SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 133
มาตรฐานการจัด ทำา บัญ ชี
สำา หรับ หน่ว ยงานภาครัฐ




                           1
การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ
    ผลที่ค าด
                           เครื่อ งมือ
      หวัง
  ต้น ทุน ทีแ ท้จ ริง
             ่                 เกณฑ์ค งค้า ง
   อัน เกิด จากการ              ต้น ทุน ผลผลิต
   ใช้ท รัพ ยากร
  ฐานะการเงิน ที่           รายงาน
   ในการดำา เนิน            
   ถูก ต้อ งครบ
   การ                       การเงิน
   ถ้ว น
  ความเป็น สากล             มาตรฐานการจัด
   และโปร่ง ใสของ              ทำา บัญ ชีภ าครัฐ
  ข้อ มูลด สิน ใจของผู้
   การตั ทางบัญ ชี            รายงานการเงิน
   บริห ารด้ว ยการใช้         และรายงานอื่น ๆ
   ข้อ มูล ทางบัญ ชีท ม ี
                       ี่      ทีใ ช้ข ้อ มูล ทาง
                                  ่
   คุณ ภาพมากขึ้น                     บัญ ชี
   ทัง ในระดับ หน่ว ย
     ้
การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ

เปลี่ย นหลัก
 การบัญ ชี                เกณฑ์ค ง
   เกณฑ์เ งิน สด           ค้า ง
ขยายวัต ถุป ระสงค์ข อง
 การจัด ทำา บัญ ชี        ติด ตาม
   ควบคุม และติด ตาม      สถานะการ
   การใช้ง บประมาณ        เงิน
                          และการใช้
                            ทรัพ ยากร
                          ในการ
                                        3
การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ
ขยายขอบเขต
 การจัด ทำา รายงาน
                       รายงานการเงิน
 รายงานประกอบการ          เพื่อ
                        วัตถุประสงค์
  ติดตามงบประมาณ
ปรับ แนวทางการกำา หนด
                        ทั่วไป
 หลัก เกณฑ์ก ารบัญ ชี
                       มาตรฐานการจัดทำาบัญชีภ
 ระบบบัญชีส่วนราชการ


                                          4
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
รัฐ

หลัก การควบคุม
 ◦ รัฐ บาลควบคุม หน่ว ยงานภาครัฐ
   จัด ทำา งบการเงิน รวมของแผ่น ดิน
    (รัฐ บาล)
 ◦ หน่ว ยงานภาครัฐ ควบคุม ทรัพ ยากร
   กำา หนดหน่ว ยงานทีเ สนอรายงานเป็น
                       ่
    หน่ว ยทีม อ ำา นาจ
            ่ ี
     ควบคุม ทรัพ ยากร (ระดับ กรม)

                                        5
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
รัฐ
หน่ว ยงานภาครัฐ
   ถูก ควบคุม โดยรัฐ บาล (มีอ ิท ธิพ ลในการ
    กำา หนดนโยบายสำา คัญ )
   ใช้จ ่า ยเงิน งบประมาณเป็น หลัก ในการ
   รัดำบาล น งาน (ระยะยาว)
     ฐ า เนิ                         ใช้เ งิน งบ
  ควบคุม                              ประมาณ
 บัญ ชี                               เป็น ส่ว น
 รัฐ บา                                 ใหญ่
    ล
 (999
   9)
                                    ไม่ใ ช่
                                   หน่ว ยงาน
                                    ภาครัฐ         6
1. รัฐ บาลควบคุม +ไม่ใ ช้ 4. ไม่ถ ูก รัฐ บาลควบคุม +ไม่
  เงิน งปม. >> เป็น           ใช้เ งิน งปม. >> ไม่เ ป็น
       ทุน หมุน เวีย น             ธนาคารแห่ง
2. ไม่ถ ูก รัฐ บาล          5. รัฐบาลควบคุม +ไม่ใ ช้
                                    ประเทศไทย
  ควบคุม +ใช้เ งิน งปม. >> เงิน งปม. >> ไม่เ ป็น
  เป็น
                            6. ไม่ถรัฐ วิส าหกิจ ไม่ใม +ใช้
3. รัฐ บาลควบคุม +ใช้              ูก รัฐ บาลควบคุ ช้ง
  เงิน งปม. >> เป็นส ระตา
       หน่ว ยงานอิ           เงิน งปม. เช่นไม่เ ป็น
                                    ปม. >> ปตท.
       มรธน.
        ส่ว นราชการ                ไม่ม ี (มีเ พีย งใช้ง
        รัฐ บาล                                  ใช้เ งิน งบ
                                    ปม.บางส่ว น)
        ควบคุม                                    ประมาณ
                        1   3                     เป็น ส่ว น
                                  2
                                                     ใหญ่
                            7
                          5    6

                            4
7. รัฐ บาลควบคุม +ใช้เ งิน ง                 ไม่ใ ช่
  ปม. >> ไม่เ ป็น                           หน่ว ยงาน
                                             ภาครัฐ            7
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
รัฐ
หน่ว ยงานภาครัฐ
   แต่ล ะหน่ว ยเบิก จ่า ยภายใต้ห น่ว ย
    งาน(กรม)เดีย วกัน บัน ทึก รายการ ของ
    ตนเองเป็น หน่ว ยทางบัญ ชีแ ยกจากกัน
   ทุก หน่ว ยเบิก จ่า ยภายใต้ห น่ว ยงานรวม
                   หน่ว
    กัน จัด ทำา งบการเงิน 1 ชุด
                    ย
                เบิก
                จ่า ย      หน่ว
                ( ลูก        ย
 หน่ว            1)        เบิก
 ยเบิก                     จ่า ย
 จ่า ย(            หน่ว    ( ลูก
                    ย       2)
  แม่)             เบิก
                   จ่า ย                      8
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
 รัฐ

รายการระหว่า งกัน 3 ระดับ

รัฐ บาล(9999)    –     รายได้/ค่า
 หน่ว ยงาน               ใช้จ ่า ย
หน่ว ยงาน –             (BP)
 หน่ว ยงาน              รายได้/ค่า
หน่ว ยเบิก จ่า ย –      ใช้จ ่า ย
 หน่ว ยเบิก จ่า ย        (BP)
  (ภายใต้ห น่ว ย        รายได้/ค่า       9
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
รัฐ

การบัน ทึก บัญ ชีต ามความรับ ผิด ชอบ
 ◦ รายการทีอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ไม่จำากัด
           ่
   เฉพาะความเป็น เจ้าของ เช่น ทีดินราชพัสดุ
                                ่

เน้น ผลผลิต มากกว่า ประเภทเงิน
 ◦ บันทึกเงินในงบประมาณ และเงินนอก
   ประมาณในลักษณะเดียวกัน
      ตามรายการทีเกิดขึ้น
                 ่

                                               10
แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค
 รัป ขอบเขตของการบัน ทึก รายการ
สรุ ฐ
แต่ล ะองค์ป ระกอบในงบการเงิน
 สิน ทรัพ ย์        - ควบคุม ประโยชน์ก าร
  ใช้ง าน
                  อยู่ใ นความดูแ ลรับ ผิด ชอบ
 หนี้ส ิน           - ภาระผูก พัน ทีต ้อ ง
                                     ่
  ชดใช้
                  อยู่ใ นความดูแ ลรับ ผิด ชอบ
 ทุน                - สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิเ มื่อ เริ่ม
  เกณฑ์ค งค้า ง/ตัง หน่ว ยงาน
                   ้
              สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิเ ปลี่ย นแปลง           11
มาตรฐานการจัด ทำา บัญ ชีภ าครัฐ


หลักการและนโยบายบัญช
 มาตรฐานรายงานการเงิน
  ผังบัญชีมาตรฐาน




                                  12
มาตรฐานบัญ ชีท ี่ใ ช้อ ้า งอิง


   IPSAS (International
   Public Sector Accounting
   Standards)
มาตรฐานการบัญ ชีไ ทย

                  IAS
                  (International
                  Accounting
                IFRS
                  Standards)
                (International     13
ขอบเขตการถือ ปฏิบ ัต ิต ามหลัก การและ
         นโยบายบัญ ชีฯ

ส่ว นราชการระดับ กรม
หน่ว ยงานภาครัฐ ลัก ษณะพิเ ศษ
  หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ
  องค์การมหาชน
  หน่วยงานอิสระทีตั้งขึ้นโดยกฎหมายเฉพาะ
                  ่
  กองทุนเงินนอกงบประมาณ




                                           14
โครงสร้า งของหลัก การและนโยบาย
บัญ ชีฯ


หลัก การและนโยบายบัญ ชี
  ทั่ว ไป

หลัก การและนโยบายบัญ ชี
  แต่ล ะองค์ป ระกอบของ
  งบการเงิน

                                 15
หลัก การและนโยบายบัญ ชีท ั่ว ไป
หน่วยงานทีเสนอรายงาน
           ่
งบการเงิน
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
หลักการบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี
การดำาเนินงานต่อเนื่อง
การโอนสินทรัพย์และหนีสิน
                      ้
รายการพิเศษ
รายการทีเป็นเงินตราต่างประเทศ
         ่

                                    16
ลัก ษณะเชิง คุณ ภาพของงบการเงิน


ความเข้าใจได้
ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
 ◦ ความมีนัยสำาคัญ
ความเชือถือได้
        ่
การเปรียบเทียบกันได้




                                    17
ความเข้า ใจได้ (Understandability)
ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ดใน
                                      ี
 ทันทีทผู้ใช้งบการเงินใช้ข้อมูลดังกล่าว
         ี่
ข้อมูลแม้ว่าจะมีความซับซ้อน แต่ถ้าเกี่ยวข้องกับ
 การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจก็ไม่ควรละเว้นที่จะ
 แสดงในงบการเงิน เพียงเพราะเหตุผลทีว่าข้อมูล
                                        ่
 ดังกล่าวยากเกินกว่าที่ผู้ใช้งบการเงินบางคนจะ
 เข้าใจได้
ข้อแม้ว่า
 ◦ ผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ
   กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมี
   ความตั้งใจตามควรทีจะศึกษาข้อมูลดังกล่าว
                        ่                          18
ความเกี่ย วข้อ งกับ การตัด สิน ใจ
(Relevance)
ข้อมูลทีมประโยชน์ต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
         ่ ี
 ของผู้ใช้งบการเงิน ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิน
 ใจเชิงเศรษฐกิจได้กต่อเมือข้อมูลนั้นช่วยให้ผู้ใช้งบ
                    ็     ่
 การเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน
 และอนาคต รวมทังช่วยยืนยันหรือชี้ข้อผิดพลาด
                  ้
 ของผลการประเมินทีผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้
                      ่
ข้อพิจารณา
 ◦ ความมีนยสำาคัญ
            ั
    การไม่แสดงข้อมูลหรือการแสดงข้อมูลผิดพลาด
     มีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจ
     เชิงเศรษฐกิจ ความมีนัยสำาคัญขึ้นอยูกับขนาด
                                         ่
     ของรายการหรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิด
     ขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณา 19
ความเชื่อ ถือ ได้ (Reliability)

 ข้อมูลที่ไม่มความผิดพลาดที่มีนยสำาคัญ รวม
               ี                ั
  ทั้งไม่มีความลำาเอียงในการนำาเสนอข้อมูลที่
  ทำาให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง
 ข้อพิจารณา
     1.   การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
     2.   เนือหาสำาคัญกว่ารูปแบบ
             ้
     3.   ความเป็นกลาง
     4.   ความระมัดระวัง
     5.   ความครบถ้วน
                                               20
การเป็น ตัว แทนอัน เที่ย งธรรม

ข้อมูลจะมีความเชือถือได้เมื่อรายการและ
                  ่
  เหตุการณ์ทางบัญชีได้แสดงอย่างเที่ยง
  ธรรม ้น งบดุล้องการให้แสดงหรืย์ ควรแสดง
    ดังนั ตามที่ต ควรแสดงสินทรัพ อ หนี้สิน
  และส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการและ
  เหตุการณ์ทางบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู้
  รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน



                                             21
เนือ หาสำา คัญ กว่า รูป แบบ
   ้

ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและ
 ความเป็นจริง         เชิงเศรษฐกิจ มิใช่
 ตามรูหาของรายการและเหตุงอย่างเดียว
  เนื้อปแบบทางกฎหมายเพียการณ์ทาง
 บัญชีอาจไม่ตรงกับรูปแบบทางกฎหมาย
 หรือรูปแบบที่ทำาขึ้น




                                           22
สัญ ญาเช่า
   สัญ ญาเช่า การเงิน
       Dr. สิน ทรัพ ย์ xx
            Cr. เจ้า หนีส ัญ ญาเช่า การเงิน
                         ้
       xx
       Dr. เจ้า หนีส ัญ ญาเช่า การเงิน
                   ้                        xx
            Cr. เงิน สด/เงิน ฝากธนาคาร xx


   สัญ ญาเช่า ดำา เนิน งาน
       Dr. ค่า เช่า xx
            Cr. เงิน สด/เงิน ฝากธนาคาร xx
ความเป็น กลาง

ข้อมูลที่แสดงอยู่ในงบการเงินมีความน่า
 เชือถือเมื่อมีความเป็นกลาง หรือปราศจาก
    ่
 ความลำาเอียง งบการเงินจะขาดความเป็นก
 ลาง ลทำาให้ผใช้งบการเงินตัดสินใจหรือใช้
  มีผหากการเลือกข้อมูลหรือการแสดง
                ู้
 ข้อมูลในงบการเงินนั้น จการ
 ดุลยพินจตามเจตนาของกิ
         ิ




                                           24
ความระมัด ระวัง

การใช้ดุลยพินจที่จำาเป็นในการประมาณการ
              ิ
 ภายใต้ความไม่แน่นอน เพื่อมิให้สนทรัพย์
                                   ิ
 หรือรายได้แสดงจำานวนสูงเกินไป และหนี้สน    ิ
 หรือค่าใช้จ่ายแสดงจำานวนตำ่าเกินไป
แต่ไม่ใช่จะทำาการตั้งค่าเผือหรือสำารองสูงเกิน
                            ่
 ความเป็นจริง



                                             25
ความครบถ้ว น

ข้อมูลในงบการเงินที่เชือถือได้ต้องครบถ้วน
                        ่
 ภายใต้ข้อจำากัดของความมีนัยสำาคัญและ
 ต้นทุนในการจัดทำา รายการบางรายการ
 หากไม่แสดงในงบการเงินจะทำาให้ข้อมูลมี
 ความผิดพลาด หรือ ทำาให้ผใช้งบการเงิน
                                ู้
 เข้าใจผิด ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวจะมีความ
 เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจน้อยลงและขาด
 ความน่าเชือถือได้
             ่
                                             26
การเปรีย บเทีย บกัน ได้ (Comparability)

  ผูใช้งบการเงินต้องสามารถเปรียบเทียบ
     ้
   งบการเงินของกิจการ ในรอบระยะเวลา
   ต่างกันเพื่อคาดคะเนถึงแนวโน้มของ
   ฐานะการเงินและผลการดำาเนินงานของ
   กิจการนั้น




                                          27
การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น
                           ิ

รับรู้มลค่าสุทธิตามบัญชีของ
        ู                 ส/ท หรือ
 น/ส เป็นส่วนทุนของหน่วยงานผูโอน
                             ้
 และผู้รับโอน

รับรู้มลค่าสุทธิตามบัญชีของ
        ู                      ส/ท หรือ
 น/ส เป็นค่าใช้จาย
                ่
     และรายได้ของหน่วยงานผู้โอนและ
 ผู้รับโอน
                                          28
การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ )
                           ิ
โอนตามนโยบายรัฐบาล      เช่น ยุบเลิกหน่วย
  งาน
  หน่วยงานผูโอน
            ้
         เดบิต ค่าเสือมราคาสะสม
                     ่
                             ทุน

  เครดิต สินทรัพย์
  หน่วยงานผูรับโอน
             ้
           เดบิต สินทรัพย์

  เครดิต ค่าเสือมราคาสะสม
               ่                         29
การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ )
                           ิ

หน่วยงานสมัครใจโอน    เช่น กองทุนโอนส/
 ท ให้สรก.

 ◦ รถยนต์ราคาทุน 100 อายุ 5 ปี ต้นปีที่ 3
   โอนไปให้หน่วยงานอื่น
    ข้อมูลตามบัญชีของหน่วยงานผู้โอน
          สินทรัพย์-ราคาทุน       100
          ค่าเสือมราคาสะสม
                ่                  40

                                            30
การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ )
                           ิ

หน่วยงานผู้โอน
    เดบิต ค่าใช้จ่ายโอน ส/ท           60
            ค่าเสือมฯ สะสม
                  ่                   40
                เครดิต สินทรัพย์
 100
หน่วยงานผู้รับโอน
   เดบิต สินทรัพย์ (สุทธิ)        60
                 เครดิต รายได้รับโอนส/
 ท      60                                 31
รายการที่เ ป็น เงิน ตราต่า งประเทศ

บันทึกเป็นเงินบาท     ณ วันที่เกิด
 รายการ
ณ วันที่รายงาน
  ◦ รายการทีเป็นตัวเงิน
            ่                 ใช้อัตราปิด
  ◦ รายการทีไม่เป็นตัวเงิน
              ่               ใช้อัตราวันที่
    เกิดรายการ

รับรู้ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็น
  รายได้ / ค่าใช้จ่าย เมื่อมีการชำาระเงิน
  / รายงานรายการที่เป็นตัวเงิน
                                               32
หลัก การและนโยบายบัญ ชีแ ต่ล ะองค์ป ระกอบ
             ของงบการเงิน


   สินทรัพย์
   หนี้สน
         ิ
   ส่วนทุน
   รายได้
   ค่าใช้จ่าย



                                        33
การรับ รู้
คำานิยาม
เกณฑ์การรับรู้
 ◦ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิด
   เหตุการณ์
 ◦ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชือถือ
                          ่



                                   34
คำา นิย าม

สินทรัพย์             หนี้สน
                             ิ
  ◦ ทรัพยากรในความ      ◦ เกิดภาระผูกพันใน
    ควบคุม                ปัจจุบัน
  ◦ เกิดผลประโยชน์ใน    ◦ จะเสียทรัพยากรใน
    อนาคต                 อนาคต
  ◦ ศักยภาพในการให้     ◦ ศักยภาพในการให้
    บริการเพิมขึ้น
             ่            บริการลดลง




                                             35
ทรัพ ยากรในความควบคุม

            อาคารบนที่
             ราชพัได้ดุ ค่า ตอบ
                  ส รบั
ใช้ใ นการ
 ผลิต ผล             แทนการใช้
    ใ
 ผลิต     ได้                อนุญ าตหรือ
                      ไม่ใ
    ช่      ประโยช           ปฏิเ สธการ
            น์        ช่       ใช้
              ไม่ใ
          จากการ                  ไม่ใ
              ช่
            ขาย                   ช่
ทรัพ ยาก
 รใน
 ความ
 ควบคุม                                    36
คำา นิย าม ( ต่อ )

รายได้              ค่าใช้จ่าย

  ◦ ผลประโยชน์        ◦ ผลประโยชน์
    (Inflow) เข้า       (Outflow) ออก
    หน่วยงาน            จากหน่วยงาน
  ◦ สินทรัพย์สุทธิ    ◦ สินทรัพย์สุทธิลด
    เพิ่มขึ้น           ลง




