SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 58
Descargar para leer sin conexión
สารบัญ
ประเภทของปุ๋ย
ปุ๋ย หมายถึง สารที่ใส่ลงในดินเพื่อให้ปลดปล่อยธาตุ
อาหารแก่พืช โดยเฉพาะธาตุไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และโพแทสเซียม ช่วยให้พืชเจริญเติบโตงอกงามดีและ
ให้ผลผลิตสูง
ประเภทของปุย
๋
ประเภทของปุ๋ย
โดยทั่วไปปุ๋ยแบ่งออกเป็นสองประเภท คือ ปุ๋ยอินทรีย์
และปุ๋ยวิทยาศาสตร์หรือปุ๋ยเคมี
ประเภทของปุย
๋
ปุ๋ยอินทรีย์
เป็นปุ๋ยธรรมชาติที่ได้จากการเน่าเปื่อยผุพังของ
ซากสิ่งมีชีวิต เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยพืชสด ปุ๋ย
อินทรีย์ชีวภาพ ฯลฯ
ประเภทของปุย
๋
ข้อดีของและข้อเสียปุ๋ยอินทรีย์
1. ช่วยปรับปรุงดินให้ดีขึ้น โดยเฉพาะคุณสมบัติ
ทางกายภาพของดิน เช่น ความโปร่งความร่วนซุย
ความสามารถในการอุ้มน้้า และการปรับสภาพความเป็น
กรดเป็นด่างของดิน
ประเภทของปุย
๋
2. อยู่ในดินได้นานและค่อย ๆ ปลดปล่อยธาตุอาหารพืช
อย่างช้าๆจึงมีโอกาสสูญเสียน้อยกว่าปุ๋ยเคมี
3. เมื่อใส่ร่วมกับปุ๋ยเคมีจะส่งเสริมปุ๋ยเคมีให้เป็นประโยชน์
แก่พืชอย่างมีประสิทธิภาพ
4. ส่งเสริมให้จุลชีพในดินโดยเฉพาะพวกที่มีประโยชน์ต่อ
การบ้ารุงดินให้ท้างานอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ประเภทของปุ๋ย
ปุ๋ยเคมีหรือปุ๋ยวิทยาศาสตร์ เป็นปุ๋ยที่ได้จากการ
ผลิตหรือสังเคราะห์จากแร่ธาตุต่างๆ ซึ่งมีธาตุอาหารหลักที่
จ้าเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
ประเภทของปุ๋ย
ปุ๋ยเคมี มี 2 ประเภทได้แก่ ปุ๋ยเดี่ยวหรือแม่ปุ๋ย และ ปุ๋ยผสม
ประเภทของปุ๋ย
1.ปุ๋ยเดี่ยวหรือแม่ปุ๋ย เป็นสารประกอบที่มีธาตุ
อาหารของพืชอยู่หนึ่งหรือสองธาตุเป็นองค์ประกอบ
และมีปริมาณธาตุอาหารของพืชคงที่ เช่น ปุ๋ยยูเรียและ
ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต
ประเภทของปุ๋ย
2.ปุ๋ยผสม เป็นปุ๋ยที่ได้จากการน้าปุ๋ยเดี่ยวแต่ละ
ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ปุ๋ยผสมที่ได้มีสัดส่วนของธาตุ
อาหาร N ,P, K ตามต้องการ เช่น ปุ๋ย สูตร 18 : 18
ปุ๋ยไนโตรเจน
ปุ๋ยไนโตรเจน
เป็นปุ๋ยเคมีที่ให้ธาตุไนโตรเจนในรูปของสารประกอบ
ชนิดต่างๆ เช่นแอมโมเนียมซัลเฟต แคลเซียมไนเตรต
แอมโมเนียมไนเตรตและยูเรีย
ปุ๋ยไนโตรเจน
การผลิตปุ๋ยแอมโมเนียซัลเฟต
ปฏิกิริยาเคมี เตรียมได้จากปฏิกิริยาเคมีระหว่างก๊าซ
แอมโมเนียกับกรดก้ามะถัน ดังสมการนี้
2NH3 (g) + H2SO4 (aq) 
(s)

