทําวิจัยและเตรียมขึ้นทะเบียนยาไดทันทีที่สิทธิบัตรของยาตนฉบับหมดอายุลง มาตรการเชนนี้ เปนการประวิงเวลาทําใหมียาชื่อสามัญในตลาดไดชาลง แมวาจะมีการนํามาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตรมาให หรือ สิทธิบัตรหมดอายุลงแลวหรือถูกเพิกถอนก็ตาม ข อ จํ า กั ด ในการใช ม าตรการใช สิ ท ธิ ต ามสิ ท ธิ บั ต ร (Restrictions on Compulsory Licenses) ซึ่งจะจํากัดสิทธิที่ทุกประเทศพึงมีในการนํามาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตรมาใชเพื่อสรางความมั่นใจวาประชาชนจะ เขาถึงยาไดทุกคน แมวาสิทธินี้จะถูกยืนยันซํ้าในปฏิญญาและสนธิสัญญาหลายฉบับก็ตาม ขอจํากัดในเรื่องการนําเขาคูขนาน (Restrictions on Parallel Imports) ที่จะทําใหการนําเขายาที่จด สิทธิบัตรในประเทศอื่นแตมีราคาถูกกวาไมสามารถกระทําได กฎเกณฑวาดวยการลงทุน (Investment Rules) ซึงจะอนุญาตใหบริษทตางชาติดาเนินคดีกบรัฐบาลโดย  ่ ั ํ ั อาศัยกลไกอนุญาโตตุลาการระหวางประเทศถาผลประโยชนของบริษัทเหลานั้นถูกกระทบกระเทือนจากนโยบาย ดานสุขภาพภายในประเทศที่รัฐบาลนํามาใช เชน มาตรการใชสิทธิตามสิทธิบัตร มาตรการคุมครองสาธารณสุขที่ ระบุไวในกฎหมายสิทธิบตร มาตรการควบคุมราคายา นอกจากนี้ มาตรการนียงอาจกีดกันไมใหรฐบาลสงเสริมการ ั ้ ั ั ผลิตภายในประเทศอีกดวย มาตรการชายแดน (Border Measures) ที่ จ ะทํ า ให ผู  ป  ว ยในประเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาไม ส ามารถ เขาไมถึงยาได เพราะเจาหนาที่ศุลกากรจะมีอํานาจยึดจับยาชื่อสามัญที่นําเขาหรืออยูระหวางขนสงเพียงตองสงสัย วาละเมิดทรัพยสินทางปญญา การจํากัดการออกคําสั่งศาล (Injuctions) ซึ่งจะเปนการลดอํานาจศาลของประเทศกําลังพัฒนาลง และ ทําใหศาลไมสามารถตัดสินคดีโดยคํานึงถึงเรื่องสุขภาพของผูปวยมากอนกําไรบรรษัทขามชาติได มาตรการบั ง คั บ ใช ก ฎหมายทรั พ ย สิ น ทางป ญ ญาอื่ น ๆ (Other IP Enforcement Measures) ที่จะทําใหบุคคลที่เกี่ยวของ เชน ผูใหการรักษา ตองเสี่ยงถูกตํารวจจับหรือถูกดําเนินคดีในศาล และยังรวมไปถึง บุคคลที่เกี่ยวของในระบบหวงโซอุปสงคและการจัดสงยาชื่อสามัญทั้งหมด นับตั้งแตการผลิต การกระจาย และจัดสงสินคา อาจถูกฟองดําเนินคดีดวย 20 รายงานสถานการณระบบยา ประจําป 2554