                                           37
รายได้ต ามคำา นิย าม

       เงิน งบ
         ประมาณงบ
         ลงทุน
        ผลประโยชน์            ใ
           เข้า หน่ว ย
           งาน                ช่
          สิน ทรัพ ย์ส ท ธิ
                        ุ     ใ
             เพิ่ม ขึ้น       ช่

               ราย
                 ไ
                 ด้
                                   38
นโยบายบัญ ชีท ี่ส ำา คัญ บางรายการ
เงินทดรองราชการ     รายได้แผ่นดินรอ
วัสดุคงคลัง          นำาส่งคลัง
ที่ดิน
      อาคาร และ      เงินกู้
 อุปกรณ์             รายได้จากเงินงบ
สินทรัพย์ไม่มตัว
              ี       ประมาณ
 ตน                  รายได้แผ่นดิน
เจ้าหนี้            กำาไร/ขาดทุนจาก
                      การจำาหน่าย
                      สินทรัพย์
                                        39
เงิน ทดรองราชการ
ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ - เงินรับจากรัฐบาลเพื่อทดรองจ่าย
    คชจ.ปลีกย่อยในสนง. เมือใช้จ่ายเงินแล้วต้อง
                               ่
    รวบรวมหลักฐานเพือเบิกงปม.มาชดใช้คืน
                         ่
 ◦ การรับรู้ - เมือได้รับเงิน พร้อมกับบันทึกเงิน
                  ่
    ทดรองราชการรับจากคลัง
 ◦ •การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อเงินสดและ
     การบันทึกรายการในระบบ GFMIS
    รายการเทียบเท่าเงินสด
    •   เมื่อตั้งเบิกเงินทดรองในระบบฯ
        เดบิต เงิน ทดรองราชการ
                 เครดิต ใบสำาคัญค้างจ่าย


                                                   40
เงิน ทดรองราชการ ( ต่อ )
• เมื่อรายการตั้งเบิกได้รับอนุมัติ
  เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง
           เครดิต T/R – เงินทดรองราชการ
• รับรู้เงินทดรองราชการรับจากคลังเมื่อกรมบัญชีกลาง
  สั่งจ่ายเงินให้หน่วยงาน
  เดบิต T/E – เงินทดรองราชการ
            เครดิต เงินทดรองราชการรับจากคลัง
  เดบิต เงินฝากธนาคาร
            เครดิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง
• ส่วนราชการบันทึกการจ่ายเงินออกไปทั้งจำานวน
  เดบิต ใบสำาคัญค้างจ่าย
            เครดิต เงินฝากธนาคาร                     41
วัส ดุค งคลัง

ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ใช้หมดเปลืองสิ้นไปในการ
   ดำาเนินงานปกติ มูลค่าไม่สูง ปกติไม่คงทนถาวร
 ◦ การรับรู้ - เมือหน่วยงานตรวจรับของแล้ว และ
                  ่
   ปรับปรุงรายการ ณ วันสิ้นปีจากการตรวจนับ
   ยอดคงเหลือ
 ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินค้าและวัสดุ
   คงเหลือ ในกลุ่มสินทรัพย์หมุนเวียน




                                                 42
ที่ด ิน อาคาร และอุป กรณ์
ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ที่มีสภาพคงทนถาวร ให้
   ประโยชน์แก่หน่วยงานในระยะยาวเกินกว่า 1ปี
   มูลค่าต่อรายการตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นไป
 ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (จาก
   การซื้อและจ้างก่อสร้าง)
 ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อที่ดิน อาคาร
   และอุปกรณ์ ในกลุ่มสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โดย
   แสดงมูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงิน และเปิด
   เผยรายละเอียดราคาทุน และค่าเสื่อมราคาสะสม
   ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน

                                                  43
ที่ด ิน อาคาร และอุป กรณ์
การบันทึกรายการในระบบ     GFMIS
 • บันทึกเมือหน่วยงานตรวจรับ/ตั้งเบิกในระบบฯ
             ่
   เป็นพักสินทรัพย์ และโอนเป็นสินทรัพย์ประเภท
   นันๆ เมือสร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลัก
     ้     ่
   สินทรัพย์ (รายตัว) ในระบบฯ
 • บันทึกเป็นพักงานระหว่างก่อสร้าง เมือตรวจรับ
                                      ่
   งานจ้างก่อสร้างสินทรัพย์ทต้องมีการจ่ายเงิน
                             ี่
   หลายงวด โอนเป็นงานระหว่างก่อสร้างเมือ    ่
   สร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลักสินทรัพย์
   (รายตัว - งานระหว่างก่อสร้าง) ในระบบฯ จน
   กระทังการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย จึงโอนงาน
        ่
   ระหว่างก่อสร้างออกเป็นสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง   44
รายจ่า ยภายหลัง การได้ม าซึ่ง สิน ทรัพ ย์
   รายจ่ายนันทำาให้หน่วยงานได้รับ
              ้
    ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพใน
    การให้บริการตลอดอายุการใช้งานของ
    สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานการปฏิบติ
                                       ั
    งานที่เป็นอยู่ในปัจจุบน
                          ั
     อายุการใช้งานนานขึ้นและมีประสิทธิภาพเพิม ่
      ขึ้น
     ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
     ลดต้นทุนการดำาเนินงานทีประเมินไว้เดิมอย่าง
                             ่
      เห็นได้ชัด
รายจ่า ยภายหลัง การได้ม าซึ่ง สิน ทรัพ ย์
( ต่อ )
    ทาสีอ าคาร
     สำา นัก งาน
    กั้น ห้อ งเพิ่ม ภายใน     ควรรับ รู้
                                รายการ
     อาคารสำา นัก งาน          อย่า งไร ?
    ปรับ ปรุง ห้อ งนำ้า
     เดิม
    จ้า งบริษ ัท ปรับ ภูม ิ
     ทัศ น์โ ดยรอบ
     สำา นัก งานด้ว ยการ
     ถมที่ด ิน
   
สิน ทรัพ ย์ไ ม่ม ีต ว ตน
                     ั
ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งระบุแยก
   ได้แต่ไม่มรูปร่าง ให้ประโยชน์แก่หน่วยงานใน
              ี
   ระยะยาวเกินกว่า 1 ปี เช่น โปรแกรม
   คอมพิวเตอร์
 ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (กรณี
   ตรวจรับงานเป็นงวด ๆ บันทึกเป็นสินทรัพย์
   ระหว่างพัฒนาไว้จนพัฒนาเสร็จเรียบร้อยจึงโอน
   ออกเป็นสินทรัพย์ประเภทนัน) ้
 ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินทรัพย์ไม่มี
   ตัวตน ในกลุ่มสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โดยแสดง
   มูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงิน และเปิดเผย
   รายละเอียดราคาทุน และค่าตัดจำาหน่ายสะสมใน        47
เจ้า หนี้

ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันต่อบุคคลอื่นที่เกิดขึ้น
   ในการดำาเนินงานปกติ
 ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานได้ตรวจรับ
   สินค้า/บริการ สินทรัพย์จากผู้ขายแล้ว
 ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินทรัพย์
   ไม่มตัวตน ในกลุ่มหนีสินหมุนเวียน ตามราคา
       ี                  ้
   ทุน และเปิดเผยรายละเอียดประเภทเจ้าหนีใน  ้
   หมายเหตุประกอบงบการเงิน



                                                48
รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง

ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – เงินที่ได้รับไว้โดยมีภาระจะต้องนำา
   ส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในงวดปีถัดไป
 ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานปรับปรุงบัญชีสิ้นปี
 ◦ การแสดงรายการ – แสดงเป็นหนี้สิน
   หมุนเวียน

 • ในระบบ GFMIS เมือบันทึกปรับปรุงสิ้นปีแล้ว
                   ่
   จะมีการกลับรายการ ณ วันเริ่มต้นปีบัญชีถัด
   ไป

                                                  49
เงิน กู้

ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันอันเกิดจากเงินที่กู้ยืม
   จากบุคคลอื่น
 ◦ การรับรู้ – เมื่อได้รับเงินกู้ หรือเมื่อแหล่งเงินผู้
   ให้กู้แจ้งว่าได้เบิกจ่ายเงินกู้ให้แก่เจ้าหนีของ
                                                ้
   หน่วยงานโดยตรงแล้ว
 ◦ การแสดงรายการ – แสดงตามราคาทุน โดย
   แสดงเงินกู้ทมกำาหนดชำาระคืนภายใน 1 ปีและ
                 ี่ ี
   ส่วนของเงินกู้ระยะยาวทีถึงกำาหนดชำาระคืน
                              ่
   ภายใน 1 ปี เป็นหนีสินหมุนเวียน และแสดง
                          ้
   เงินกู้ทถึงกำาหนดชำาระคืนเกินกว่า 1 ปี เป็นหนี้
           ี่
   สินไม่หมุนเวียน
                                                          50
รายได้จ ากเงิน งบประมาณ
ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – เงินงบประมาณที่หน่วยงานเบิกจาก
   คลัง
 ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานได้รับเงิน/เมือได้รับ
                                          ่
   หลักฐานแจ้งการจ่ายเงินให้กบผู้มสิทธิแล้ว
                                    ั   ี
                    เมือได้รับอนุมติการเบิก (จ่าย
                       ่          ั
   ตรง) หรือเมือตั้งเบิก (จ่ายผ่าน)
                  ่
 ◦ การแสดงรายการ – แสดงด้วยยอดสุทธิจากงบ
   ประมาณเบิกเกินส่งคืนภายใต้หวข้อรายได้จาก
                                      ั
   การดำาเนินงาน ในงบรายได้และค่าใช้จาย     ่
   และเปิดเผยรายละเอียดประเภทของเงินงบ
   ประมาณทีเบิกจากคลังก่อนหักยอดเบิกเกินส่ง
                ่
   คืน รวมทังแสดงยอดงบประมาณเบิกเกินส่งคืน
              ้                                     51
รายได้จ ากเงิน งบประมาณ ( ต่อ )

• ในระบบ GFMIS
  • บันทึกรายได้จากเงินงบประมาณเมือหน่วยงาน
                                        ่
    ตั้งเบิกเข้าสู่ระบบแล้ว กรณีหน่วยงานเลือกวิธี
    จ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากฯ หน่วยงาน
       เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง
       เครดิต T/R – รายได้งปม.จากรัฐบาล (ตามงบ)
  • บันทึกรายได้จากเงินงบประมาณเมือกรมบัญชี
                                          ่
    กลางอนุมติสั่งจ่ายเงินเข้าบัญชีผู้ขายแล้ว กรณี
                ั
    หน่วยงานเลือกวิธีจ่ายเงินตรงเข้าบัญชีผู้ขาย
       เดบิต เจ้าหนี้
       เครดิต T/R – รายได้งปม.จากรัฐบาล (ตามงบ) 52
รายได้แ ผ่น ดิน
ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – เงินที่หน่วยงานได้รับและจะต้องนำา
   ส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน
 ◦ การรับรู้ – เมื่อเกิดรายได้ (ปัจจุบันใช้เกณฑ์
   เงินสด)
 ◦ การแสดงรายการ – แสดงรายได้แผ่นดินจัด
   เก็บตามมูลค่าขั้นต้น (gross basis) ก่อนหัก
   รายการใด ๆ และแสดงรายละเอียดรายการหัก
   ต่าง ๆ ตามลำาดับ ได้แก่ การถอนคืนรายได้
   การจัดสรรรายได้ (ยกเว้นตามระเบียบ)
   การนำาส่งคลัง การปรับปรุงรายได้รอนำาส่งคลัง
   ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
                                                   53
กำา ไร/ขาดทุน จากการจำา หน่า ยสิน ทรัพ ย์

ตามหลัก การฯ
 ◦ ลักษณะ – ผลต่างระหว่างเงินที่หน่วยงานได้
   รับจากการขายสินทรัพย์ถาวรทีเลิกใช้และ
                                     ่
   มูลค่าสุทธิตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ณ วันที่
   ขาย
 ◦ การรับรู้ – รับรู้เมื่อส่งมอบสินทรัพย์ให้กับผู้ซื้อ
   แล้ว
 ◦ การแสดงรายการ –
    หากหน่วยงานเก็บเงินจากการขายไว้ใช้ได้ จะ
     แสดงกำาไร/ขาดทุนจากการจำาหน่ายสินทรัพย์
     ไว้ในหัวข้อรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการ
     ดำาเนินงาน
    หากหน่วยงานต้องนำาส่งเงินจากการขายเข้า
     คลัง จะแสดงเงินที่ได้รับจากการขายเป็นรายได้         54
กำา ไร/ขาดทุน จากการจำา หน่า ยสิน ทรัพ ย์

ในระบบ        GFMIS
 ◦ รับรู้เมื่อส่งมอบสินทรัพย์ให้กับผู้ซื้อแล้ว
   เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร
     เครดิต รายได้จากการจำาหน่ายสินทรัพย์
 ◦ จำาหน่ายสินทรัพย์ออกจากระบบฯ
   เดบิต ค่าจำาหน่ายสินทรัพย์
              ค่าเสือมราคาสะสม
                    ่
     เครดิต สินทรัพย์



                                                 55
นโยบายบัญ ชีภ าครัฐ เฉพาะเรื่อ ง
บัต รภาษี
 ◦ รับรู้หนี้สนจากการออกบัตรภาษีคู่กบค่าใช้จ่าย
              ิ                     ั
   อุดหนุนผูส่งออกเมื่อออกบัตรภาษี
                ้
 ◦ ลดภาระหนี้สินเมื่อมีการนำาบัตรภาษีมาใช้ชำาระ
   ค่าภาษีหรือบัตรหมดอายุโดยไม่มีการนำามาใช้
 ◦ บัตรภาษีที่ได้รับโดยหน่วยงานผูจัดเก็บรายได้
                                  ้
   ภาษีจัดเป็นรายการเทียบเท่าเงินสด
 ◦ เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม
   บัตรภาษีและบัตรภาษีระหว่างทาง
   หนี้สินจากการออกบัตรภาษี (หนี้สินไม่หมุนเวียน)
   รายได้เงินชดเชยการส่งออก (จัดสรรจากรายได้
    ภาษีเข้าเป็นเงินฝากฯ)
   คชจ.เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยการส่งออก (มูลค่า
                                                     56
นโยบายบัญ ชีภ าครัฐ เฉพาะเรื่อ ง
หนี้ส าธารณะ
  ◦ วัดมูลค่าหนี้สินตามจำานวนเงินที่จะต้องจ่าย
    เพือชำาระภาระผูกพัน (จากการกู้ยืม) วัด
       ่
    จากมูลค่าปัจจุบันของจำานวนเงินที่จะต้อง
    จ่ายชำาระในอนาคต
  ◦ รับรู้ส่วนตำ่า/ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรด้วยวิธี
    อัตราดอกเบี้ยทบต้น (Effective interest
    method) ไปปรับปรุงดอกเบี้ยจ่ายตลอด
    อายุ      ที่เหลือของพันธบัตร
  ◦ เปิดเผยข้อมูลเพิมเติม
                       ่
    มูลค่าเงินกู้ต้นงวด เปลี่ยนแปลงระหว่างงวด
     ปลายงวด
    อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาของสัญญาเงินกู้ และ
     เงือนไขการกูยืมที่สำาคัญ
        ่            ้                              57
รายงานการเงิน
หลัก การและนโยบายบัญ ชี
ทั่ว ไป
หน่วยงานที่เสนอรายงาน
งบการเงิน
                        หน่วยงานภาครัฐที่
ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
                           เป็นหน่วยงานที่
หลักการบัญชี
รอบระยะเวลาบัญชี
                             เสนอรายงาน
การดำาเนินงานต่อเนือง
                           ต้องจัดทำางบการ
                    ่
การโอนสินทรัพย์และหนี้สนิ
                                 เงินเพื่อ
รายการพิเศษ                  วัตถุประสงค์
รายการทีเป็นเงินตราต่างประเทศ ทั่วไป
          ่
                                             58
รายงานการเงิน

เพือ นำา เสนอข้อ มูล เกี่ย วกับ
   ่
   ฐานะการเงิน
   ผลการดำาเนินงาน
   กระแสเงินสด




                                  59
รายงานการเงิน

การใช้ประโยชน์จากรายงานการเงิน
ประกอบการตัดสินใจจัดสรร
 ทรัพยากร
จัดทำางบการเงินรวมของแผ่นดิน
จัดทำารายงานประจำาปีในระดับต่าง ๆ



                                     60
มาตรฐานรายงานการเงิน

หลักเกณฑ์ทั่วไป
หน่วยงานที่เสนอรายงาน
ส่วนประกอบของรายงาน
รูปแบบของรายงาน




                         61
หลัก เกณฑ์ท ั่ว ไป

หลักการและนโยบายบัญชีฯ   ฉบับที่ 2
เกณฑ์คงค้าง
ความสมำ่าเสมอ
ความมีนัยสำาคัญ
ข้อมูลเปรียบเทียบ
รอบระยะเวลาบัญชี
กำาหนดส่งรายงาน


                                      62
ความมีน ัย สำา คัญ

มีนัยสำาคัญโดย         แยกแสดง
 ลักษณะ                 รวมแสดงกับรายการ
มีนัยสำาคัญโดย          ลักษณะเดียวกัน
 ขนาด                   รวมแสดงกับรายการ
                         ลักษณะคล้ายกัน
ไม่มีนยสำาคัญ
       ั



                                            63
หน่ว ยงานที่เ สนอรายงาน
หน่วยงานทีสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่า
            ่
มีผู้ต้องการใช้ประโยชน์จากรายงานการเงินของ
หน่วยงานนันเพือการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรร
              ้ ่
ทรัพยากร
หน่ว ยงานในระดับ ที่(จะ )ได้ร ับ การจัด สรรและอนุม

และ        มีอ ำา นาจจัด การทรัพ ยากรการเงิน ในค
   ส่วนราชการระดับกรม
   ทุนหมุนเวียน
   หน่วยงานอิสระ
   องค์การมหาชน
   รัฐวิสาหกิจ   และอื่น ๆ เช่น งบจังหวัด

                                              64
หน่ว ยงานที่เ สนอรายงาน
หน่วยงานที่เสนอรายงานซึ่งอยู่ในขอบเขตของการ
จัดทำารายงานการเงินในภาพรวมของรัฐบาล ต้อง
ส่งรายงานการเงินให้กระทรวงการคลังเพื่อการจัด
 หน่วยงานในความ                หน่วยงานที่ใช้
ทำารายงานการเงินรวมของแผ่นดิน
 เงินงบประมาณ
 ควบคุมของรัฐบาล               ในการดำาเนิน
 งานเป็นส่วนใหญ่
   ส่วนราชการระดับกรม
   กองทุนเงินนอกงบประมาณ
   องค์การมหาชน
   หน่วยงานอิสระ   และอื่น ๆ
                                                65
การนำา เสนอรายงาน

  หน่วยงานภาครัฐ (ระดับกรม)

       ส่วนกลาง        x          ส่วนภูมิภาค
             รายการระหว่างกันภายในกรม
               งบทดลองส่ว นกลาง
งบทดลองจัง หวัด สินทรัพย์
               
 สินทรัพย์
                หนี้สิน
 หนี้สิน
                ทุน
 ทุน
                รายได้/คชจ.
 รายได้/คชจ.    ภายนอก
  ภายนอก        ราย
 ราย            ได้/คชจ.ภายใน
  ได้/คชจ.ภายใน หน่วยงาน                        66
ส่ว นประกอบรายงานการเงิน