(NH4)2SO4
ปุ๋ยไนโตรเจน
การเตรียมปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต อาจเตรียมได้จาก
ปฏิกิริยาเคมีระหว่าง แอมโมเนียม คาร์บอเนต
(NH4)2CO3 กับ ยิปซัม (CaSO4) ดังนี้
(NH4)2CO3 + CaSO4   (NH4)2SO4 (s)+
CaCO3 (s)
ปุ๋ยไนโตรเจน
การเตรียมวัตถุดิบที่ใช้เป็นสารตั้งต้นในการเตรียมปุ๋ย
แอมโมเนียมซัลเฟต
การเตรียมก๊าซแอมโมเนีย โดยกระบวนการฮาเบอร์
เตรียมจากก๊าซ N2 และ H2
ปุ๋ยไนโตรเจน
ท้าปฏิกิริยากันโดยใช้ความดันสูงและอุณหภูมิต่้า และ
เติมตัวเร่งปฏิกิริยา แต่ในอุตสาหกรรมใช้อุณหภูมิ
5000C สูงปานกลางเพื่อจะเกิด NH3 เร็วขึ้น
ดังสมการ
N2 (g) + 3H2 (g)  2NH3 (g) + 92 kJ
ปุ๋ยไนโตรเจน
ก๊าซไนโตรเจนเตรียมได้จากการใช้อากาศเหลวมากลั่นล้าดับ
ส่วน
ก๊าซไนโตรเจนมีจุดเดือดต่้ากว่าก๊าซออกซิเจน จึงแยกก๊าซ
ออกซิเจนออกมาก่อน ส่วนก๊าซไนโตรเจนจะถูกแยก
ออกมาทีหลัง
ปุ๋ยไนโตรเจน
ก๊าซไฮโดรเจนเตรียมจากก๊าซออกซิเจนที่แยกออกมาจาก
อากาศเหลว ท้าปฏิกิริยากับก๊าซมีเทนที่มีมากในก๊าซ
ธรรมชาติ ดังสมการ
2CH4 (g) + O2 (g)  2CO (g) + 4H2 (g)
ปุ๋ยไนโตรเจน
หรืออาจจะใช้ไอน้้าท้าปฏิกิริยากับก๊าซมีเทน ดังสมการ
CH4 (g) + H2O (g)  2CO (g) + 4H2 (g)
น้าก๊าซผสม (CO + H2) ไปท้าปฏิกิริยากับก๊าซมีเทนต่อ
ดังนี้
ปุ๋ยไนโตรเจน
CO (g) + H2O (g)  CO2 (g)

+ H2

จากนั้นผ่านก๊าซ CO2 (g) และ H2 ลงในน้้าจะได้
H2CO3 ดังสมการ

CO2 + H2O   H2CO3
ปุ๋ยไนโตรเจน
แยกเอาก๊าซ H2 ออกแล้วน้าไปเป็นวัตถุดิบในการ
เตรียมก๊าซ NH3 ต่อไป ส่วนสารละลาย H2CO3
น้าไปลดความดันและเพิ่มอุณหภูมิก็จะได้ก๊าซ CO2
แยกออกมา และน้าไปเตรียมปุ๋ยยูเรียต่อไป
ปุ๋ยไนโตรเจน
การเตรียมกรดก้ามะถัน
สามารถเตรียมกรดก้ามะถันได้โดยอาศัยกระบวนการคอนแทค
(Contact process) โดยเตรียมจากการเผา S กับก๊าซ O2
ในอากาศจะได้ก๊าซ SO2 เผาต่อไปจะได้ก๊าซ SO3 ผ่านก๊าซ
ที่ได้ลงไปใน
กรดก้ามะถันเข้มข้นเกือบบริสุทธิ์ได้ H2S2O7
(โอเลียม) ดังสมการนี้
ปุ๋ยไนโตรเจน
S (s) + O2 (g)  SO2 (g)
2SO2 (g) + 3O2 (g)  2SO3 + 54 kJ
SO3 (g) + H2SO4 (aq)  H2S2O7 (aq)
ปุ๋ยไนโตรเจน
ถ้าต้องการกรดก้ามะถันกลับคืนมา
ให้น้าเอาโอเลียมไปท้าปฏิกิริยากับน้้า
H2SO4 (aq) + H2O (l)  2H2S2O7 (aq)
ปุ๋ยไนโตรเจน
การผลิตปุ๋ยยูเรีย
วัตถุดิบที่ใช้ คือ ก๊าซแอมโมเนีย (NH3) กับก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
(ก๊าซทั้งสองชนิดได้จากกระบวนการเตรียมปุ๋ย แอมโมเนียม
ซัลเฟต)
ปุ๋ยไนโตรเจน
ปฏิกิริยาเคมี
(NH3)