งบแสดงฐานะการเงิน
งบรายได้และค่าใช้จ่าย
งบกระแสเงินสด
หมายเหตุประกอบงบการเงิน




                           67
รูป แบบรายงานการเงิน

มาตรฐานรายงานการเงิน
ส.กรมบัญชีกลางด่วนที่สุด ที่ กค
 0423.2 ว410 ลว.21/11/51 เรื่อง
 รูปแบบรายงานการเงินของหน่วยงาน
 ภาครัฐ



                                   68
งบแสดงฐานะการ
        เงิน
สิน ทรัพ ย์
    สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น       xx
    สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น   xx
รวมสิน ทรัพ ย์                    XX
หนี้ส ิน
    หนี้ส ิน หมุน เวีย น          xx
     หนี้ส ิน ไม่ห มุน เวีย น     xx
รวมหนีส ิน
         ้                        XX
สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ                XX
สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ
ทุน                               xx
รายได้ส ูง (ตำ่า )กว่า คชจ.สะสม   xx
รวมสิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ             XX
                                       69
งบแสดงฐานะการ
      เงิน

สิน ทรัพ ย์
สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น
   เงิน สดและรายการเทีย บเท่า xx
เงิน สด
   ลูก หนีร ะยะสั้น
           ้                   xx
   รายได้ค ้า งรับ             xx
   เงิน ลงทุน ระยะสั้น         xx
   สิน ค้า และวัส ดุค งเหลือ   xx
   สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย นอื่น xx
รวมสิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น     xx


                                    70
งบแสดงฐานะการ
       เงิน

สิน ทรัพ ย์
สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น
   ลูก หนีร ะยะยาว
           ้                          xx
   เงิน ลงทุน ระยะยาว                 xx
   ทีด น อาคาร และอุป กรณ์ (สุxx )
     ่ ิ                               ท ธิ
(สุท ธิ)ทรัพ ย์โ ครงสร้า งพืน ฐาน xx
   สิน                        ้
xx สิน ทรัพ ย์ท ไ ม่ม ต ัว ตน (สุท ธิ)
                 ี่   ี
   สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย นอื่น xx
รวมสิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น        xx



                                              71
งบแสดงฐานะการ
       เงิน

หนีส ิน
   ้
หนีส ิน หมุน เวีย น
     ้
  เจ้า หนีร ะยะสัน
           ้        ้            xx
  ค่า ใช้จ า ยค้า งจ่า ย
             ่                   xx
  รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง xx
  เงิน ทดรองรับ จากคลัง ระยะสัน   ้
                                 xx
  เงิน รับ ฝากระยะสัน  ้        xx
  เงิน กูร ะยะสั้น
          ้                     xx
  หนีส ิน หมุน เวีย นอื่น
      ้                         xx
รวมหนีส ิน หมุน เวีย น
        ้                       xx


                                      72
งบแสดงฐานะการ
      เงิน
หนีส ิน
   ้
หนีส ิน ไม่ห มุน เวีย น
     ้
       เจ้า หนี้ร ะยะยาว          xx
       รายได้ร อการรับ รู้ร ะยะยาวxx

ยาวเงิน ทดรองรับ จากคลัง ระยะxx
   เงิน รับ ฝากระยะยาว         xx
   เงิน กูร ะยะยาว
           ้                   xx
   หนีส ิน ไม่ห มุน เวีย นอื่น
       ้                       xx
รวมหนีส ิน ไม่ห มุน เวีย น
         ้                     xx



                                       73
งบรายได้แ ละค่า ใช้
          จ่า ย

รายได้จ ากการดำา เนิน งาน                     XX
ค่า ใช้จ ่า ยจากการดำา เนิน งาน
                                (XX) รายได้
สูง /(ตำ่า )กว่า คชจ.จากการดำา เนิน งาน XX
รายได้/(คชจ.)ทีไ ม่เ กิด จากการดำา เนิน งาน
                    ่
    XX
รายได้ส ง /(ตำ่า )กว่า คชจ.จากกิจ กรรมตาม
            ู
ปกติ                             XX
รายการพิเ ศษ                             XX
รายได้ส ูง /(ตำ่า )กว่า ค่า ใช้จ ่า ยสุท ธิ
                                     XX
                                                   74
งบรายได้แ ละค่า ใช้
        จ่า ย


รายได้จ ากการดำา เนิน งาน
  รายได้จ ากรัฐ บาล
    รายได้จ ากงบประมาณ                   XX
    รายได้อ ื่น                          XX
  รายได้จ ากแหล่ง อื่น
    รายได้จ ากการขายสิน ค้า และบริก าร
   XX
    รายได้จ ากเงิน ช่ว ยเหลือ และเงิน บริจ าค
   XX
    รายได้อ ื่น                          XX
                                                75
งบรายได้แ ละค่า ใช้
          จ่า ย

ค่า ใช้จ ่า ยจากการดำา เนิน งาน
     ค่า ใช้จ า ยบุค ลากร
               ่                            XX
     ค่า บำา เหน็จ บำา นาญ                  XX
     ค่า ใช้จ า ยฝึก อบรม
                 ่                          XX
     ค่า ใช้จ า ยเดิน ทาง
                   ่                        XX
     ค่า วัส ดุแ ละใช้ส อย                  XX
     ค่า สาธารณูป โภค                       XX
     ค่า เสื่อ มราคาและค่า ตัด จำา หน่า ย   XX
     ค่า ใช้จ า ยเงิน อุด หนุน
                     ่                      XX
     ค่า ใช้จ า ยอื่น  ่                    XX

                                                 76
หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน

  สรุปนโยบายการบัญชีที่สำาคัญ
  รายละเอียดประกอบงบการเงิน
  รายงานฐานะเงินงบประมาณ
  รายงานรายได้แผ่นดิน




                                 77
หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน
 สรุป นโยบายการบัญ ชีท ี่
  สำา คัญ
- ข้อ มูล ทั่ว ไป
  ภารกิจหลัก ผลผลิตทีสำาคัญ จำานวนบุคลากร ณ
                     ่
    วันสิ้นปี
- หลัก เกณฑ์ใ นการจัด ทำา งบการเงิน
  เกณฑ์คงค้างตามหลักการและนโยบายบัญชี ฉบับ
     2
  หน่วยงานที่รวมอยู่ในงบการเงิน
  รายการทีปรากฏในงบการเงิน (เงินใน+เงินนอก
            ่
     +เงินรายได้แผ่นดิน)
  รูปแบบการแสดงรายการในงบการเงิน           78
หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน

สรุป นโยบายการบัญ ชีท ี่
 สำา คัญ
 - นโยบายบัญ ชี
    ทีดิน อาคารและอุปกรณ์
      ่
    การรับรู้รายได้
    ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย




                                     79
หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน

     รายละเอีย ดประกอบงบการ
      เงิน                  หมายเหตุ
 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด                 3
 ลูกหนีระยะสั้น
       ้                                        4

                             หมายเหตุที่ 4 ลูกหนี้ระยะสั้น
                                 ลูกหนีเงินยืม
                                        ้
หมายเหตุที่ 3 ง/สและรายการเทียบ
                                    xx
เท่าง/ส
                                 ลูกหนีค่าสินค้าและบริการ
                                          ้
      เงินสดในมือ
                                                xx
         xx
                                 ลูกหนีอื่น ้
      เงินฝากสถาบันการเงิน
                              xx
        xx
                                 รวม                         80
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
         รายงานรายได้
           แผ่น ดิน
รายได้แ ผ่น ดิน ทีจ ด เก็บ
                  ่ ั
     รายได้แ ผ่น ดิน -ภาษี               XX
     รายได้แ ผ่น ดิน -นอกจากภาษี         XX
รวมรายได้แ ผ่น ดิน ทีจ ัด เก็บ
                        ่                XX
หัก รายได้แ ผ่น ดิน ถอนคืน จากคลัง
                               XX
      รายได้แ ผ่น ดิน จัด สรรตามกฎหมาย
รายได้แ ผ่น ดิน นำา ส่ง คลัง
   XX
                                (XX)
ปรับ ปรุง รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง XX


                                 -0-          81
หมายเหตุประกอบงบการเงิน
             รายงานฐานะเงิน งบ
               ประมาณ
รายการ         งบ     สำา รอ ใบสัง เบิก
                                  ่                คง
               สุท ธิ งเงิน ซื้อ /สั จ่า ย         เหลือ
                             ญญา
แผนงบ                       ปีป ัจ จุบ ัน
ประมาณ
  ผลผลิต
    งบ....
รายการ           เงิน กัน         เบิก จ่า ย   คงเหลือ
    รวม          สุท ธิ
แผนงบ
ประมาณ                      ปีก ่อ น
  ผลผลิต
    งบ....                                                 82
เป็น ญ ชีม าตรฐาน แนกข้อ มูล
ผัง บัเครื่อ งมือ จำา
ทางการเงิน ให้เ ป็น มาตรฐาน
เดีย วกัน โดยจัด กลุ่ม รายการ
ทางการเงิน ลัก ษณะคล้า ยคลึง กัน
ไว้ด ้ว ยกัน เพื่อ ใช้จ ัด ทำา รายงาน
การเงิน ในระดับ ต่า ง ๆ




                                        83
ผัการใช้
  ง บัญ ชีม าตรฐาน
 ประโยช
 น์
จัดทำารายงานการเงินของหน่วยงาน
จัดทำารายงานการเงินรวมของแผ่นดิน
จัดทำารายงานเพือการบริหาร
                  ่
เก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายบางรายการ
รองรับขั้นตอนการทำางานเฉพาะใน
 ระบบ GFMIS
                                    84
ผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ระดับของข้อมูล   6 ระดับ

1. สิน ทรัพ ย์
 1.1 สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น
  1.1.1 เงิน สดและรายการเทีย บเท่า เงิน สด
               1.1.1.2 เงิน ฝากคลัง และ
               สถาบัน การเงิน ฝากธ.พาณิช ย์
                     1.1.1.2.6 เงิน
                    เพื่อ รับ จ่า ยเงิน กับ คลัง
  1 1 01 02 06 03 เงิน ฝากธนาคาร (เงิน งบ
  ประมาณ)

                                                   85
ผัง บัญ ชีม าตรฐาน
   โครงสร้า งการจัด จำา แนกรายการ
   ในผัง บัญ ชีม าตรฐาน
สิน ทรัพ ย์         หนี้ส น
                          ิ
  หมุน เวีย น            หมุน เวีย น
  ไม่ห มุน เวีย น        ไม่ห มุน เวีย น
ทุน ว นได้เ สีย ของเจ้า ของ
   ส่
  กำา ไรขาดทุน ทีย ง ไม่เ กิด
                 ่ ั
  ขึ้น ของเงิน ลงทุน
รายได้ แ ผ่น ดิน – ค่า ใช้จ ่า ย
  รายได้
  ภาษี                     จากการดำา เนิน งาน
  รายได้แ ผ่น ดิน –        ไม่เ กิด จากการ
  ไม่ใ ช่ภ าษี             ดำา เนิน งาน
  รายได้ข องหน่ว ย         พัก ค่า ใช้จ ่า ย
  งาน (เงิน นอก)           รายการพิเ ศษ         86
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
สินทรัพย์
  ◦ สินทรัพย์หมุนเวียน
        เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
        ลูกหนีหมุนเวียนและรายได้ค้างรับ
               ้
        ลูกหนีระยะสั้นอื่น
                 ้
        เงินลงทุนระยะสั้น
        สินค้าและวัสดุคงเหลือ
        สินทรัพย์หมุนเวียนอืน
                             ่
  ◦ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
      ลูกหนีระยะยาว
             ้
      เงินลงทุนระยะยาว

                                           87
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
  ◦ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ต่อ)
        ที่ดิน
        อาคาร
        ครุภัณฑ์
        สินทรัพย์ทางการทหาร
        สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน
        สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
        สินทรัพย์ถาวรอื่น
        งานระหว่างก่อสร้าง
        สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน
                                ่
หนี้สน
      ิ
  ◦ หนี้สินหมุนเวียน
                                     88
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ◦ หนี้สินหมุนเวียน (ต่อ)
       เจ้าหนี้ระยะสั้น
       ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
       รายได้รับล่วงหน้า
       รายได้แผ่นดินรอนำาส่งคลัง
       เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะสั้น
       เงินยืม-หน่วยงานภาครัฐ
       รายได้รอการรับรู้
       เงินกู้ระยะสั้น
       เงินรับฝากระยะสั้น
       เงินประกัน
       หนี้สินหมุนเวียนอืน
                          ่
                                            89
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
  ◦ หนี้สินไม่หมุนเวียน
        เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว
        เงินยืมระยะยาว
        เงินกู้ระยะยาว
        เงินประกันระยะยาว
        หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น
ส่วนทุน
  ◦ ส่วนได้เสียของเจ้าของ
      รายได้สูง/(ตำ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ
      รายได้สูง/(ตำ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม
      กำาไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่า
       สินทรัพย์
                                                      90
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
  ◦ ส่วนได้เสียของเจ้าของ (ต่อ)
      สำารอง
      ทุน
  ◦ ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
      ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย
รายได้
  ◦ รายได้ภาษี
        รายได้ภาษีทางตรง
        รายได้ภาษีทางอ้อม
        รายได้ภาษีลกษณะอื่น
                     ั
        ปรับมูลค่ารายได้หมวดภาษีอากร

                                          91
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของแผ่นดิน
       รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ
       รายได้จากการขายสินค้าและบริการของแผ่นดิน
       รายได้ดอกเบี้ยของแผ่นดิน
       รายได้เงินปันผลของแผ่นดิน
       รายรับจากการขายสินทรัพย์ของแผ่นดิน
       รายได้อนของแผ่นดิน
                ื่
       ปรับมูลค่ารายได้ที่ไม่ใช่ภาษี
 ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของหน่วยงาน
     รายได้จากการขายสินค้าและบริการของหน่วยงาน
     รายได้จากการช่วยเหลือ อุดหนุน และบริจาคของ
      หน่วยงาน
                                                   92
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของหน่วยงาน (ต่อ)
     รายได้ดอกเบี้ยของหน่วยงาน
     รายได้เงินปันผลของหน่วยงาน
     กำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของ
      หน่วยงาน
     รายรับจากการขายสินทรัพย์ของหน่วยงาน
     รายได้ระหว่างหน่วยงานของหน่วยงานภาครัฐที่ได้
      รับจากรัฐบาล
     รายได้ระหว่างหน่วยงานกรณีอน ื่
     รายได้จากการรับโอนสินทรัพย์และการโอนหนี้สิน
     กำาไรจากการประเมินราคาสินทรัพย์ของหน่วยงาน
     เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสวัสดิการ
      สังคมอื่น
                                                     93
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
ค่าใช้จ่าย
  ◦ ค่าใช้จ่ายดำาเนินงาน
      ค่าใช้จ่ายบุคลากร
      ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม
      ค่าใช้จ่ายเดินทาง
      ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ และสาธารณูปโภค
      ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย
      ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการรักษาความมั่นคงของ
       ประเทศ
      ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน
      หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ
      ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม
                                                     94
โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ◦ ค่าใช้จ่ายทีไม่เกิดจากการดำาเนินงาน
               ่
       ต้นทุนการกู้ยืม
       ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
       ค่าจำาหน่ายจากการขายสินทรัพย์
       ขาดทุนจากการประเมินราคาและการด้อยค่า
        สินทรัพย์ทางการเงิน
       ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภัยพิบัติ
       ค่าใช้จ่ายจากการรับโอนหนี้สิน
       ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานจากรัฐบาล
       ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานกรณีอนื่
       ค่าใช้จ่ายจากการโอนสินทรัพย์
       ค่าใช้จ่ายอืน
                    ่
 ◦ พักค่าใช้จ่าย
                                                    95
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 ภายใต้โ ครงสร้า งการจัด กลุม        ่
 รายการตามรูป แบบการนำา เสนอ
 รายงานการเงิน มีบ ญ ชีท ี่ถ ูก ใช้ง าน
                          ั
 บ่อ ย และบัญ ชีท ี่ส ำา คัญ ดัง นี้
  1. บัญ ชีใ นกลุม เงิน สดและ
                 ่
  รายการเทีย บเท่า เงิน สด
     เงิน สด                  พัก เงิน
     ในมือ                    นำา ส่ง
บัน ทึก รับ เงิน รายได้   บัน ทึก นำา ส่ง เงิน ราย
แผ่น ดิน /เงิน นอก        ได้แ ผ่น ดิน / เงิน
                          นอก


                                                     96
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
   1. บัญ ชีใ นกลุ่ม เงิน สดและ
     เงิน ฝาก
   รายการเทีย บเท่า เงิน สด ฝาก /พัก เงิน
     ธปท . (TR1
                            เงิน
                                  ฝาก KTB ของ
      พัก TR1
                                  บก ./คลัง จัง หวัด
      TR2
 บัน ทึก รับ เงิน เข้า /จ่า ย    บัน ทึก รับ เงิน รายได้
 เงิน ออกเงิน คงคลัง บัญ ชี      แผ่น ดิน /เงิน นอกผ่า น
 ที่ 1 / 2 (9999)                ธ .กรุง ไทย (9999)
      เงิน ฝาก                    เงิน ฝาก KTB
      คลัง                        (งปม ./เงิน นอก )

บัน ทึก เงิน นอกที่ฝ ากกค .      บัน ทึก รับ /จ่า ยเงิน งปม ./
(บัน ทึก โดยตรงเฉพาะ             เงิน นอกที่เ บิก จากคลัง
หน่ว ยงานไม่ไ ด้ ต้อ งทำา        (บัน ทึก รับ โดยระบบ
พร้อ มกับ บัน ทึก เงิน รับ ฝาก   บัน ทึก จ่า ยโดยหน่ว ย          97
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 1. บัญ ชีใ นกลุ่ม เงิน สดและ
 รายการเทีย บเท่า เงิน สด
    เงิน ฝากสถาบัน การเงิน –
    กระแส /ออมทรัพ ย์
บัน ทึก เงิน นอกฝากธ .พาณิช ย์ บัน ทึก โดยระบุ
ZBANK แยกแต่ล ะบ /ช เงิน ฝาก ยกเว้น เงิน
ฝาก interface และไม่หนีแ ละ
  2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก ม ร ายตัว
                  ่      ี ้
  รายได้้ ค า งรับ
   ลูก หนี ้
บัน เงิก เงิม ทีใ ห้ข รก ./พนง . ยืม ในการปฏิบ ัต ิ
    ทึ น ยืน ่
ราชการ เบิก จากเงิน งปม . และเงิน นอกฝาก
คลัง ล้า งออกเมือ ได้ร ับ ชดใช้เ ป็น ใบ
                     ่
สำา คัญ /เงิน สด (คุม รายละเอีย ดในทะเบีย น )         98
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก หนีแ ละ
                ่        ้
 รายได้ค า งรับ
          ้
     เงิน ทดรองราชการ
บัน ทึก ลูก หนีท เ กิด จากคลัง ให้ห น่ว ยงานยืม เงิน
                 ้ ี่
ทดรองราชการเพือ วัต ถุป ระสงค์
                       ่
ต่า ง ๆ (ใช้เ ฉพาะ 9999 ต้อ งบัน ทึก พร้อ มกับ เงิน
ทดรองรับ จากคลัง ของหน่ว ยงาน )
      เงิน ให้
      ยืม /กูย ืม
             ้
 บัน ทึก เงิน ทีใ ห้ห น่ว ยงาน
                  ่
 อื่น /รัฐ วิส าหกิจ /บุค คลทัว ไป ยืม /กู้ย ม ตาม
                              ่              ื
 ภารกิจ ของหน่ว ยงานผู้ใ ห้ย ืม /กู้ย ม นัน
                                        ื ้
                                                   99
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก หนีแ ละ
                ่        ้
 รายได้ค า งรับ
          ้
     ลูก หนีก ารค้า /รายได้ค ้า ง
             ้
     รับ
บัน ทึก ลูก หนีท เ กิด จากการขายสิน ค้า /ให้
               ้ ี่
บริก ารแก่ห น่ว ยงานอื่น /บุค คลทัว ไป
                                  ่
(คุม รายละเอีย ดในทะเบีย น )
     ค้า งรับ
 บัน จากบก .เป็น ลูก หนี้ด ว ยยอดเงิน งปม ./เงิน
     ทึก คลัง              ้
 นอกทีห น่ว ยงานตั้ง เบิก ในระบบระหว่า งทีร อ
         ่                                    ่
 รับ เงิน โอนเข้า บัญ ชีธ นาคารของหน่ว ยงาน
 ระบบบัน ทึก ให้เ อง
                                                   100
เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน
 2. บัญ ชีใ นกลุ่ม ลูก หนีแ ละ
                          ้
 รายได้ค า งรับ
          ้
บัน ทึเงิลูก หนี้ท เ กิด จากการจ่าย น ให้ห น่ว ยงาน
      ก น จ่า ยให้ห น่ว ยงานย่อ ยเงิ
                   ี่
ย่อ ย (ไม่เ ป็น หน่ว ยเบิก จ่า ย ) ภายใต้ส ง กัด กรม
                                           ั
เดีย วกัน ล้า งออกเมือ หน่ว ยงานย่อ ยส่ง ใช้ใ บ
                          ่
สำา คัญ
(คุม รายละเอีย ดในทะเบีค้น และ
    3. บัญ ชีใ นกลุ่ม สิน ย า )
    วัส ดุค งเหลือ
บัน ทึก ส ดุ
       วัรายการประเภทวัส ดุท ซ ื้อ มาเป็น ของ
                                   ี่
       คงคลัง
คงคลัง (ระหว่า งปี) และบัน ทึก ยอดวัส ดุค งเหลือ
(ยัง ไม่ม ก ารเบิก ใช้) ตามทีต รวจนับ ได้จ ริง (สิน
          ี                  ่                    ้
ปี) (ต้อ งระบุร หัส หมวดพัส ดุใ นการบัน ทึก ใน
ระบบ แต่ค วบคุม รายละเอีย ดในทะเบีย นนอก
ระบบ )                                                101
การพิจ ารณาจัด ประเภทสิน ทรัพ ย์ท ี่ซ ื้อ เป็น วัส ดุ หรือ
   เนืภ ัณ ฑ์ มีแง บัญ ชีมนี้
        ้อ หาผั นวทางดัง าตรฐาน
   ครุบัญ ชีใ นกลุ่ม สิน ค้า และ
   3.
1. วัส ดุม ก มีล ก ษณะไม่ค งทนถาวร เป็น การใช้ห มด
           ั     ั
   วัส ดุค งเหลือ (ต่อ )
   เปลือดุค้น ไป แปรสภาพไป หรือ ใช้เ ป็น องค์
      วัส งสิ งคลัง
   ประกอบของสิน ทรัพ ย์อ ื่น และมีอ ายุก ารใช้ง าน
   สั้น ไม่เ กิน 1 ปี
2. วัส ดุบ างชนิด อาจมีล ก ษณะโดยสภาพคงทนถาวร
                                 ั
   และใช้ง านได้น าน แต่ม ีม ล ค่า ไม่ส ูง โดยการใช้
                                       ู
   งานอาจสูญ หายได้ง า ย หรือ ไม่ค ุ้ม ค่า ที่จ ะ
                                     ่
   ซ่อ มแซม ขณะที่ว ัส ดุบ างชนิด อาจมีล ก ษณะเสีย ั
   หายได้ง า ย แต่ม ีม ล ค่า สูง การพิจ ารณาสิน ทรัพ ย์
               ่               ู
   ว่า เป็น วัส ดุ จึง ต้อ งพิจ ารณาหลายอย่า งประกอบ
   กัน
3. แม้ว ่า วัส ดุท ี่ใ ช้ง านทัว ไปมัก จะมีม ล ค่า ไม่ส ูง แต่
                                   ่         ู
   การพิจ ารณาบัน ทึก บัญ ชีว ัส ดุ ไม่ไ ด้ใ ช้เ กณฑ์
   มูล ค่า ต่อ หน่ว ยตัง แต่ 5,000 บาท ขึ้น ไป สิ่ง ของ
                           ้
   บางอย่า งอาจมีล ก ษณะเป็น ครุภ ัณ ฑ์แ ม้ว ่า จะมี
                             ั
                                                               102
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)Nattakorn Sunkdon
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัยguest9e1b8
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)Prachyanun Nilsook
 
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) i_cavalry
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานMypoom Poom
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชNattakorn Sunkdon
 
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุนkrupeem
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาVisiene Lssbh
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานdgnjamez
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 

La actualidad más candente (20)

แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านอาหาร(Restuarant)
 
Life style english
Life style englishLife style english
Life style english
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย9 รูปแบบการวิจัย
9 รูปแบบการวิจัย
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน) ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
ตย.ปกงานวิจัย (การรายงาน)
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราชตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
ตัวอย่างแผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวเยาวราช
 
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน7.1  ความหมายของการออม และการลงทุน
7.1 ความหมายของการออม และการลงทุน
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57Pat2 มี.ค. 57
Pat2 มี.ค. 57
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 

Destacado

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลYeah Pitloke
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณชญานิษฐ์ ทบวัน
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุJaturapad Pratoom
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณWeIvy View
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)peter dontoom
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)ประพันธ์ เวารัมย์
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)ประพันธ์ เวารัมย์
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีOrawonya Wbac
 
Ch01 lecture
Ch01 lectureCh01 lecture
Ch01 lecturepaka10011
 
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย techno UCH
 

Destacado (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงินสรุปแนวข้อสอบการเงิน
สรุปแนวข้อสอบการเงิน
 
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน   นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง  - จัดเก็บรายได้ ...
แนวข้อสอบเจ้าพนักงาน นักวิชาการฯ - การเงินและบัญชี - คลัง - จัดเก็บรายได้ ...
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการบริหารการคลัง และงบประมาณ
 
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุรายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
รายงานเรื่อง การบริหารงานบัญชี การเงินและพัสดุ
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
การบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณการบริหารจัดการงบประมาณ
การบริหารจัดการงบประมาณ
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
แบบทดสอบความรู้ความสามารถทั่วไป (เฉลย)
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 2)
 
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อแนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
แนวข้อสอบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ.2551 (ชุดที่ 1)
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษีใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
ใบงานวิชาบัญชีเกี่ยวกับภาษี
 
Ch01 lecture
Ch01 lectureCh01 lecture
Ch01 lecture
 
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
เอกสารบรรยาย ประชุมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพัสดุ อ.ประนอม ผาสุกกาย
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
ระเบียบพัสดุ ๒๕๓๕
 

Similar a มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ

บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)Link Standalone
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327CUPress
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่marena06008
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountNattakorn Sunkdon
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56nachol_fsct
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างnachol_fsct
 

Similar a มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ (20)

บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
บรรยาย ป้องกันประเทศ (Y54)
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
Ac01
Ac01Ac01
Ac01
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
ภารหน้าที่
ภารหน้าที่ภารหน้าที่
ภารหน้าที่
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
1148636319 1
1148636319 11148636319 1
1148636319 1
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccountตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
ตัวอย่างแผนธุรกิจSenateaccount
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
ชุมนุมสหกรณ์ 22 ม ค 56
 
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้างการบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
การบริหารสหกรณ์ออมทรัพย์ในภาวะเศรษฐกิจโลกมีปัญหาและเศรษฐกิจไทยปรับโครงสร้าง
 
Ec961
Ec961Ec961
Ec961
 
การเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงานการเปลี่ยนสายงาน
การเปลี่ยนสายงาน
 

Más de Sureeraya Limpaibul

Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลังNano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลังSureeraya Limpaibul
 
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)Sureeraya Limpaibul
 
2012 grandlinux presentation-ticta
2012 grandlinux presentation-ticta2012 grandlinux presentation-ticta
2012 grandlinux presentation-tictaSureeraya Limpaibul
 
20081002 01 Saeree ชุดเล็ก
20081002 01 Saeree ชุดเล็ก20081002 01 Saeree ชุดเล็ก
20081002 01 Saeree ชุดเล็กSureeraya Limpaibul
 

Más de Sureeraya Limpaibul (6)

Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลังNano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
Nano Finance - สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
 
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)
2014 Saeree ERP for goverment - (Burapha University)
 
2012 grandlinux presentation-ticta
2012 grandlinux presentation-ticta2012 grandlinux presentation-ticta
2012 grandlinux presentation-ticta
 
Ossf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdfOssf2012 gls-final.pdf
Ossf2012 gls-final.pdf
 
20081002 01 Saeree ชุดเล็ก
20081002 01 Saeree ชุดเล็ก20081002 01 Saeree ชุดเล็ก
20081002 01 Saeree ชุดเล็ก
 