เตรียมจากปฏิกิริยาระหว่างก๊าซแอมโมเนีย

กับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ดังสมการนี้
(l)

2NH3 (g) + CO2 (g)  (NH2)2CO (s) + H2O
ปุ๋ยไนโตรเจน
ปุ๋ยไนโตรเจนทุกชนิดจะให้ธาตุอาหารหลักคือ ธาตุ
ไนโตรเจนซึ่งช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี
มีล้าต้นและใบแข็งแรง สามารถสร้างโปรตีนได้อย่าง
เพียงพอ
ปุ๋ยไนโตรเจน

กลับหน้าหลัก
ปุ๋ยฟอสเฟต
ปุ๋ยฟอสเฟต เป็นปุ๋ยเคมีที่ให้ธาตุฟอสฟอรัสในรูป
ของสารประกอบฟอสเฟต ช่วยสร้างเสริมการเจริญเติบโต
และความแข็งแรงของพืชทั้งส่วนราก ล้าต้น ใบ
ตลอดจนการออกดอกออกผล การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตใน
ปัจจุบันใช้หินฟอสเฟตเป็นวัตถุดิบ
ปุ๋ยฟอสเฟต
หินฟอสเฟตมีอยู่มากในหลายจังหวัด เช่น ร้อยเอ็ด
กาญจนบุรี ล้าพูน เพชรบูรณ์ ราชบุรี เป็นต้น จากแหล่ง
หินดังกล่าวมีฟอสฟอรัสคิดเป็น ปริมานของ P2O5 อยู่ร้อยละ
20 – 40 จึงมีการน้าหินฟอสเฟตที่บดละเอียดแล้วใส่ลงใน
ดินเพื่อใช้เป็นปุ๋ยโดยตรง
ปุ๋ยฟอสเฟต
แต่หินฟอสเฟตละลายน้้าได้น้อยมาก พืชจึงน้า
ฟอสฟอรัสไปใช้ประโยชน์ได้ไม่เกินร้อยละ 5 ของ P2O5 ที่มี
อยู่ ท้าให้ต้องใช้หินฟอสเฟตใน
ปริมานมากซึ่งไม่
คุ้มค่า จึงมีการน้าหินฟอสเฟตมาใช้ผลิตปุ๋ยฟอสเฟต
ปุ๋ยฟอสเฟต
ขั้นตอนในการผลิตปุ๋ยฟอสเฟต
การผลิตปุ๋ยฟอสเฟตเริ่มจากการน้าหินฟอสเฟตมา
ผสมกับทรายและโซดาแอช แล้วเผาที่อุณหภูมิ 1000-1200
◦c ประมาณ 2 ชั่วโมง จะเกิดการเปลี่ยนแปลงดังนี้
2(CaF2. 3Ca3(PO4)2) + 5SiO2 + 6Na2CO3 → 12CaNaPO4
+ 4Ca2SiO4 + SiF4 + 6CO2
ปุ๋ยฟอสเฟต
นอกจากนี้ยังมีการน้าหินฟอสเฟตมาท้าปฏิกิริยากับ
กรดซัลฟิวริก จะท้าให้ได้ปุ๋ยที่มีคุณภาพสูงขึ้น ซึ่งมีขั้นตอน
การผลิตดังนี้
ขั้นที่ 1 น้าหินฟอสเฟต (CaF2. 3Ca3(PO4)2 )ที่บด
แล้วมาท้าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกเข้มข้น 4 - 5 mol /
dm3 จะเกิดปฏิกิริยาอย่างรวดเร็วได้กรดฟอสฟอริก (H3PO4
)ดังนี้
CaF2. 3Ca3(PO4)2 + 10H2SO4 → 6H3PO4 +
10CaSO4 + 2HF
ปุ๋ยฟอสเฟต
ขั้นที่ 2 น้ากรดฟอสฟอริก(H3PO4 ) ที่เกิดขึ้น
ท้าปฏิกิริยากับหินฟอสเฟตที่เหลือปฏิกิริยาในขั้นนี้
เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ต้องเก็บหรือบ่มไว้ประมาน 1
เดือน เพื่อให้ปฏิกิริยาเกิดขึ้นอย่างสมบูรณ์ได้มอนอ
แคลเซียมฟอสเฟต(ปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
Ca(H2PO4)2 ) ดังสมการ
ปุ๋ยฟอสเฟต
CaF2. 3Ca3(PO4)2 + 14H2PO4 →
10 Ca(H2PO4)2
+ 2HF
มอนอแคลเซียมฟอสเฟตหรือปุ๋ยซุปเปอร์ฟอสเฟต
Ca(H2PO4)2 ละลายน้้าได้ดี พืชจึงสามารถน้าไปใช้
ประโยชน์ได้อย่างเต็มที่ ขั้นตอนการผลิตปุ๋ยซุปเปอร์
ฟอสเฟต แสดงได้ดังนี้
ปุ๋ยฟอสเฟต
แสดงขั้นตอนการผลิตปุ๋ยซุปเปอร์ ฟอสเฟต
ปุ๋ยฟอสเฟต
นอกจากนี้ยังสามารถผลิตปุ๋ยฟอสเฟตโดยน้าฟอสเฟต
มาท้าปฏิกิริยากับกรดซัลฟิวริกดังสมการ CaF2. 3Ca3(PO4)2
+ 7 H2SO4 + 3 H2O → 3Ca(H2PO4)2 + 2HF + 7CaSO4
หินฟอสเฟตส่วนมากจะมีทราย (Sio2 ) ปนอยู่ด้วย
แก๊ส HF ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตปุ๋ยบางส่วนจะท้า
ปฏิกิริยากับทรายเกิดแก๊ส SiF4 ซึ่งรวมกับ H2O ได้ทันทีเกิด
เป็น H2SiF6 หรืออาจน้า Sio2
ปุ๋ยฟอสเฟต
มาท้าปฏิกิริยาโดยตรงกับแก๊ส HF ที่เกิดขึ้นเพื่อให้
เกิดเป็น H2SiF6 และเมื่อน้ามาท้าปฏิกิริยาต่อกับ MgO จะได้
แมกนีเซียมซิลิโกฟลูออไรด์ ( MgSiF6 ) ซึ่งใช้เป็นสารก้าจัด
แมลงได้ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเขียนแสดงได้ดังนี้
6HF + Sio2 → H2SiF6 + 2H2O
H2SiF6 + MgO → MgSiF6 + H2O
ปุ๋ยฟอสเฟต
HF ส่วนใหญ่ระเหยกลายเป็นไอ จึงก้าจัดโดยการ
ผ่านแก๊สลงในน้้า ท้าให้ได้สารละลายที่มีสภาพเป็นกรดซึ่ง
ท้าให้เป็นกลางได้โดยท้าปฏิกิริยากับ โซดาแอชหรือหินปูน
เกิดปฏิกิริยาดังนี้
2HF + Na2CO3 → 2NaF + H2O + CO2
2HF + CaCO3 → CaF2 + H2O + CO2
กลับหน้าหลัก
ปุ๋ยโพแทส
ปุ๋ยโพแทส คือ ปุ๋ยเคมีที่มีธาตุโพแทสเซียมเป็น
องค์ประกอบ ปุ๋ยชนิดนี้นิยมบอกความเข้มข้น เป็นค่าร้อย
ละโดยมวลของ K2O ในสมัยก่อนแหล่งของปุ๋ยโพแทสได้
จากเตาถ่าน หรือการเผากิ่งไม้ ใบไม้ และเศษเหลือ
ของพืช
ปุ๋ยโพแทส
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จ้าเป็นต่อพืชมาก
ท้าให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภูมิต้านทานโรค และ