Saeree ERP 2007
Saeree ERP 2007Saeree ERP 2007
Saeree ERP 2007
 

มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ

  • 1. มาตรฐานการจัด ทำา บัญ ชี สำา หรับ หน่ว ยงานภาครัฐ 1
  • 2. การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ ผลที่ค าด เครื่อ งมือ หวัง  ต้น ทุน ทีแ ท้จ ริง ่  เกณฑ์ค งค้า ง อัน เกิด จากการ ต้น ทุน ผลผลิต ใช้ท รัพ ยากร  ฐานะการเงิน ที่ รายงาน ในการดำา เนิน  ถูก ต้อ งครบ การ การเงิน ถ้ว น  ความเป็น สากล  มาตรฐานการจัด และโปร่ง ใสของ ทำา บัญ ชีภ าครัฐ  ข้อ มูลด สิน ใจของผู้ การตั ทางบัญ ชี  รายงานการเงิน บริห ารด้ว ยการใช้ และรายงานอื่น ๆ ข้อ มูล ทางบัญ ชีท ม ี ี่ ทีใ ช้ข ้อ มูล ทาง ่ คุณ ภาพมากขึ้น บัญ ชี ทัง ในระดับ หน่ว ย ้
  • 3. การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ เปลี่ย นหลัก การบัญ ชี เกณฑ์ค ง เกณฑ์เ งิน สด ค้า ง ขยายวัต ถุป ระสงค์ข อง การจัด ทำา บัญ ชี ติด ตาม ควบคุม และติด ตาม สถานะการ การใช้ง บประมาณ เงิน และการใช้ ทรัพ ยากร ในการ 3
  • 4. การปฏิร ูป ระบบบัญ ชีภ าครัฐ ขยายขอบเขต การจัด ทำา รายงาน รายงานการเงิน รายงานประกอบการ เพื่อ วัตถุประสงค์ ติดตามงบประมาณ ปรับ แนวทางการกำา หนด ทั่วไป หลัก เกณฑ์ก ารบัญ ชี มาตรฐานการจัดทำาบัญชีภ ระบบบัญชีส่วนราชการ 4
  • 5. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัฐ หลัก การควบคุม ◦ รัฐ บาลควบคุม หน่ว ยงานภาครัฐ  จัด ทำา งบการเงิน รวมของแผ่น ดิน (รัฐ บาล) ◦ หน่ว ยงานภาครัฐ ควบคุม ทรัพ ยากร  กำา หนดหน่ว ยงานทีเ สนอรายงานเป็น ่ หน่ว ยทีม อ ำา นาจ ่ ี ควบคุม ทรัพ ยากร (ระดับ กรม) 5
  • 6. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัฐ หน่ว ยงานภาครัฐ  ถูก ควบคุม โดยรัฐ บาล (มีอ ิท ธิพ ลในการ กำา หนดนโยบายสำา คัญ )  ใช้จ ่า ยเงิน งบประมาณเป็น หลัก ในการ รัดำบาล น งาน (ระยะยาว) ฐ า เนิ ใช้เ งิน งบ ควบคุม ประมาณ บัญ ชี เป็น ส่ว น รัฐ บา ใหญ่ ล (999 9) ไม่ใ ช่ หน่ว ยงาน ภาครัฐ 6
  • 7. 1. รัฐ บาลควบคุม +ไม่ใ ช้ 4. ไม่ถ ูก รัฐ บาลควบคุม +ไม่ เงิน งปม. >> เป็น ใช้เ งิน งปม. >> ไม่เ ป็น  ทุน หมุน เวีย น ธนาคารแห่ง 2. ไม่ถ ูก รัฐ บาล 5. รัฐบาลควบคุม +ไม่ใ ช้ ประเทศไทย ควบคุม +ใช้เ งิน งปม. >> เงิน งปม. >> ไม่เ ป็น เป็น 6. ไม่ถรัฐ วิส าหกิจ ไม่ใม +ใช้ 3. รัฐ บาลควบคุม +ใช้  ูก รัฐ บาลควบคุ ช้ง เงิน งปม. >> เป็นส ระตา  หน่ว ยงานอิ เงิน งปม. เช่นไม่เ ป็น ปม. >> ปตท.  มรธน. ส่ว นราชการ  ไม่ม ี (มีเ พีย งใช้ง รัฐ บาล ใช้เ งิน งบ ปม.บางส่ว น) ควบคุม ประมาณ 1 3 เป็น ส่ว น 2 ใหญ่ 7 5 6 4 7. รัฐ บาลควบคุม +ใช้เ งิน ง ไม่ใ ช่ ปม. >> ไม่เ ป็น หน่ว ยงาน ภาครัฐ 7
  • 8. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัฐ หน่ว ยงานภาครัฐ  แต่ล ะหน่ว ยเบิก จ่า ยภายใต้ห น่ว ย งาน(กรม)เดีย วกัน บัน ทึก รายการ ของ ตนเองเป็น หน่ว ยทางบัญ ชีแ ยกจากกัน  ทุก หน่ว ยเบิก จ่า ยภายใต้ห น่ว ยงานรวม หน่ว กัน จัด ทำา งบการเงิน 1 ชุด ย เบิก จ่า ย หน่ว ( ลูก ย หน่ว 1) เบิก ยเบิก จ่า ย จ่า ย( หน่ว ( ลูก ย 2) แม่) เบิก จ่า ย 8
  • 9. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัฐ รายการระหว่า งกัน 3 ระดับ รัฐ บาล(9999) – รายได้/ค่า หน่ว ยงาน ใช้จ ่า ย หน่ว ยงาน – (BP) หน่ว ยงาน รายได้/ค่า หน่ว ยเบิก จ่า ย – ใช้จ ่า ย หน่ว ยเบิก จ่า ย (BP) (ภายใต้ห น่ว ย รายได้/ค่า 9
  • 10. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัฐ การบัน ทึก บัญ ชีต ามความรับ ผิด ชอบ ◦ รายการทีอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ ไม่จำากัด ่ เฉพาะความเป็น เจ้าของ เช่น ทีดินราชพัสดุ ่ เน้น ผลผลิต มากกว่า ประเภทเงิน ◦ บันทึกเงินในงบประมาณ และเงินนอก ประมาณในลักษณะเดียวกัน ตามรายการทีเกิดขึ้น ่ 10
  • 11. แนวคิด ในการกำา หนดหลัก การบัญ ชีภ าค รัป ขอบเขตของการบัน ทึก รายการ สรุ ฐ แต่ล ะองค์ป ระกอบในงบการเงิน สิน ทรัพ ย์ - ควบคุม ประโยชน์ก าร ใช้ง าน อยู่ใ นความดูแ ลรับ ผิด ชอบ หนี้ส ิน - ภาระผูก พัน ทีต ้อ ง ่ ชดใช้ อยู่ใ นความดูแ ลรับ ผิด ชอบ ทุน - สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิเ มื่อ เริ่ม เกณฑ์ค งค้า ง/ตัง หน่ว ยงาน ้ สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิเ ปลี่ย นแปลง 11
  • 12. มาตรฐานการจัด ทำา บัญ ชีภ าครัฐ หลักการและนโยบายบัญช มาตรฐานรายงานการเงิน ผังบัญชีมาตรฐาน 12
  • 13. มาตรฐานบัญ ชีท ี่ใ ช้อ ้า งอิง IPSAS (International Public Sector Accounting Standards) มาตรฐานการบัญ ชีไ ทย IAS (International Accounting IFRS Standards) (International 13
  • 14. ขอบเขตการถือ ปฏิบ ัต ิต ามหลัก การและ นโยบายบัญ ชีฯ ส่ว นราชการระดับ กรม หน่ว ยงานภาครัฐ ลัก ษณะพิเ ศษ  หน่วยงานอิสระตามรัฐธรรมนูญ  องค์การมหาชน  หน่วยงานอิสระทีตั้งขึ้นโดยกฎหมายเฉพาะ ่  กองทุนเงินนอกงบประมาณ 14
  • 15. โครงสร้า งของหลัก การและนโยบาย บัญ ชีฯ หลัก การและนโยบายบัญ ชี ทั่ว ไป หลัก การและนโยบายบัญ ชี แต่ล ะองค์ป ระกอบของ งบการเงิน 15
  • 16. หลัก การและนโยบายบัญ ชีท ั่ว ไป หน่วยงานทีเสนอรายงาน ่ งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน หลักการบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี การดำาเนินงานต่อเนื่อง การโอนสินทรัพย์และหนีสิน ้ รายการพิเศษ รายการทีเป็นเงินตราต่างประเทศ ่ 16
  • 17. ลัก ษณะเชิง คุณ ภาพของงบการเงิน ความเข้าใจได้ ความเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ◦ ความมีนัยสำาคัญ ความเชือถือได้ ่ การเปรียบเทียบกันได้ 17
  • 18. ความเข้า ใจได้ (Understandability) ข้อมูลในงบการเงินต้องสามารถเข้าใจได้ดใน ี ทันทีทผู้ใช้งบการเงินใช้ข้อมูลดังกล่าว ี่ ข้อมูลแม้ว่าจะมีความซับซ้อน แต่ถ้าเกี่ยวข้องกับ การตัดสินใจเชิงเศรษฐกิจก็ไม่ควรละเว้นที่จะ แสดงในงบการเงิน เพียงเพราะเหตุผลทีว่าข้อมูล ่ ดังกล่าวยากเกินกว่าที่ผู้ใช้งบการเงินบางคนจะ เข้าใจได้ ข้อแม้ว่า ◦ ผู้ใช้งบการเงินมีความรู้ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมี ความตั้งใจตามควรทีจะศึกษาข้อมูลดังกล่าว ่ 18
  • 19. ความเกี่ย วข้อ งกับ การตัด สิน ใจ (Relevance) ข้อมูลทีมประโยชน์ต้องเกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ ่ ี ของผู้ใช้งบการเงิน ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิน ใจเชิงเศรษฐกิจได้กต่อเมือข้อมูลนั้นช่วยให้ผู้ใช้งบ ็ ่ การเงินสามารถประเมินเหตุการณ์ในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต รวมทังช่วยยืนยันหรือชี้ข้อผิดพลาด ้ ของผลการประเมินทีผ่านมาของผู้ใช้งบการเงินได้ ่ ข้อพิจารณา ◦ ความมีนยสำาคัญ ั  การไม่แสดงข้อมูลหรือการแสดงข้อมูลผิดพลาด มีผลกระทบต่อผู้ใช้งบการเงินในการตัดสินใจ เชิงเศรษฐกิจ ความมีนัยสำาคัญขึ้นอยูกับขนาด ่ ของรายการหรือขนาดของความผิดพลาดที่เกิด ขึ้นภายใต้สภาพการณ์เฉพาะซึ่งต้องพิจารณา 19
  • 20. ความเชื่อ ถือ ได้ (Reliability)  ข้อมูลที่ไม่มความผิดพลาดที่มีนยสำาคัญ รวม ี ั ทั้งไม่มีความลำาเอียงในการนำาเสนอข้อมูลที่ ทำาให้ข้อมูลไม่ตรงกับความเป็นจริง  ข้อพิจารณา 1. การเป็นตัวแทนอันเที่ยงธรรม 2. เนือหาสำาคัญกว่ารูปแบบ ้ 3. ความเป็นกลาง 4. ความระมัดระวัง 5. ความครบถ้วน 20
  • 21. การเป็น ตัว แทนอัน เที่ย งธรรม ข้อมูลจะมีความเชือถือได้เมื่อรายการและ ่ เหตุการณ์ทางบัญชีได้แสดงอย่างเที่ยง ธรรม ้น งบดุล้องการให้แสดงหรืย์ ควรแสดง ดังนั ตามที่ต ควรแสดงสินทรัพ อ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของ เฉพาะรายการและ เหตุการณ์ทางบัญชีที่เข้าเกณฑ์การรับรู้ รายการ ณ วันที่เสนอรายงาน 21
  • 22. เนือ หาสำา คัญ กว่า รูป แบบ ้ ข้อมูลต้องบันทึกและแสดงตามเนื้อหาและ ความเป็นจริง เชิงเศรษฐกิจ มิใช่ ตามรูหาของรายการและเหตุงอย่างเดียว เนื้อปแบบทางกฎหมายเพียการณ์ทาง บัญชีอาจไม่ตรงกับรูปแบบทางกฎหมาย หรือรูปแบบที่ทำาขึ้น 22
  • 23. สัญ ญาเช่า  สัญ ญาเช่า การเงิน Dr. สิน ทรัพ ย์ xx Cr. เจ้า หนีส ัญ ญาเช่า การเงิน ้ xx Dr. เจ้า หนีส ัญ ญาเช่า การเงิน ้ xx Cr. เงิน สด/เงิน ฝากธนาคาร xx  สัญ ญาเช่า ดำา เนิน งาน Dr. ค่า เช่า xx Cr. เงิน สด/เงิน ฝากธนาคาร xx
  • 24. ความเป็น กลาง ข้อมูลที่แสดงอยู่ในงบการเงินมีความน่า เชือถือเมื่อมีความเป็นกลาง หรือปราศจาก ่ ความลำาเอียง งบการเงินจะขาดความเป็นก ลาง ลทำาให้ผใช้งบการเงินตัดสินใจหรือใช้ มีผหากการเลือกข้อมูลหรือการแสดง ู้ ข้อมูลในงบการเงินนั้น จการ ดุลยพินจตามเจตนาของกิ ิ 24
  • 25. ความระมัด ระวัง การใช้ดุลยพินจที่จำาเป็นในการประมาณการ ิ ภายใต้ความไม่แน่นอน เพื่อมิให้สนทรัพย์ ิ หรือรายได้แสดงจำานวนสูงเกินไป และหนี้สน ิ หรือค่าใช้จ่ายแสดงจำานวนตำ่าเกินไป แต่ไม่ใช่จะทำาการตั้งค่าเผือหรือสำารองสูงเกิน ่ ความเป็นจริง 25
  • 26. ความครบถ้ว น ข้อมูลในงบการเงินที่เชือถือได้ต้องครบถ้วน ่ ภายใต้ข้อจำากัดของความมีนัยสำาคัญและ ต้นทุนในการจัดทำา รายการบางรายการ หากไม่แสดงในงบการเงินจะทำาให้ข้อมูลมี ความผิดพลาด หรือ ทำาให้ผใช้งบการเงิน ู้ เข้าใจผิด ดังนั้น ข้อมูลดังกล่าวจะมีความ เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจน้อยลงและขาด ความน่าเชือถือได้ ่ 26
  • 27. การเปรีย บเทีย บกัน ได้ (Comparability) ผูใช้งบการเงินต้องสามารถเปรียบเทียบ ้ งบการเงินของกิจการ ในรอบระยะเวลา ต่างกันเพื่อคาดคะเนถึงแนวโน้มของ ฐานะการเงินและผลการดำาเนินงานของ กิจการนั้น 27
  • 28. การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น ิ รับรู้มลค่าสุทธิตามบัญชีของ ู ส/ท หรือ น/ส เป็นส่วนทุนของหน่วยงานผูโอน ้ และผู้รับโอน รับรู้มลค่าสุทธิตามบัญชีของ ู ส/ท หรือ น/ส เป็นค่าใช้จาย ่ และรายได้ของหน่วยงานผู้โอนและ ผู้รับโอน 28
  • 29. การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ ) ิ โอนตามนโยบายรัฐบาล เช่น ยุบเลิกหน่วย งาน หน่วยงานผูโอน ้ เดบิต ค่าเสือมราคาสะสม ่ ทุน เครดิต สินทรัพย์ หน่วยงานผูรับโอน ้ เดบิต สินทรัพย์ เครดิต ค่าเสือมราคาสะสม ่ 29
  • 30. การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ ) ิ หน่วยงานสมัครใจโอน เช่น กองทุนโอนส/ ท ให้สรก. ◦ รถยนต์ราคาทุน 100 อายุ 5 ปี ต้นปีที่ 3 โอนไปให้หน่วยงานอื่น ข้อมูลตามบัญชีของหน่วยงานผู้โอน สินทรัพย์-ราคาทุน 100 ค่าเสือมราคาสะสม ่ 40 30
  • 31. การโอนสิน ทรัพ ย์แ ละหนี้ส น (ต่อ ) ิ หน่วยงานผู้โอน เดบิต ค่าใช้จ่ายโอน ส/ท 60 ค่าเสือมฯ สะสม ่ 40 เครดิต สินทรัพย์ 100 หน่วยงานผู้รับโอน เดบิต สินทรัพย์ (สุทธิ) 60 เครดิต รายได้รับโอนส/ ท 60 31
  • 32. รายการที่เ ป็น เงิน ตราต่า งประเทศ บันทึกเป็นเงินบาท ณ วันที่เกิด รายการ ณ วันที่รายงาน ◦ รายการทีเป็นตัวเงิน ่ ใช้อัตราปิด ◦ รายการทีไม่เป็นตัวเงิน ่ ใช้อัตราวันที่ เกิดรายการ รับรู้ผลต่างจากอัตราแลกเปลี่ยนเป็น รายได้ / ค่าใช้จ่าย เมื่อมีการชำาระเงิน / รายงานรายการที่เป็นตัวเงิน 32
  • 33. หลัก การและนโยบายบัญ ชีแ ต่ล ะองค์ป ระกอบ ของงบการเงิน สินทรัพย์ หนี้สน ิ ส่วนทุน รายได้ ค่าใช้จ่าย 33
  • 34. การรับ รู้ คำานิยาม เกณฑ์การรับรู้ ◦ เป็นไปได้ค่อนข้างแน่ที่จะเกิด เหตุการณ์ ◦ วัดมูลค่าได้อย่างน่าเชือถือ ่ 34
  • 35. คำา นิย าม สินทรัพย์ หนี้สน ิ ◦ ทรัพยากรในความ ◦ เกิดภาระผูกพันใน ควบคุม ปัจจุบัน ◦ เกิดผลประโยชน์ใน ◦ จะเสียทรัพยากรใน อนาคต อนาคต ◦ ศักยภาพในการให้ ◦ ศักยภาพในการให้ บริการเพิมขึ้น ่ บริการลดลง 35
  • 36. ทรัพ ยากรในความควบคุม อาคารบนที่ ราชพัได้ดุ ค่า ตอบ ส รบั ใช้ใ นการ ผลิต ผล แทนการใช้ ใ ผลิต ได้ อนุญ าตหรือ ไม่ใ ช่ ประโยช ปฏิเ สธการ น์ ช่ ใช้ ไม่ใ จากการ ไม่ใ ช่ ขาย ช่ ทรัพ ยาก รใน ความ ควบคุม 36
  • 37. คำา นิย าม ( ต่อ ) รายได้ ค่าใช้จ่าย ◦ ผลประโยชน์ ◦ ผลประโยชน์ (Inflow) เข้า (Outflow) ออก หน่วยงาน จากหน่วยงาน ◦ สินทรัพย์สุทธิ ◦ สินทรัพย์สุทธิลด เพิ่มขึ้น ลง 37
  • 38. รายได้ต ามคำา นิย าม เงิน งบ ประมาณงบ ลงทุน ผลประโยชน์ ใ เข้า หน่ว ย งาน ช่ สิน ทรัพ ย์ส ท ธิ ุ ใ เพิ่ม ขึ้น ช่ ราย ไ ด้ 38
  • 39. นโยบายบัญ ชีท ี่ส ำา คัญ บางรายการ เงินทดรองราชการ รายได้แผ่นดินรอ วัสดุคงคลัง นำาส่งคลัง ที่ดิน อาคาร และ เงินกู้ อุปกรณ์ รายได้จากเงินงบ สินทรัพย์ไม่มตัว ี ประมาณ ตน รายได้แผ่นดิน เจ้าหนี้ กำาไร/ขาดทุนจาก การจำาหน่าย สินทรัพย์ 39
  • 40. เงิน ทดรองราชการ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ - เงินรับจากรัฐบาลเพื่อทดรองจ่าย คชจ.ปลีกย่อยในสนง. เมือใช้จ่ายเงินแล้วต้อง ่ รวบรวมหลักฐานเพือเบิกงปม.มาชดใช้คืน ่ ◦ การรับรู้ - เมือได้รับเงิน พร้อมกับบันทึกเงิน ่ ทดรองราชการรับจากคลัง ◦ •การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อเงินสดและ การบันทึกรายการในระบบ GFMIS รายการเทียบเท่าเงินสด • เมื่อตั้งเบิกเงินทดรองในระบบฯ เดบิต เงิน ทดรองราชการ เครดิต ใบสำาคัญค้างจ่าย 40
  • 41. เงิน ทดรองราชการ ( ต่อ ) • เมื่อรายการตั้งเบิกได้รับอนุมัติ เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง เครดิต T/R – เงินทดรองราชการ • รับรู้เงินทดรองราชการรับจากคลังเมื่อกรมบัญชีกลาง สั่งจ่ายเงินให้หน่วยงาน เดบิต T/E – เงินทดรองราชการ เครดิต เงินทดรองราชการรับจากคลัง เดบิต เงินฝากธนาคาร เครดิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง • ส่วนราชการบันทึกการจ่ายเงินออกไปทั้งจำานวน เดบิต ใบสำาคัญค้างจ่าย เครดิต เงินฝากธนาคาร 41