เป็นตัวเร่งให้เซลล์ท้างานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดธาตุ
โพแทสเซียมจะท้าให้มีปริมาณแป้งต่้ากว่าปกติ ผลผลิตลด
น้อยลง ขอบใบมีสีซีด ล้าต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ด
ลีบ
ปุ๋ยโพแทส
ประเทศไทยมีแหล่งแร่โพแทส เป็นจ้านวนมากใน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในรูปของแร่คาร์นัลไลต์
(KClทMgC12ท6H2O) และแร่ซิลวาไนต์ (KClทNaCl) ซึ่งใช้
เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยโพแทสชนิดต่างๆ เช่น
โพแทสเซียมคลอไรด์ ( KCl) โพแทสเซียมซัลเฟต (K2SO4)
โพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) และโพแทสเซียมแมกนีเซียม
ซัลเฟต (K2SO4ท2MgSO4)
ปุ๋ยโพแทส
ปุ๋ยโพแทสเซียมคลอไรด์ ผลิตได้จากแร่ซิลวาไนต์ มา
บดให้ละเอียดแล้วท้าให้บริสุทธิ์ โดยละลายแร่ในน้้าอุณหภูมิ
ประมาณ 90 องศาเซลเซียส เติมสารละลาย NaCl ที่
อิ่มตัวลงไป กรองแยกโคลนและตะกอนออก ระเหยน้้า
เพื่อให้สารละลายมีความเข้มข้นมากขึ้นจนท้าให้ KCl ตกผลึก
แยกผลึกออกแล้วอบให้แห้ง จะได้ปุ๋ย KCl ตามต้องการ
นอกจากนี้
ปุ๋ยโพแทส
ยังสามารถผลิตปุ๋ยชนิดนี้จากน้้าทะเล โดยการระเหย
น้้าทะเลด้วยความร้อนจากแสงอาทิตย์เพื่อให้มีความเข้มข้น
สูงขึ้น เกลือ NaCl จะตกผลึกแยกออกมาก่อน น้า
สารละลายที่ได้ไประเหยน้้าออกเพื่อท้าให้มีความเข้มข้นมาก
ขึ้นท้าให้ KCl ตกผลึกออกมาและใช้เป็นปุ๋ย KCl ได้
ปุ๋ยโพแทส
ปุ๋ยโพแทสซียมซัลเฟตผลิตได้จากการน้าแร่แลงบี
ไนต์ (K2SO4ท2MgSO4)มาละลายในน้าอุณหภูมิประมาณ 50
้
องศาเซลเซียส จนเป็นสารละลายอิ่มตัว แล้วเติม
สารละลาย KClเข้มข้นลงไปจะได้ผลึก K2SO4 แยกออกมาดัง
สมการK2SO4ท2MgSO4 + 4KCl —> 2MgCl2 + 3 K2SO4
ปุ๋ยโพแทส
นอกจากนี้ถ้าน้า KCl มาท้าปฏิกริยากับ NaNO3
จะได้ปุ๋ยโพแทสเซียมไนเตรต (KNO3) ดังสมการ
KCl + NaNO3 —> NaCl + KNO3
ปุ๋ยโพแทส
โพแทสเซียมเป็นธาตุอาหารหลักที่จ้าเป็นต่อพืชมาก
ท้าให้ผนังเซลล์ของพืชหนาขึ้น สร้างภูมิต้านทานโรค และ
เป็นตัวเร่งให้เซลล์ท้างานได้ดีขึ้น ถ้าพืชขาดโพแทสเซียมจะ
ท้าให้มีปริมาณแป้งต่้ากว่าปกติ ผลผลิตน้อยลง ขอบใบมีสี
ซีด ล้าต้นอ่อน แคระแกร็นและเมล็ดลีบ