  • 42. วัส ดุค งคลัง ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ใช้หมดเปลืองสิ้นไปในการ ดำาเนินงานปกติ มูลค่าไม่สูง ปกติไม่คงทนถาวร ◦ การรับรู้ - เมือหน่วยงานตรวจรับของแล้ว และ ่ ปรับปรุงรายการ ณ วันสิ้นปีจากการตรวจนับ ยอดคงเหลือ ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินค้าและวัสดุ คงเหลือ ในกลุ่มสินทรัพย์หมุนเวียน 42
  • 43. ที่ด ิน อาคาร และอุป กรณ์ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ที่มีสภาพคงทนถาวร ให้ ประโยชน์แก่หน่วยงานในระยะยาวเกินกว่า 1ปี มูลค่าต่อรายการตั้งแต่ 5,000 บาท ขึ้นไป ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (จาก การซื้อและจ้างก่อสร้าง) ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ในกลุ่มสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โดย แสดงมูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงิน และเปิด เผยรายละเอียดราคาทุน และค่าเสื่อมราคาสะสม ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 43
  • 44. ที่ด ิน อาคาร และอุป กรณ์ การบันทึกรายการในระบบ GFMIS • บันทึกเมือหน่วยงานตรวจรับ/ตั้งเบิกในระบบฯ ่ เป็นพักสินทรัพย์ และโอนเป็นสินทรัพย์ประเภท นันๆ เมือสร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลัก ้ ่ สินทรัพย์ (รายตัว) ในระบบฯ • บันทึกเป็นพักงานระหว่างก่อสร้าง เมือตรวจรับ ่ งานจ้างก่อสร้างสินทรัพย์ทต้องมีการจ่ายเงิน ี่ หลายงวด โอนเป็นงานระหว่างก่อสร้างเมือ ่ สร้าง/บันทึกรายละเอียดในข้อมูลหลักสินทรัพย์ (รายตัว - งานระหว่างก่อสร้าง) ในระบบฯ จน กระทังการก่อสร้างเสร็จเรียบร้อย จึงโอนงาน ่ ระหว่างก่อสร้างออกเป็นสินทรัพย์ที่เกี่ยวข้อง 44
  • 45. รายจ่า ยภายหลัง การได้ม าซึ่ง สิน ทรัพ ย์  รายจ่ายนันทำาให้หน่วยงานได้รับ ้ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจหรือศักยภาพใน การให้บริการตลอดอายุการใช้งานของ สินทรัพย์เพิ่มขึ้นจากมาตรฐานการปฏิบติ ั งานที่เป็นอยู่ในปัจจุบน ั  อายุการใช้งานนานขึ้นและมีประสิทธิภาพเพิม ่ ขึ้น  ส่งผลให้ผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้นอย่างเห็นได้ชัด  ลดต้นทุนการดำาเนินงานทีประเมินไว้เดิมอย่าง ่ เห็นได้ชัด
  • 46. รายจ่า ยภายหลัง การได้ม าซึ่ง สิน ทรัพ ย์ ( ต่อ )  ทาสีอ าคาร สำา นัก งาน  กั้น ห้อ งเพิ่ม ภายใน ควรรับ รู้ รายการ อาคารสำา นัก งาน อย่า งไร ?  ปรับ ปรุง ห้อ งนำ้า เดิม  จ้า งบริษ ัท ปรับ ภูม ิ ทัศ น์โ ดยรอบ สำา นัก งานด้ว ยการ ถมที่ด ิน 
  • 47. สิน ทรัพ ย์ไ ม่ม ีต ว ตน ั ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – สินทรัพย์ที่ไม่เป็นตัวเงินซึ่งระบุแยก ได้แต่ไม่มรูปร่าง ให้ประโยชน์แก่หน่วยงานใน ี ระยะยาวเกินกว่า 1 ปี เช่น โปรแกรม คอมพิวเตอร์ ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานตรวจรับของแล้ว (กรณี ตรวจรับงานเป็นงวด ๆ บันทึกเป็นสินทรัพย์ ระหว่างพัฒนาไว้จนพัฒนาเสร็จเรียบร้อยจึงโอน ออกเป็นสินทรัพย์ประเภทนัน) ้ ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินทรัพย์ไม่มี ตัวตน ในกลุ่มสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน โดยแสดง มูลค่าสุทธิตามบัญชีในงบการเงิน และเปิดเผย รายละเอียดราคาทุน และค่าตัดจำาหน่ายสะสมใน 47
  • 48. เจ้า หนี้ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันต่อบุคคลอื่นที่เกิดขึ้น ในการดำาเนินงานปกติ ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานได้ตรวจรับ สินค้า/บริการ สินทรัพย์จากผู้ขายแล้ว ◦ การแสดงรายการ – ภายใต้หัวข้อสินทรัพย์ ไม่มตัวตน ในกลุ่มหนีสินหมุนเวียน ตามราคา ี ้ ทุน และเปิดเผยรายละเอียดประเภทเจ้าหนีใน ้ หมายเหตุประกอบงบการเงิน 48
  • 49. รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – เงินที่ได้รับไว้โดยมีภาระจะต้องนำา ส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดินในงวดปีถัดไป ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานปรับปรุงบัญชีสิ้นปี ◦ การแสดงรายการ – แสดงเป็นหนี้สิน หมุนเวียน • ในระบบ GFMIS เมือบันทึกปรับปรุงสิ้นปีแล้ว ่ จะมีการกลับรายการ ณ วันเริ่มต้นปีบัญชีถัด ไป 49
  • 50. เงิน กู้ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – ภาระผูกพันอันเกิดจากเงินที่กู้ยืม จากบุคคลอื่น ◦ การรับรู้ – เมื่อได้รับเงินกู้ หรือเมื่อแหล่งเงินผู้ ให้กู้แจ้งว่าได้เบิกจ่ายเงินกู้ให้แก่เจ้าหนีของ ้ หน่วยงานโดยตรงแล้ว ◦ การแสดงรายการ – แสดงตามราคาทุน โดย แสดงเงินกู้ทมกำาหนดชำาระคืนภายใน 1 ปีและ ี่ ี ส่วนของเงินกู้ระยะยาวทีถึงกำาหนดชำาระคืน ่ ภายใน 1 ปี เป็นหนีสินหมุนเวียน และแสดง ้ เงินกู้ทถึงกำาหนดชำาระคืนเกินกว่า 1 ปี เป็นหนี้ ี่ สินไม่หมุนเวียน 50
  • 51. รายได้จ ากเงิน งบประมาณ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – เงินงบประมาณที่หน่วยงานเบิกจาก คลัง ◦ การรับรู้ – เมื่อหน่วยงานได้รับเงิน/เมือได้รับ ่ หลักฐานแจ้งการจ่ายเงินให้กบผู้มสิทธิแล้ว ั ี เมือได้รับอนุมติการเบิก (จ่าย ่ ั ตรง) หรือเมือตั้งเบิก (จ่ายผ่าน) ่ ◦ การแสดงรายการ – แสดงด้วยยอดสุทธิจากงบ ประมาณเบิกเกินส่งคืนภายใต้หวข้อรายได้จาก ั การดำาเนินงาน ในงบรายได้และค่าใช้จาย ่ และเปิดเผยรายละเอียดประเภทของเงินงบ ประมาณทีเบิกจากคลังก่อนหักยอดเบิกเกินส่ง ่ คืน รวมทังแสดงยอดงบประมาณเบิกเกินส่งคืน ้ 51
  • 52. รายได้จ ากเงิน งบประมาณ ( ต่อ ) • ในระบบ GFMIS • บันทึกรายได้จากเงินงบประมาณเมือหน่วยงาน ่ ตั้งเบิกเข้าสู่ระบบแล้ว กรณีหน่วยงานเลือกวิธี จ่ายเงินเข้าบัญชีเงินฝากฯ หน่วยงาน เดบิต ค้างรับกรมบัญชีกลาง เครดิต T/R – รายได้งปม.จากรัฐบาล (ตามงบ) • บันทึกรายได้จากเงินงบประมาณเมือกรมบัญชี ่ กลางอนุมติสั่งจ่ายเงินเข้าบัญชีผู้ขายแล้ว กรณี ั หน่วยงานเลือกวิธีจ่ายเงินตรงเข้าบัญชีผู้ขาย เดบิต เจ้าหนี้ เครดิต T/R – รายได้งปม.จากรัฐบาล (ตามงบ) 52
  • 53. รายได้แ ผ่น ดิน ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – เงินที่หน่วยงานได้รับและจะต้องนำา ส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ◦ การรับรู้ – เมื่อเกิดรายได้ (ปัจจุบันใช้เกณฑ์ เงินสด) ◦ การแสดงรายการ – แสดงรายได้แผ่นดินจัด เก็บตามมูลค่าขั้นต้น (gross basis) ก่อนหัก รายการใด ๆ และแสดงรายละเอียดรายการหัก ต่าง ๆ ตามลำาดับ ได้แก่ การถอนคืนรายได้ การจัดสรรรายได้ (ยกเว้นตามระเบียบ) การนำาส่งคลัง การปรับปรุงรายได้รอนำาส่งคลัง ไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน 53
  • 54. กำา ไร/ขาดทุน จากการจำา หน่า ยสิน ทรัพ ย์ ตามหลัก การฯ ◦ ลักษณะ – ผลต่างระหว่างเงินที่หน่วยงานได้ รับจากการขายสินทรัพย์ถาวรทีเลิกใช้และ ่ มูลค่าสุทธิตามบัญชีของสินทรัพย์นั้น ณ วันที่ ขาย ◦ การรับรู้ – รับรู้เมื่อส่งมอบสินทรัพย์ให้กับผู้ซื้อ แล้ว ◦ การแสดงรายการ –  หากหน่วยงานเก็บเงินจากการขายไว้ใช้ได้ จะ แสดงกำาไร/ขาดทุนจากการจำาหน่ายสินทรัพย์ ไว้ในหัวข้อรายได้/ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกิดจากการ ดำาเนินงาน  หากหน่วยงานต้องนำาส่งเงินจากการขายเข้า คลัง จะแสดงเงินที่ได้รับจากการขายเป็นรายได้ 54
  • 55. กำา ไร/ขาดทุน จากการจำา หน่า ยสิน ทรัพ ย์ ในระบบ GFMIS ◦ รับรู้เมื่อส่งมอบสินทรัพย์ให้กับผู้ซื้อแล้ว เดบิต เงินสด/เงินฝากธนาคาร เครดิต รายได้จากการจำาหน่ายสินทรัพย์ ◦ จำาหน่ายสินทรัพย์ออกจากระบบฯ เดบิต ค่าจำาหน่ายสินทรัพย์ ค่าเสือมราคาสะสม ่ เครดิต สินทรัพย์ 55
  • 56. นโยบายบัญ ชีภ าครัฐ เฉพาะเรื่อ ง บัต รภาษี ◦ รับรู้หนี้สนจากการออกบัตรภาษีคู่กบค่าใช้จ่าย ิ ั อุดหนุนผูส่งออกเมื่อออกบัตรภาษี ้ ◦ ลดภาระหนี้สินเมื่อมีการนำาบัตรภาษีมาใช้ชำาระ ค่าภาษีหรือบัตรหมดอายุโดยไม่มีการนำามาใช้ ◦ บัตรภาษีที่ได้รับโดยหน่วยงานผูจัดเก็บรายได้ ้ ภาษีจัดเป็นรายการเทียบเท่าเงินสด ◦ เปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติม  บัตรภาษีและบัตรภาษีระหว่างทาง  หนี้สินจากการออกบัตรภาษี (หนี้สินไม่หมุนเวียน)  รายได้เงินชดเชยการส่งออก (จัดสรรจากรายได้ ภาษีเข้าเป็นเงินฝากฯ)  คชจ.เงินอุดหนุนเพื่อชดเชยการส่งออก (มูลค่า 56
  • 57. นโยบายบัญ ชีภ าครัฐ เฉพาะเรื่อ ง หนี้ส าธารณะ ◦ วัดมูลค่าหนี้สินตามจำานวนเงินที่จะต้องจ่าย เพือชำาระภาระผูกพัน (จากการกู้ยืม) วัด ่ จากมูลค่าปัจจุบันของจำานวนเงินที่จะต้อง จ่ายชำาระในอนาคต ◦ รับรู้ส่วนตำ่า/ส่วนเกินมูลค่าพันธบัตรด้วยวิธี อัตราดอกเบี้ยทบต้น (Effective interest method) ไปปรับปรุงดอกเบี้ยจ่ายตลอด อายุ ที่เหลือของพันธบัตร ◦ เปิดเผยข้อมูลเพิมเติม ่  มูลค่าเงินกู้ต้นงวด เปลี่ยนแปลงระหว่างงวด ปลายงวด  อัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาของสัญญาเงินกู้ และ เงือนไขการกูยืมที่สำาคัญ ่ ้ 57
  • 58. รายงานการเงิน หลัก การและนโยบายบัญ ชี ทั่ว ไป หน่วยงานที่เสนอรายงาน งบการเงิน หน่วยงานภาครัฐที่ ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน เป็นหน่วยงานที่ หลักการบัญชี รอบระยะเวลาบัญชี เสนอรายงาน การดำาเนินงานต่อเนือง ต้องจัดทำางบการ ่ การโอนสินทรัพย์และหนี้สนิ เงินเพื่อ รายการพิเศษ วัตถุประสงค์ รายการทีเป็นเงินตราต่างประเทศ ทั่วไป ่ 58
  • 59. รายงานการเงิน เพือ นำา เสนอข้อ มูล เกี่ย วกับ ่ ฐานะการเงิน ผลการดำาเนินงาน กระแสเงินสด 59
  • 62. หลัก เกณฑ์ท ั่ว ไป หลักการและนโยบายบัญชีฯ ฉบับที่ 2 เกณฑ์คงค้าง ความสมำ่าเสมอ ความมีนัยสำาคัญ ข้อมูลเปรียบเทียบ รอบระยะเวลาบัญชี กำาหนดส่งรายงาน 62
  • 63. ความมีน ัย สำา คัญ มีนัยสำาคัญโดย  แยกแสดง ลักษณะ  รวมแสดงกับรายการ มีนัยสำาคัญโดย ลักษณะเดียวกัน ขนาด  รวมแสดงกับรายการ ลักษณะคล้ายกัน ไม่มีนยสำาคัญ ั 63
  • 64. หน่ว ยงานที่เ สนอรายงาน หน่วยงานทีสามารถคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุผลว่า ่ มีผู้ต้องการใช้ประโยชน์จากรายงานการเงินของ หน่วยงานนันเพือการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดสรร ้ ่ ทรัพยากร หน่ว ยงานในระดับ ที่(จะ )ได้ร ับ การจัด สรรและอนุม และ มีอ ำา นาจจัด การทรัพ ยากรการเงิน ในค ส่วนราชการระดับกรม ทุนหมุนเวียน หน่วยงานอิสระ องค์การมหาชน รัฐวิสาหกิจ และอื่น ๆ เช่น งบจังหวัด 64
  • 65. หน่ว ยงานที่เ สนอรายงาน หน่วยงานที่เสนอรายงานซึ่งอยู่ในขอบเขตของการ จัดทำารายงานการเงินในภาพรวมของรัฐบาล ต้อง ส่งรายงานการเงินให้กระทรวงการคลังเพื่อการจัด หน่วยงานในความ หน่วยงานที่ใช้ ทำารายงานการเงินรวมของแผ่นดิน เงินงบประมาณ ควบคุมของรัฐบาล ในการดำาเนิน งานเป็นส่วนใหญ่ ส่วนราชการระดับกรม กองทุนเงินนอกงบประมาณ องค์การมหาชน หน่วยงานอิสระ และอื่น ๆ 65
  • 66. การนำา เสนอรายงาน หน่วยงานภาครัฐ (ระดับกรม) ส่วนกลาง x ส่วนภูมิภาค รายการระหว่างกันภายในกรม งบทดลองส่ว นกลาง งบทดลองจัง หวัด สินทรัพย์   สินทรัพย์  หนี้สิน  หนี้สิน  ทุน  ทุน  รายได้/คชจ.  รายได้/คชจ. ภายนอก ภายนอก  ราย  ราย ได้/คชจ.ภายใน ได้/คชจ.ภายใน หน่วยงาน 66
  • 68. รูป แบบรายงานการเงิน มาตรฐานรายงานการเงิน ส.กรมบัญชีกลางด่วนที่สุด ที่ กค 0423.2 ว410 ลว.21/11/51 เรื่อง รูปแบบรายงานการเงินของหน่วยงาน ภาครัฐ 68
  • 69. งบแสดงฐานะการ เงิน สิน ทรัพ ย์ สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น xx สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น xx รวมสิน ทรัพ ย์ XX หนี้ส ิน หนี้ส ิน หมุน เวีย น xx หนี้ส ิน ไม่ห มุน เวีย น xx รวมหนีส ิน ้ XX สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ XX สิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ ทุน xx รายได้ส ูง (ตำ่า )กว่า คชจ.สะสม xx รวมสิน ทรัพ ย์ส ุท ธิ XX 69
  • 70. งบแสดงฐานะการ เงิน สิน ทรัพ ย์ สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น เงิน สดและรายการเทีย บเท่า xx เงิน สด ลูก หนีร ะยะสั้น ้ xx รายได้ค ้า งรับ xx เงิน ลงทุน ระยะสั้น xx สิน ค้า และวัส ดุค งเหลือ xx สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย นอื่น xx รวมสิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น xx 70
  • 71. งบแสดงฐานะการ เงิน สิน ทรัพ ย์ สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น ลูก หนีร ะยะยาว ้ xx เงิน ลงทุน ระยะยาว xx ทีด น อาคาร และอุป กรณ์ (สุxx ) ่ ิ ท ธิ (สุท ธิ)ทรัพ ย์โ ครงสร้า งพืน ฐาน xx สิน ้ xx สิน ทรัพ ย์ท ไ ม่ม ต ัว ตน (สุท ธิ) ี่ ี สิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย นอื่น xx รวมสิน ทรัพ ย์ไ ม่ห มุน เวีย น xx 71
  • 72. งบแสดงฐานะการ เงิน หนีส ิน ้ หนีส ิน หมุน เวีย น ้ เจ้า หนีร ะยะสัน ้ ้ xx ค่า ใช้จ า ยค้า งจ่า ย ่ xx รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง xx เงิน ทดรองรับ จากคลัง ระยะสัน ้ xx เงิน รับ ฝากระยะสัน ้ xx เงิน กูร ะยะสั้น ้ xx หนีส ิน หมุน เวีย นอื่น ้ xx รวมหนีส ิน หมุน เวีย น ้ xx 72
  • 73. งบแสดงฐานะการ เงิน หนีส ิน ้ หนีส ิน ไม่ห มุน เวีย น ้ เจ้า หนี้ร ะยะยาว xx รายได้ร อการรับ รู้ร ะยะยาวxx ยาวเงิน ทดรองรับ จากคลัง ระยะxx เงิน รับ ฝากระยะยาว xx เงิน กูร ะยะยาว ้ xx หนีส ิน ไม่ห มุน เวีย นอื่น ้ xx รวมหนีส ิน ไม่ห มุน เวีย น ้ xx 73