กลับหน้าหลัก
ปุ๋ยผสม
ปุ๋ยผสมได้จากการน้าปุ๋ยไรโตรเจน ฟอสเฟสและ
โพแทสมาผสมรวมกันเพื่อให้ได้สัดส่วนของธาตุอาหารพืช
ตามต้องการ หรือปุ๋ยที่ได้จากการน้าเอาปุ๋ยตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้น
ไปมาผสมกัน เมื่อผสมแล้ว อาจมีธาตุหลัก ( primary
nutrient) เพียงธาตุเดียวก็ได้ เช่น การน้าเอา
MgSO 4 .7H 2 O มาผสมกับ triple supper phosphate
(TSP) เป็นต้น
ปุ๋ยผสม
วิธีการผลิต มี 2 ลักษณะ ดังนี้

1. การผลิตในลักษณะเชิงผสม เป็นวิธีที่ใช้อยู่ใน
โรงงานส่วนใหญ่ในประเทศ ซึ่งอาจเป็นแบบผสมเป็นเนื้อ
เดียวโดยการน้าแม่ปุ๋ยและส่วนผสมต่างๆมาบดให้เข้ากันแล้ว
อัดเป็นเม็ด ในแต่ละเม็ดจะมีธาตุอาหารตรงตามสูตรที่
ต้องการ เก็บไว้นาน ๆ จะไม่จับกันเป็นก้อนแข็ง สะดวกแก่
การใช้เป็นอย่างยิ่ง
ปุ๋ยผสม
ส่วนอีกแบบหนึ่งคือการน้าแม่ปุ๋ยที่มีขนาดเล็ก
ใกล้เคียงกันมาผสมกัน เพื่อให้ได้สูตรตามความต้องการ และ
อาจมีการบดให้ละเอียดจนเข้ากันดี ท้าให้ปุ๋ยแต่ละเม็ดอาจมี
ธาตุอาหารแตกต่างกัน การปั้นเป็นเม็ดขนาดสม่้าเสมอ
สะดวกในการใส่ลงไปในไร่นา ปุ๋ยพวกนี้เก็บไว้นาน ๆ จะไม่
จับกันเป็นก้อนแข็ง สะดวกแก่
ปุ๋ยผสม
2. การผลิตในลักษณะเชิงประกอบ เป็นการน้า
วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตแม่ปุ๋ยมาผสมและให้ท้าปฏิกิริยากัน
เกิดเป็นสารประกอบต่างๆ เพื่อให้ได้ปุ๋ยตามสูตรที่ ต้องการ
ข้อดีของปุ๋ยผสม
มีธาตุอาหารหลายธาตุในหีบห่อเดียวกัน ท้าให้สะดวกต่อการ
ขนส่งและการใช้
ปุ๋ยผสม
ปุ๋ยผสมมีสมบัติทางกายภาพดี ลดปัญหาการดูด
ความชื้น และการจับตัวกันเป็นก้อน ปุ๋ยเม็ดที่จับตัวกันเป็น
ก้อนจะสร้างปัญหาให้กับเครื่องหว่านปุ๋ยมาก
สามารถผลิตให้เหมาะกับชนิดของพืชที่ปลูก และชนิดของดิน
ที่เกษตรกรครอบครองอยู่ ง่ายต่อการแนะน้าเกษตรกร
ปุ๋ยผสม
ปุ๋ยผสมสามารถจ้าแนกได้เป็น 2 ชนิด ตามกรรมวิธี
การผลิต
1. ปุ๋ยผสมคลุกเคล้า ( bulk blend) ปุ๋ยผสมชนิดนี้ผลิตโดย
น้าแม่ปุ๋ยตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมคลุกเคล้ากันด้วยวิธีกล (
mechanical mixing) การผลิตปุ๋ยผสมชนิดนี้มีต้นทุนในการ
ผลิตต่้า ในประเทศไทยมีโรงงานผลิตปุ๋ยผสมแบบนี้มากกว่า
10 โรง ปุ๋ยผสมชนิดนี้เลือกใช้แม่ปุ๋ยได้น้อยชนิด
ปุ๋ยผสม
เนื่องจากแม่ปุ๋ยจะต้องไม่เกิดปฏิกิริยาเคมีต่อกัน มี
ขนาดเม็ดปุ๋ยและความหนาแน่นใกล้เคียงกัน เพื่อไม่ให้ปุ๋ย
แยกออกจากกันระหว่างการขนส่ง
ข้อดีของวิธี bulk blending
- ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างโรงงานต่อ
- ต้นทุนในการผลิตต่้า
ปุ๋ยผสม
ข้อเสียของวิธี bulk blending
ปุ๋ยผสมที่ได้มีแนวโน้มแยกจากกันในระหว่างบรรจุกระสอบ และ
ขนส่ง โดยเฉพาะเมื่อแม่ปุ๋ยแต่ละชนิดมีขนาด รูปร่าง และความ
หนาแน่นต่างกันมาก
ยากต่อการผสมปุ๋ยปริมาณน้อย ๆ เช่น ปุ๋ยจุลธาตุลงไปในแม่ปุ๋ยที่
มีปริมาณมาก เพื่อให้ได้ส่วนผสมที่กระจายตัวอย่างสม่้าเสมอ ยาก
ต่อการก้าหนดสูตรปุ๋ยที่แน่นอน โดยเฉพาะเมื่อแม่ปุ๋ยที่น้ามาผสม
แยกจากกันได้ง่าย
ปุ๋ยผสม
2. ปุ๋ยผสมแบบปั้นเม็ด ( steam granulation) ปุ๋ย
ผสมชนิดนี้ผลิตโดยน้าแม่ปุ๋ยตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมาผสมกับ
สารถ่องน้้าหนัก (filler) และ/หรือสารเติมแต่ง (
fortilizer additive) มาผสมกัน
ปุ๋ยผสม
ฉีดพ่นไอน้้า หรือสารละลายต่าง ๆ เช่น NH4OH
H2SO4 หรือ H3PO4 เป็นต้น ลงไปเพื่อให้ส่วนผสมชื้น
ปล่อยให้ปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เกิดขึ้นจนสมบูรณ์ แล้วจึงปั้น
ส่วนผสมทั้งหมดให้เป็นเม็ด
จัดทำโดย
• นายเกียรติศักดิ์ ถานาเรือ
• นายสุรเสก

• นางสาวจริณพร

ติค้ารัมย์

เทพสืบ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Globalization1
Globalization1Globalization1
Globalization1Teeranan
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดIce Ice
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชโครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชMin Pchw
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารKatewaree Yosyingyong
 
การวิเครา Swot
การวิเครา Swotการวิเครา Swot
การวิเครา Swotjanjirapansri
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion EquilibriumDr.Woravith Chansuvarn
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)Thitaree Samphao
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1พัน พัน
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 

La actualidad más candente (20)

Globalization1
Globalization1Globalization1
Globalization1
 
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติดงาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
งาน is เรื่องปัญหายาเสพติด
 
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียนใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
ใบงาน ระบบต่อมไร้ท่อ นักเรียน
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
Entrance Rate
Entrance RateEntrance Rate
Entrance Rate
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืชโครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
โครงงานอาชีพ คุกกี้ธัญพืช
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหารวิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
วิทยาศาสตร์กายภาพ 1 เรื่อง อาหาร
 
การวิเครา Swot
การวิเครา Swotการวิเครา Swot
การวิเครา Swot
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibriumกรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
กรด เบสและสมดุลไอออน - Ion Equilibrium
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ระบบหายใจ (1-2560)
ระบบหายใจ  (1-2560)ระบบหายใจ  (1-2560)
ระบบหายใจ (1-2560)
 
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1IS1  การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลุ่ม1
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 

Similar a อุตสาหกรรมปุ๋ย01

Similar a อุตสาหกรรมปุ๋ย01 (6)

01
0101
01
 
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ยเคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
เคมีอุตสาหกรรมปุ๋ย
 
Solid waste pollution
Solid waste pollutionSolid waste pollution
Solid waste pollution
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 

Más de Surasek Tikomrom

Más de Surasek Tikomrom (11)

สำเร๊จ
สำเร๊จสำเร๊จ
สำเร๊จ
 
01
0101
01
 
อุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ยอุตสาหกรรมปุ๋ย
อุตสาหกรรมปุ๋ย
 
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง9งานนำเสนอเรื่องช้าง
9งานนำเสนอเรื่องช้าง
 
8ปลา
8ปลา8ปลา
8ปลา
 
7กระต่าย
7กระต่าย 7กระต่าย
7กระต่าย
 
5 หมู
5 หมู5 หมู
5 หมู
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
3แมว
3แมว3แมว
3แมว
 
กลุ่ม 1
กลุ่ม 1กลุ่ม 1
กลุ่ม 1
 
กลุ่ม 3
กลุ่ม 3กลุ่ม 3
กลุ่ม 3
 

อุตสาหกรรมปุ๋ย01