  • 74. งบรายได้แ ละค่า ใช้ จ่า ย รายได้จ ากการดำา เนิน งาน XX ค่า ใช้จ ่า ยจากการดำา เนิน งาน (XX) รายได้ สูง /(ตำ่า )กว่า คชจ.จากการดำา เนิน งาน XX รายได้/(คชจ.)ทีไ ม่เ กิด จากการดำา เนิน งาน ่ XX รายได้ส ง /(ตำ่า )กว่า คชจ.จากกิจ กรรมตาม ู ปกติ XX รายการพิเ ศษ XX รายได้ส ูง /(ตำ่า )กว่า ค่า ใช้จ ่า ยสุท ธิ XX 74
  • 75. งบรายได้แ ละค่า ใช้ จ่า ย รายได้จ ากการดำา เนิน งาน รายได้จ ากรัฐ บาล รายได้จ ากงบประมาณ XX รายได้อ ื่น XX รายได้จ ากแหล่ง อื่น รายได้จ ากการขายสิน ค้า และบริก าร XX รายได้จ ากเงิน ช่ว ยเหลือ และเงิน บริจ าค XX รายได้อ ื่น XX 75
  • 76. งบรายได้แ ละค่า ใช้ จ่า ย ค่า ใช้จ ่า ยจากการดำา เนิน งาน ค่า ใช้จ า ยบุค ลากร ่ XX ค่า บำา เหน็จ บำา นาญ XX ค่า ใช้จ า ยฝึก อบรม ่ XX ค่า ใช้จ า ยเดิน ทาง ่ XX ค่า วัส ดุแ ละใช้ส อย XX ค่า สาธารณูป โภค XX ค่า เสื่อ มราคาและค่า ตัด จำา หน่า ย XX ค่า ใช้จ า ยเงิน อุด หนุน ่ XX ค่า ใช้จ า ยอื่น ่ XX 76
  • 77. หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน  สรุปนโยบายการบัญชีที่สำาคัญ  รายละเอียดประกอบงบการเงิน  รายงานฐานะเงินงบประมาณ  รายงานรายได้แผ่นดิน 77
  • 78. หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน สรุป นโยบายการบัญ ชีท ี่ สำา คัญ - ข้อ มูล ทั่ว ไป ภารกิจหลัก ผลผลิตทีสำาคัญ จำานวนบุคลากร ณ ่ วันสิ้นปี - หลัก เกณฑ์ใ นการจัด ทำา งบการเงิน เกณฑ์คงค้างตามหลักการและนโยบายบัญชี ฉบับ 2 หน่วยงานที่รวมอยู่ในงบการเงิน รายการทีปรากฏในงบการเงิน (เงินใน+เงินนอก ่ +เงินรายได้แผ่นดิน) รูปแบบการแสดงรายการในงบการเงิน 78
  • 79. หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน สรุป นโยบายการบัญ ชีท ี่ สำา คัญ - นโยบายบัญ ชี ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ่ การรับรู้รายได้ ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย 79
  • 80. หมายเหตุป ระกอบงบการเงิน รายละเอีย ดประกอบงบการ เงิน หมายเหตุ เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 3 ลูกหนีระยะสั้น ้ 4 หมายเหตุที่ 4 ลูกหนี้ระยะสั้น ลูกหนีเงินยืม ้ หมายเหตุที่ 3 ง/สและรายการเทียบ xx เท่าง/ส ลูกหนีค่าสินค้าและบริการ ้ เงินสดในมือ xx xx ลูกหนีอื่น ้ เงินฝากสถาบันการเงิน xx xx รวม 80
  • 81. หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานรายได้ แผ่น ดิน รายได้แ ผ่น ดิน ทีจ ด เก็บ ่ ั รายได้แ ผ่น ดิน -ภาษี XX รายได้แ ผ่น ดิน -นอกจากภาษี XX รวมรายได้แ ผ่น ดิน ทีจ ัด เก็บ ่ XX หัก รายได้แ ผ่น ดิน ถอนคืน จากคลัง XX รายได้แ ผ่น ดิน จัด สรรตามกฎหมาย รายได้แ ผ่น ดิน นำา ส่ง คลัง XX (XX) ปรับ ปรุง รายได้แ ผ่น ดิน รอนำา ส่ง คลัง XX -0- 81
  • 82. หมายเหตุประกอบงบการเงิน รายงานฐานะเงิน งบ ประมาณ รายการ งบ สำา รอ ใบสัง เบิก ่ คง สุท ธิ งเงิน ซื้อ /สั จ่า ย เหลือ ญญา แผนงบ ปีป ัจ จุบ ัน ประมาณ ผลผลิต งบ.... รายการ เงิน กัน เบิก จ่า ย คงเหลือ รวม สุท ธิ แผนงบ ประมาณ ปีก ่อ น ผลผลิต งบ.... 82
  • 83. เป็น ญ ชีม าตรฐาน แนกข้อ มูล ผัง บัเครื่อ งมือ จำา ทางการเงิน ให้เ ป็น มาตรฐาน เดีย วกัน โดยจัด กลุ่ม รายการ ทางการเงิน ลัก ษณะคล้า ยคลึง กัน ไว้ด ้ว ยกัน เพื่อ ใช้จ ัด ทำา รายงาน การเงิน ในระดับ ต่า ง ๆ 83
  • 84. ผัการใช้ ง บัญ ชีม าตรฐาน ประโยช น์ จัดทำารายงานการเงินของหน่วยงาน จัดทำารายงานการเงินรวมของแผ่นดิน จัดทำารายงานเพือการบริหาร ่ เก็บข้อมูลค่าใช้จ่ายบางรายการ รองรับขั้นตอนการทำางานเฉพาะใน ระบบ GFMIS 84
  • 85. ผัง บัญ ชีม าตรฐาน ระดับของข้อมูล 6 ระดับ 1. สิน ทรัพ ย์ 1.1 สิน ทรัพ ย์ห มุน เวีย น 1.1.1 เงิน สดและรายการเทีย บเท่า เงิน สด 1.1.1.2 เงิน ฝากคลัง และ สถาบัน การเงิน ฝากธ.พาณิช ย์ 1.1.1.2.6 เงิน เพื่อ รับ จ่า ยเงิน กับ คลัง 1 1 01 02 06 03 เงิน ฝากธนาคาร (เงิน งบ ประมาณ) 85
  • 86. ผัง บัญ ชีม าตรฐาน โครงสร้า งการจัด จำา แนกรายการ ในผัง บัญ ชีม าตรฐาน สิน ทรัพ ย์ หนี้ส น ิ หมุน เวีย น หมุน เวีย น ไม่ห มุน เวีย น ไม่ห มุน เวีย น ทุน ว นได้เ สีย ของเจ้า ของ ส่ กำา ไรขาดทุน ทีย ง ไม่เ กิด ่ ั ขึ้น ของเงิน ลงทุน รายได้ แ ผ่น ดิน – ค่า ใช้จ ่า ย รายได้ ภาษี จากการดำา เนิน งาน รายได้แ ผ่น ดิน – ไม่เ กิด จากการ ไม่ใ ช่ภ าษี ดำา เนิน งาน รายได้ข องหน่ว ย พัก ค่า ใช้จ ่า ย งาน (เงิน นอก) รายการพิเ ศษ 86
  • 87. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน สินทรัพย์ ◦ สินทรัพย์หมุนเวียน  เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด  ลูกหนีหมุนเวียนและรายได้ค้างรับ ้  ลูกหนีระยะสั้นอื่น ้  เงินลงทุนระยะสั้น  สินค้าและวัสดุคงเหลือ  สินทรัพย์หมุนเวียนอืน ่ ◦ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน  ลูกหนีระยะยาว ้  เงินลงทุนระยะยาว 87
  • 88. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (ต่อ)  ที่ดิน  อาคาร  ครุภัณฑ์  สินทรัพย์ทางการทหาร  สินทรัพย์โครงสร้างพื้นฐาน  สินทรัพย์ไม่มีตัวตน  สินทรัพย์ถาวรอื่น  งานระหว่างก่อสร้าง  สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอืน ่ หนี้สน ิ ◦ หนี้สินหมุนเวียน 88
  • 89. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ หนี้สินหมุนเวียน (ต่อ)  เจ้าหนี้ระยะสั้น  ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย  รายได้รับล่วงหน้า  รายได้แผ่นดินรอนำาส่งคลัง  เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะสั้น  เงินยืม-หน่วยงานภาครัฐ  รายได้รอการรับรู้  เงินกู้ระยะสั้น  เงินรับฝากระยะสั้น  เงินประกัน  หนี้สินหมุนเวียนอืน ่ 89
  • 90. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ หนี้สินไม่หมุนเวียน  เงินทดรองราชการรับจากคลังระยะยาว  เงินยืมระยะยาว  เงินกู้ระยะยาว  เงินประกันระยะยาว  หนี้สินไม่หมุนเวียนอื่น ส่วนทุน ◦ ส่วนได้เสียของเจ้าของ  รายได้สูง/(ตำ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ  รายได้สูง/(ตำ่า) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม  กำาไรขาดทุนที่ยังไม่เกิดขึ้นจากการปรับมูลค่า สินทรัพย์ 90
  • 91. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ ส่วนได้เสียของเจ้าของ (ต่อ)  สำารอง  ทุน ◦ ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย  ส่วนได้เสียของผู้ถือหุ้นส่วนน้อย รายได้ ◦ รายได้ภาษี  รายได้ภาษีทางตรง  รายได้ภาษีทางอ้อม  รายได้ภาษีลกษณะอื่น ั  ปรับมูลค่ารายได้หมวดภาษีอากร 91
  • 92. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของแผ่นดิน  รายได้ค่าธรรมเนียมและบริการ  รายได้จากการขายสินค้าและบริการของแผ่นดิน  รายได้ดอกเบี้ยของแผ่นดิน  รายได้เงินปันผลของแผ่นดิน  รายรับจากการขายสินทรัพย์ของแผ่นดิน  รายได้อนของแผ่นดิน ื่  ปรับมูลค่ารายได้ที่ไม่ใช่ภาษี ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของหน่วยงาน  รายได้จากการขายสินค้าและบริการของหน่วยงาน  รายได้จากการช่วยเหลือ อุดหนุน และบริจาคของ หน่วยงาน 92
  • 93. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ รายได้ที่ไม่ใช่ภาษีของหน่วยงาน (ต่อ)  รายได้ดอกเบี้ยของหน่วยงาน  รายได้เงินปันผลของหน่วยงาน  กำาไรจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศของ หน่วยงาน  รายรับจากการขายสินทรัพย์ของหน่วยงาน  รายได้ระหว่างหน่วยงานของหน่วยงานภาครัฐที่ได้ รับจากรัฐบาล  รายได้ระหว่างหน่วยงานกรณีอน ื่  รายได้จากการรับโอนสินทรัพย์และการโอนหนี้สิน  กำาไรจากการประเมินราคาสินทรัพย์ของหน่วยงาน  เงินสมทบกองทุนประกันสังคมและกองทุนสวัสดิการ สังคมอื่น 93
  • 94. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ค่าใช้จ่าย ◦ ค่าใช้จ่ายดำาเนินงาน  ค่าใช้จ่ายบุคลากร  ค่าใช้จ่ายด้านการฝึกอบรม  ค่าใช้จ่ายเดินทาง  ค่าตอบแทน ใช้สอย วัสดุ และสาธารณูปโภค  ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำาหน่าย  ค่าใช้จ่ายในการดำาเนินการรักษาความมั่นคงของ ประเทศ  ค่าใช้จ่ายเงินอุดหนุน  หนี้สูญและหนี้สงสัยจะสูญ  ค่าใช้จ่ายสวัสดิการสังคม 94
  • 95. โครงสร้า งผัง บัญ ชีม าตรฐาน ◦ ค่าใช้จ่ายทีไม่เกิดจากการดำาเนินงาน ่  ต้นทุนการกู้ยืม  ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ  ค่าจำาหน่ายจากการขายสินทรัพย์  ขาดทุนจากการประเมินราคาและการด้อยค่า สินทรัพย์ทางการเงิน  ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภัยพิบัติ  ค่าใช้จ่ายจากการรับโอนหนี้สิน  ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานจากรัฐบาล  ค่าใช้จ่ายระหว่างหน่วยงานกรณีอนื่  ค่าใช้จ่ายจากการโอนสินทรัพย์  ค่าใช้จ่ายอืน ่ ◦ พักค่าใช้จ่าย 95
  • 96. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน ภายใต้โ ครงสร้า งการจัด กลุม ่ รายการตามรูป แบบการนำา เสนอ รายงานการเงิน มีบ ญ ชีท ี่ถ ูก ใช้ง าน ั บ่อ ย และบัญ ชีท ี่ส ำา คัญ ดัง นี้ 1. บัญ ชีใ นกลุม เงิน สดและ ่ รายการเทีย บเท่า เงิน สด เงิน สด พัก เงิน ในมือ นำา ส่ง บัน ทึก รับ เงิน รายได้ บัน ทึก นำา ส่ง เงิน ราย แผ่น ดิน /เงิน นอก ได้แ ผ่น ดิน / เงิน นอก 96
  • 97. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน 1. บัญ ชีใ นกลุ่ม เงิน สดและ เงิน ฝาก รายการเทีย บเท่า เงิน สด ฝาก /พัก เงิน ธปท . (TR1 เงิน ฝาก KTB ของ พัก TR1 บก ./คลัง จัง หวัด TR2 บัน ทึก รับ เงิน เข้า /จ่า ย บัน ทึก รับ เงิน รายได้ เงิน ออกเงิน คงคลัง บัญ ชี แผ่น ดิน /เงิน นอกผ่า น ที่ 1 / 2 (9999) ธ .กรุง ไทย (9999) เงิน ฝาก เงิน ฝาก KTB คลัง (งปม ./เงิน นอก ) บัน ทึก เงิน นอกที่ฝ ากกค . บัน ทึก รับ /จ่า ยเงิน งปม ./ (บัน ทึก โดยตรงเฉพาะ เงิน นอกที่เ บิก จากคลัง หน่ว ยงานไม่ไ ด้ ต้อ งทำา (บัน ทึก รับ โดยระบบ พร้อ มกับ บัน ทึก เงิน รับ ฝาก บัน ทึก จ่า ยโดยหน่ว ย 97
  • 98. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน 1. บัญ ชีใ นกลุ่ม เงิน สดและ รายการเทีย บเท่า เงิน สด เงิน ฝากสถาบัน การเงิน – กระแส /ออมทรัพ ย์ บัน ทึก เงิน นอกฝากธ .พาณิช ย์ บัน ทึก โดยระบุ ZBANK แยกแต่ล ะบ /ช เงิน ฝาก ยกเว้น เงิน ฝาก interface และไม่หนีแ ละ 2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก ม ร ายตัว ่ ี ้ รายได้้ ค า งรับ ลูก หนี ้ บัน เงิก เงิม ทีใ ห้ข รก ./พนง . ยืม ในการปฏิบ ัต ิ ทึ น ยืน ่ ราชการ เบิก จากเงิน งปม . และเงิน นอกฝาก คลัง ล้า งออกเมือ ได้ร ับ ชดใช้เ ป็น ใบ ่ สำา คัญ /เงิน สด (คุม รายละเอีย ดในทะเบีย น ) 98
  • 99. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน 2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก หนีแ ละ ่ ้ รายได้ค า งรับ ้ เงิน ทดรองราชการ บัน ทึก ลูก หนีท เ กิด จากคลัง ให้ห น่ว ยงานยืม เงิน ้ ี่ ทดรองราชการเพือ วัต ถุป ระสงค์ ่ ต่า ง ๆ (ใช้เ ฉพาะ 9999 ต้อ งบัน ทึก พร้อ มกับ เงิน ทดรองรับ จากคลัง ของหน่ว ยงาน ) เงิน ให้ ยืม /กูย ืม ้ บัน ทึก เงิน ทีใ ห้ห น่ว ยงาน ่ อื่น /รัฐ วิส าหกิจ /บุค คลทัว ไป ยืม /กู้ย ม ตาม ่ ื ภารกิจ ของหน่ว ยงานผู้ใ ห้ย ืม /กู้ย ม นัน ื ้ 99
  • 100. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน 2. บัญ ชีใ นกลุม ลูก หนีแ ละ ่ ้ รายได้ค า งรับ ้ ลูก หนีก ารค้า /รายได้ค ้า ง ้ รับ บัน ทึก ลูก หนีท เ กิด จากการขายสิน ค้า /ให้ ้ ี่ บริก ารแก่ห น่ว ยงานอื่น /บุค คลทัว ไป ่ (คุม รายละเอีย ดในทะเบีย น ) ค้า งรับ บัน จากบก .เป็น ลูก หนี้ด ว ยยอดเงิน งปม ./เงิน ทึก คลัง ้ นอกทีห น่ว ยงานตั้ง เบิก ในระบบระหว่า งทีร อ ่ ่ รับ เงิน โอนเข้า บัญ ชีธ นาคารของหน่ว ยงาน ระบบบัน ทึก ให้เ อง 100
  • 101. เนื้อ หาผัง บัญ ชีม าตรฐาน 2. บัญ ชีใ นกลุ่ม ลูก หนีแ ละ ้ รายได้ค า งรับ ้ บัน ทึเงิลูก หนี้ท เ กิด จากการจ่าย น ให้ห น่ว ยงาน ก น จ่า ยให้ห น่ว ยงานย่อ ยเงิ ี่ ย่อ ย (ไม่เ ป็น หน่ว ยเบิก จ่า ย ) ภายใต้ส ง กัด กรม ั เดีย วกัน ล้า งออกเมือ หน่ว ยงานย่อ ยส่ง ใช้ใ บ ่ สำา คัญ (คุม รายละเอีย ดในทะเบีค้น และ 3. บัญ ชีใ นกลุ่ม สิน ย า ) วัส ดุค งเหลือ บัน ทึก ส ดุ วัรายการประเภทวัส ดุท ซ ื้อ มาเป็น ของ ี่ คงคลัง คงคลัง (ระหว่า งปี) และบัน ทึก ยอดวัส ดุค งเหลือ (ยัง ไม่ม ก ารเบิก ใช้) ตามทีต รวจนับ ได้จ ริง (สิน ี ่ ้ ปี) (ต้อ งระบุร หัส หมวดพัส ดุใ นการบัน ทึก ใน ระบบ แต่ค วบคุม รายละเอีย ดในทะเบีย นนอก ระบบ ) 101
  • 102. การพิจ ารณาจัด ประเภทสิน ทรัพ ย์ท ี่ซ ื้อ เป็น วัส ดุ หรือ เนืภ ัณ ฑ์ มีแง บัญ ชีมนี้ ้อ หาผั นวทางดัง าตรฐาน ครุบัญ ชีใ นกลุ่ม สิน ค้า และ 3. 1. วัส ดุม ก มีล ก ษณะไม่ค งทนถาวร เป็น การใช้ห มด ั ั วัส ดุค งเหลือ (ต่อ ) เปลือดุค้น ไป แปรสภาพไป หรือ ใช้เ ป็น องค์ วัส งสิ งคลัง ประกอบของสิน ทรัพ ย์อ ื่น และมีอ ายุก ารใช้ง าน สั้น ไม่เ กิน 1 ปี 2. วัส ดุบ างชนิด อาจมีล ก ษณะโดยสภาพคงทนถาวร ั และใช้ง านได้น าน แต่ม ีม ล ค่า ไม่ส ูง โดยการใช้ ู งานอาจสูญ หายได้ง า ย หรือ ไม่ค ุ้ม ค่า ที่จ ะ ่ ซ่อ มแซม ขณะที่ว ัส ดุบ างชนิด อาจมีล ก ษณะเสีย ั หายได้ง า ย แต่ม ีม ล ค่า สูง การพิจ ารณาสิน ทรัพ ย์ ่ ู ว่า เป็น วัส ดุ จึง ต้อ งพิจ ารณาหลายอย่า งประกอบ กัน 3. แม้ว ่า วัส ดุท ี่ใ ช้ง านทัว ไปมัก จะมีม ล ค่า ไม่ส ูง แต่ ่ ู การพิจ ารณาบัน ทึก บัญ ชีว ัส ดุ ไม่ไ ด้ใ ช้เ กณฑ์ มูล ค่า ต่อ หน่ว ยตัง แต่ 5,000 บาท ขึ้น ไป สิ่ง ของ ้ บางอย่า งอาจมีล ก ษณะเป็น ครุภ ัณ ฑ์แ ม้ว ่า จะมี ั 102

Notas del editor

  1. เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจถึงที่มาของการทำบัญชีเกณฑ์คงค้างในภาครัฐ จึงเริ่มด้วยการพูดถึงแนวคิดพื้นฐานเหล่านี้ก่อน เรื่องที่สำคัญคือต้นทุนการทำงาน เมื่องปม . ปรับเปลี่ยนเป็นแบบมุ่งเน้นผลลัพธ์ ในเอกสารงปม . ต้องระบุถึงผลผลิตของกรมซึ่งจะเชื่อมโยงไปถึงเป้าหมายการให้บริการระดับกระทรวง มีการพูดถึงผลผลิตซึ่งเป็นงานที่กรมต้องส่งมอบให้แก่ประชาชนผู้รับบริการ และมีการพูดถึงการบริหารภาครัฐแนวใหม่ที่ต้องเน้นประสิทธิภาพ สังเกตได้จากการนำเครื่องมือเพื่อการบริหารมาใช้มากมายโดยกพร . เช่น PMQA KPI รายบุคคล การรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรองของหน่วยงานซึ่งจะต้องระบุถึงผลงานที่วางแผนว่าจะทำภายในปีงปม . ซึ่งนำมาสู่ความต้องการทราบต้นทุนที่แท้จริง (full cost) ของการทำงานของแต่ละกรมในการส่งมอบผลผลิต การใช้ตัวเลขรายจ่ายที่มีการจ่ายเป็นตัวเงินออกไปไม่สามารถสะท้อนถึงต้นทุนจริงดังกล่าวได้ เพราะในการทำงานของสรก . ต้องมีสินทรัพย์ต่าง ๆ ที่ใช้งานได้เกินกว่า 1 ปี ในทางบัญชีต้องมีการกระจายต้นทุนสินทรัพย์เป็นคชจ . ไปตลอดอายุการใช้งานของสินทรัพย์นั้น ดังนั้นจึงเหมาะสมกว่าที่จะทำบัญชีเกณฑ์คงค้างเพื่อวัดมูลค่าทรัพยากรที่มีการใช้หมดไปในการสร้างผลผลิต นอกจากข้อมูลต้นทุน สรก . มีการใช้เงินนอกงปม . มากขึ้น มีการใช้งานสินทรัพย์ถาวรทั้งครุภัณฑ์ อาคาร ต่าง ๆ จำนวนมาก ด้านหนี้สินก็เป็นอีกส่วนหนึ่งซึ่งหน่วยงานราชการควรจะเปิดเผยให้สาธารณชนทราบเพื่อความโปร่งใสตามหลักธรรมาภิบาล การนำบัญชีเกณฑ์คงค้างมาใช้จะทำให้บรรลุความต้องการข้อนี้ได้ดี
  2. ตั้งแต่อดีตส่วนราชการถูกมองเป็นเพียงตัวแทนทำงานให้รัฐบาล เรียกว่าใช้เงินครบก็จบหน้าที่ การทำรายงานจึงมีเพียงการแสดงให้เห็นว่าได้ใช้จ่ายเงินงปม . ที่รัฐจัดสรรให้ได้เท่าไร และเป็นการมุ่งตอบคำถามให้กับรัฐบาลผู้เดียวเฉพาะเรื่องการใช้จ่ายเงินงปม . แต่เมื่อความโปร่งใสเป็นประเด็นถกเถียงกันมากขึ้นทั้งในภาครัฐและเอกชนโดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากช่วงวิกฤตเศรษฐกิจประมาณปี พ . ศ .2540 และมีการพูดกันถึงประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐ การรายงานแต่เพียงการใช้จ่ายเงินงปม . ดูจะไม่ครบถ้วนรอบด้านและยังเป็นการรายงานกันแต่เพียง ”วงใน” ประชาชนผู้เสียภาษีไม่มีโอกาสได้รับรู้ข้อมูลการเงินนี้ แม้ว่าตามพรบ . ข้อมูลข่าวสารคนทั่วไปสามารถขอได้จากสรก . แต่เมื่อไม่มีข้อกำหนดให้สรก . ทำรายงานอื่นนอกจากรายงานการใช้จ่ายเงินงปม . ก็ไม่มีข้อมูลจะให้ ตามหลักบัญชีเกณฑ์คงค้างต้องมีการทำรายงานการเงิน ( งบการเงิน ) เป็นเรื่องสำคัญ การพัฒนาที่สำคัญเรื่องหนึ่งก็คือการกำหนดให้สรก . ต่าง ๆ ต้องแสดงความรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการทางการเงินของตนโดยการจัดทำรายงานการเงิน ( เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป ) ขึ้นและพร้อมจะให้ผู้ที่มีส่วนได้เสียทุกคนได้เห็น คำว่ารายงานการเงินเพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไปก็คือรายงานการเงินอย่างที่ทำกันอยู่ ซึ่งหมายถึงรายงานการเงินที่ทำให้ผู้ใช้ทั่ว ๆ ไป ไม่ได้เจาะจงกลุ่มหนึ่งกลุ่มใด เช่น รองปลัดที่คุมกรม ปลัดกระทรวง รมช . ที่ดูแลกระทรวง ครม . สภาฯ ผู้รับเหมางานกรม นักวิชาการ ประชาชนผู้สนใจทั่วไป ใครก็ได้ ข้อมูลในรายงานให้ไว้เพียงพอแก่การตัดสินใจทางการเงินในภาพรวม เช่น การติดตามการใช้ทรัพยากร แต่อาจไม่มีข้อมูลที่ละเอียดพอสำหรับผู้ใช้ที่มีวัตถุประสงค์เฉพาะ เช่น หากตัดสินใจจะปรับภารกิจกรมโดยการตัดงานบางส่วนโอนไปเป็นตั้งองค์การมหาชนทำแทน ซึ่งกรณีนั้นอาจจำเป็นต้องมีการทำรายงานเฉพาะต่างหาก
  3. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  4. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  5. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  6. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  7. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  8. เน้นที่ผลผลิตมากกว่าประเภทเงิน คือในอดีตส่วนราชการบันทึกการใช้จ่ายเงินงบประมาณเป็นรายจ่าย แต่ไม่บันทึกการใช้จ่ายเงินนอกเป็นรายจ่าย ตามหลักเน้นที่ผลผลิตหน่วยงานต้องบันทึกคชจ . เหมือนกันไม่ว่าจะใช้จ่ายจากเงินงปม . หรือเงินนอก ไม่ว่าจะเป็นเงินนอกประเภทใด เช่น เงินนอกฝากคลัง เงินนอกฝากธ . พาณิชย์ หรือแม้แต่กรณีหน่วยงานไม่ได้รับเงินสด แต่ได้รับเป็นสินทรัพย์ เช่น การรับบริจาค รับความช่วยเหลือ หากหน่วยงานนำมาใช้ในการสร้างผลผลิตก็ถือว่าเป็นทรัพยากรที่นำมาใช้และต้องไปรวมเป็นต้นทุนเหมือนกัน รวมถึงเงินนอกที่หน่วยงานได้รับและมีกฎหมายระบุยกเว้นไว้ให้ไม่ต้องนำส่งคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ก็ถือว่านำไปใช้สร้างผลผลิตเช่นเดียวกัน ไม่แบ่งแยกว่าเงินงปม . บันทึกแบบหนึ่ง ส่วนเงินนอกบันทึกอีกแบบหนึ่ง แต่การบันทึกบัญชีย่อมต้องเป็นไปตามรายการที่เกิดขึ้น เช่น หน่วยงานรับเงินค่าสินบนรางวัลนำจับ แล้วต้องแบ่งเป็นส่วน ๆ ตามระเบียบ ส่วนหนึ่งจ่ายให้คนชี้เบาะแส ส่วนหนึ่งเข้าเป็นรายได้ของหน่วยงานเก็บไว้ใช้จ่ายตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดในระเบียบซึ่งจะต้องจัดสรรเป็นเงินรางวัลจ่ายให้เจ้าหน้าที่ผู้ทำการจับกุมจำนวนหนึ่ง หน่วยงานก็ต้องบันทึกเงินที่กันไว้จ่ายให้บุคคลผู้ชี้เบาะแสเป็นหนี้สิน ส่วนที่เก็บเข้าหน่วยงานบันทึกเข้าเป็นรายได้ ( เงินนอก ) ก่อน และบันทึกคชจ . เมื่อเบิกเงินนอกนั้นไปจ่ายให้จนท . ตามที่จัดสรรให้อีกทีหนึ่ง
  9. การกำหนดหลักการควบคุมจะเป็นประโยชน์ในกรณีพิจารณาว่าหน่วยงานควรบันทึกสินทรัพย์รายการใดหรือไม่ เช่น หน่วยงานขุดบ่อเก็บน้ำให้ท้องถิ่นแล้วยกให้ท้องถิ่นดูแลต่อ ถือว่าบ่อเก็บน้ำนั้นไม่ใช่สินทรัพย์ของหน่วยงานตามหลักการควบคุม เพราะหน่วยงานไม่ได้เป็นผู้ดูแลจัดการรับผิดชอบ และไม่ได้ใช้ประโยชน์จากบ่อเก็บน้ำนั้นในการสร้างผลผลิตตามภารกิจของหน่วยงาน อย่างไรก็ดีในกรณีที่หน่วยงานสร้างสินทรัพย์ให้สาธารณชนใช้ แม้ตัวหน่วยงานเองไม่ได้ใช้แต่หน่วยงานต้องเป็นผู้รับผิดชอบดูแลบริหารจัดการ บำรุงรักษา และหากจะมีการปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมอยู่ในอำนาจของหน่วยงานที่จะให้ความตกลง ก็ถือว่าหน่วยงานควบคุมทรัพยากรรายการนั้นเช่นกัน และต้องบันทึกบัญชีสินทรัพย์ของหน่วยงาน ส่วนเรื่องการใช้หลักการควบคุมเพื่อพิจารณาหน่วยงานที่จะนำมาจัดทำงบการเงินรวมของแผ่นดินนั้น จะถือว่ารัฐบาลควบคุมหากรัฐบาลสามารถเข้าไปมีอิทธิพลในการกำหนดนโยบายการดำเนินงานและ / หรือนโยบายการเงินของหน่วยงาน เช่น ผ่านรมต . ผู้กำกับดูแลกระทรวง
  10. เอกสารทั้ง 3 ฉบับนี้ออกโดยประกาศกระทรวงการคลัง และถือเป็นมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ ซึ่งหน่วยงานต้องถือปฏิบัติ โดยรวมเรียกว่ามาตรฐานเพราะเป็นสิ่งที่หน่วยงานต้องทำตามให้เป็นแบบเดียวกัน ในทางปฏิบัติ หน่วยงานบางแห่งอาจไม่ได้ใช้ผังบัญชีมาตรฐานในการทำงาน เนื่องจากเป็นมาตรฐานที่มีรายละเอียดมาก ไม่เหมือนหลักการและนโยบายบัญชี และมาตรฐานรายงานการเงิน แต่เมื่อหน่วยงานจะต้องส่งข้อมูลงบทดลองเข้าระบบ GFMIS ก็ต้องยึดตามผังบัญชีมาตรฐาน โดยการแปลงข้อมูลเข้าตามรายการในผังบัญชีมาตรฐาน
  11. มาตรฐานที่ใช้เป็นหลักคือมาตรฐานการบัญชีของไทย ซึ่งในปัจจุบันมาตรฐานบัญชีไทยก็ถูกปรับให้เหมือนกับ IAS และมาตรฐาน IPSAS ก็กำหนดตาม IAS โดยสรุปแล้วทั้งหมดก็จะมีเนื้อหาเหมือนกัน
  12. หลักและนโยบายทั่วไปเหมือนกับกฎ กติกา มารยาท ที่เป็นจุดเริ่มต้นและเป็นตัวตีกรอบให้กับการทำงานบัญชีต่อๆ ไป
  13. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน เป็นเหมือนหลักการที่ใช้ในการตัดสินใจในการจัดทำข้อมูล เพื่อนำเสนอในงบการเงิน ซึ่งตัวงบการเงินนี้ถือเป็นหัวใจหลักของการทำบัญชีการเงิน เพราะเป็น สิ่งที่จะเผยแพร่ให้ผู้มีส่วนได้เสียทุกคนได้รับรู้ความเป็นไปทางการเงินของหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน เป็นผลผลิตจากการทำงานบัญชีตลอดทั้งปี ข้อมูลในงบการเงินจึงถือว่ามีความสำคัญและจำเป็นต้องมีหลักยึดว่าควรนำเสนอข้อมูลอย่างไรงบการเงินจึงจะน่าเชื่อถือ
  14. หลักข้อนี้เน้นว่าข้อมูลที่อยู่ในงบการเงินควรจะตอบสนองความต้องการผู้ใช้งบในการใช้ตัดสินใจ ทางการเงิน เช่น ประเมินว่าที่หน่วยงานมีค่าใช้จ่ายสูงมากเมื่อเทียบกับหน่วยงานอื่นๆ โดยทั่วไป เป็นเพราะหน่วยนั้นมีการจ่ายเงินในลักษณะค่าใช้จ่ายอุดหนุนตามนโยบายของรัฐสูงมาก เช่น เงินสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสทางสังคม ข้อมูลจะตอบสนองในลักษณะนี้ได้ หน่วยงานก็ต้องพิจารณาว่าหากคชจ . อุดหนุนของตนให้ผู้ด้อยโอกาสทางสังคมเป็นรายการใหญ่เมื่อเทียบกับคชจ . อื่น ๆ ( มีนัยสำคัญ ) ก็ควรแยกแสดงรายการนี้ออกมาต่างหากให้เห็นชัด เช่น แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน เป็นต้น
  15. ข้อนี้เชื่อมโยงกับหลักเกณฑ์การรับรู้รายการ ที่มี 2 ข้อ คือรายการที่เกิดขึ้นมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่ และสามารถประมาณจำนวนเงินของรายการนั้นได้อย่างน่าเชื่อถือ ถ้าเข้าเกณฑ์นี้แล้วก็ต้องรับรู้รายการนั้นตามหลัก ไม่ว่าการรับรู้รายการนั้น ( บันทึกบัญชีและแสดงในงบการเงิน ) จะทำให้หน่วยงานดูแย่หรือดูดีอย่างไรก็ไม่ควรนำมาคิดว่าจะแสดงรายการนั้นในงบการเงินดีหรือไม่
  16. ข้อนี้ค่อนข้างยากในการนำมาใช้ในภาคราชการ เรื่องที่ชัดเจนที่สุดคือในกรณีสัญญาเช่าการเงินคือโดยรูปแบบสัญญาตามกฎหมายเป็นการจ่ายค่าเช่ารายเดือนเท่านั้เน แต่หากพิจารณาเนื้อแท้ของการตกลงกันในสัญญาก็คือผู้เช่าตั้งใจจะครอบครองเป็นเจ้าของสินทรัพย์ที่เช่านั้น ในทางบัญชีจึงต้องการสื่อให้เห็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ไม่ว่าจะใช้การเขียนคำพูด หรือเงื่อนไขต่าง ๆ ในสัญญาให้ดูเหมือนเป็นเพียงแค่การเช่าก็ตาม แต่ทั้งนี้ต้องมีลักษณะเข้าเงื่อนไขที่ทำให้คนทั่วไปก็จะคิดอย่างเดียวกันว่าแท้จริ่งแล้วก็คือการซื้อสินทรัพย์เพียงแต่จัดการเรื่องการจ่ายเงินในแบบที่ไม่ต้องจ่ายทั้งก้อนทันที ซึ่งการพูดว่าให้ดูเนื้อหาความจริงทางเศรษฐกิจของรายการ ไม่ใช่ดูแต่รูปแบบทางกฎหมายเท่านั้น ก็เป็นข้อที่ยากข้อหนึ่งในบัญชีราชการ เนื่องจากราชการถือกฎ ระเบียบ เป็นหลัก อย่างในกรณีงบประมาณจังหวัด ที่มีการนำไปซื้อสินทรัพย์และนำไปใช้งานที่หน่วยดำเนินการในจังหวัด เช่น ศูนย์ทดลองพืชไร่ในจังหวัด แต่กฎ ระเบียบทำให้ต้องถือว่าสินทรัพย์นั้นเป็นของสนง . จังหวัดในฐานะเจ้าของงปม . จังหวัด แม้ตนเองจะไม่ได้เป็นผู้ใช้งานสินทรัพย์นั้น หากบันทึกบัญชีที่ศูนย์ทดลองพืชไร่ ก็อาจจะทำให้ข้อมูลออกมาขัดต่อระเบียบ และอาจเป็นปัญหากับการตั้งงปม . ดูแลบำรุงรักษาต่อไป จึงต้องให้บันทึกสินทรัพย์ที่จังหวัดตามกฎ ระเบียบ แม้จะไม่สามารถสื่อถึงต้นทุนที่แท้จริงในการทำงานของหน่วยดำเนินการได้ แต่ทั้งนี้ก็เป็นเพราะความไม่ชัดเจนในการแบ่งแยกภารกิจงานและขอบเขตของหน่วยผู้รับผิดชอบด้วย
  17. การโอนสินทรัพย์และหนี้สินที่ใช้หลักการข้อนี้ เป็นการโอนสินทรัพย์จากหน่วยงานหนึ่งไปให้อีกหน่วยงานหนึ่งซึ่งเป็นหนว่ยงานภาครัฐด้วยกัน เช่น ส่วนราชการก . โอนให้ส่วนราชการข . และเป็นการโอนให้ทั้งหมดเนื่องจากหน่วยงานผู้โอนไม่ได้ดำเนินงานต่อไปจากการยุบเลิก กรณีนี้ถือว่าสินทรัพย์หนี้สินที่โอนไปนั้นเป็นการคืนทุนไปสู่เจ้าของคือรัฐบาล เป็นการโยกย้ายทรัพยากรจากการใช้เพื่อภารกิจที่หนึ่งไปที่อื่น จึงถือว่าโอนไปพร้อมกับล้างรายการส่วนทุนออก ส่วนผู้รับโอนถือว่าได้รับสินทรัพย์หนี้สินมาเริ่มตั้งต้นการดำเนินงานของหน่วยงาน เป็นทุนเริ่มแรกที่เจ้าของให้ไว้สำหรับการดำเนินงานต่อ ๆ ไป จึงรับสินทรัพย์และหนี้สินมาพร้อมกับบันทึกเป็นทุน
  18. ปัจจุบันในระบบ GFMIS การโอนส / ท และน / ส ยังมีข้อแตกต่างจากหลักนี้ คือ เมื่อโอนสินทรัพย์ เช่น ครุภัณฑ์ข้ามกรม ลงบัญชีแบบเดียวกัน ไม่ว่าหน่วยงานที่โอนสินทรัพย์ไปจะยุบเลิกหรือยังดำเนินการอยู่ปกติก็ตาม โดยลงบัญชี่ค่าใช้จ่ายโอนสินทรัพย์ที่ผู้โอน และลงบัญชีรายได้รับโอนสินทรัพย์ที่ผู้รับโอน ส่วนสินทรัพย์หนี้สินที่เหลือนอกนั้นจึงบันทึกคู่กับทุนในกรณียุบเลิกหน่วยงาน
  19. การโอนในกรณีนี้เป็นเพียงการยกสินทรัพย์บางรายการให้หน่วยงานภาครัฐอีกแห่งหนึ่งด้วยเหตุผลอื่นใดที่ไม่ใช่การยุบเลิกหน่วยงาน เช่น ให้เพื่อสนับสนุนภารกิจของหน่วยงานผู้รับซึ่งมีส่วนส่งเสริมหรือเกี่ยวเนื่องกับภารกิจของผู้โอน ตัวอย่างเช่น กองทุนแห่งหนึ่งตั้ง่ขึ้นเพื่อการรักษาระดับราคาน้ำมันขายปลีกในประเทศ ซื้อสินทรัพย์เป็นครุภัณฑ์ แล้วโอนให้กับส่วนราชการแห่งหนึ่งซึ่งมีหน้าที่ตรวจตราปราบปรามการลักลอบค้าน้ำมันเถื่อนตามแนวชายแดน เพื่อใช้ลาดตระเวนจับกุมผู้ลักลอบ ถือเป็นการโอนสินทรัพย์ให้โดยสมัครใจเพราะงานของส่วนราชการนั้นมีส่วนป้องกันไม่ให้ระดับราคาน้ำมันเปลี่ยนแปลงมากอันเกิดจากมีน้ำมันเถื่อนเข้ามาในตลาด มูลค่าตามบัญชีของสินทรัพย์ที่โอนไปนั้นจะถูกบันทึกเป็น่คชจ . ของผู้โอน และบันทึกเป็นรายได้ของผู้รับโอนด้วยจำนวนเดียวกัน เนื่องจากเป็นหน่วยงานภาครัฐดัวยกันทั้งคู่
  20. อย่างไรก็ตามในกรณีที่ผู้รับโอนเป็นหน่วยงานภาครัฐ แต่ได้รับโอนมาจากหน่วยงานอื่นที่ไม่ถือเป็นหน่วยงานภาครัฐตามกรอบแนวคิดการควบคุมโดยรัฐบาล ถือว่าสินทรัพย์ที่ได้รับโอนมานั้น ต้องแสดงตามมูลค่ายุติธรรมตามสภาพสินทรัพย์ที่ได้รับโอนมานั้น ซึ่งควรจะสะท้อนถึงประโยชน์ใช้งานในอนาคตที่เหลืออยู่ของสินทรัพย์นั้นเช่นเดียวกับการรับบริจาคเป็นสินทรัพย์ เช่น กรณีส่วนราชการได้รับสินทรัพย์มาจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ถือว่าไม่ได้รับมาจากหน่วยงานภาครัฐ เพราะรัฐบาลไม่ได้ควบคุมการดำเนินงานของอปท . ดังนั้น ส่วนราชการผู้รับโอนต้องบันทึกสินทรัพย์ตามมูลค่ายุติธรรม ( ราคาตลาดในขณะนั้นของสินทรัพย์อย่างเดียวกัน )
  21. การรับรู้รายการนี้ถือเป็นหัวใจสำคัญข้อหนึ่งของหลักการบัญชีเกณฑ์คงค้าง เพราะจะต้องพิจารณาว่าเมื่อไรจึงจะเหมาะสมที่จะบันทึกสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย ซึ่งหากเป็นเกณฑ์เงินสดก็เพียงแต่บันทึกรับและจ่ายเมื่อมีการรับและจ่ายเงินสด แต่เกณฑ์คงค้างมีหลักการทั่วไปว่า รายการที่จะบันทึกต้องมีลักษณะตามคำนิยามของสินทรัพย์ หนี้สิน ทุน รายได้ และค่าใช้จ่าย เสียก่อน เช่น รัฐบาลประกาศนโยบายเรียนฟรี 15 ปี ยังไม่ถือว่าทำให้เกิดรายการใด ๆ ตามคำนิยามขององค์ประกอบของงบการเงินเหล่านั้น ต้องเข่าเกณฑ์การรับรู้ข้อแรกคือมีความเป็นไปได้ค่อนข้างแน่แล้ว เช่น ผู้มีอำนาจอนุมัติรายการที่หน่วยงานขอเบิกจ่ายจากงปม . เพื่ออุดหนุนให้โรงเรียนมาแล้ว ถือว่าเกิดภาระผูกพันจะต้องจ่ายแน่แล้ว เข้าเกณฑ์ข้อสองคือ ทราบจำนวนเงินแม้ไม่แน่นอนแต่ก็ประมาณได้อย่างมีเหตุผลน่าเชื่อถือแล้ว เช่น จำนวนเงินที่ได้รับอนุมัติอาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นลงไปบ้างภายหลังขึ้นอยู่กับว่าจำนวนนักเรียนที่โรงเรียนจะรับเข้าเรียนจะเปลี่ยนแปลงไปจากจำนวนที่ประมาณการไว้เพียงใด แต่ถือว่าจำนวนที่ประมาณได้มีหลักฐานรองรับตามที่ได้ตกลงกันไว้แล้ว
  22. โดยทั่วไปผลประโยชน์ในอนาคตมักถูกมองในรูปตัวเงิน ( ตามลักษณะการใช้สินทรัพย์ของเอกชน ) เช่น รถที่ใช้ขนส่งสินค้าให้ลูกค้า ก็ใช้เพื่อให้เกิดการขายสินค้าได้เงินเข้ากิจการ แต่ในภาครัฐ สินทรัพย์ไม่ได้ใช้เพื่อหาเงินรายได้ สินทรัพย์ภาครัฐจึงเน้นให้ประโยชน์ในอนาคตในรูปศักยภาพในการให้บริการที่เพิ่มขึ้น เช่น ซื้อคอมพิวเตอร์ใหม่เพื่อให้สามารถใช้เก็บข้อมูลให้บริการประชาชนได้รวดเร็วขึ้นมากขึ้น เป็นต้น
  23. คำว่าในความควบคุม อาจเป็นการได้รับประโยชน์ข้อใดข้อหนึงหรือหลายข้อในภาพข้างต้น แต่ส่วนใหญ่พิจารณาจากการใช้ประโยชน์ทรัพยากรนั้นเพื่อการสร้างผลผลิตของหน่วยงาน จึงถือเป็นสินทรัพย์ของหน่วยงาน เช่น ใช้ตึกที่ทำการเป็นสำนักงาน แม้ว่าตึกนั้นจะเป็นที่ราชพัสดุซึ่งให้กระทรวงการคลัง่โดยธนารักษ์เป็นเจ้าของ
  24. ข้อนี้ใช้นิยามของรายได้ตามหลักบัญชีทั่วไปมาตัดสินว่าอะไรบ้างถือเป็นรายได้ ยกตัวอย่าง งบประมาณงบลงทุนที่ส่วนราชการเบิก ได้รับเงินเป็นผลประโยชน์เข้าหน่วยงาน และเมื่อได้เงินมาแล้วไม่ได้มีภาระหนี้สินติดมาด้วย เท่ากับมีสินทรัพย์เพิ่มขึ้นมาอย่างเดียว จึงถือได้ว่าสุทธิแล้วมีสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ถือว่างบลงทุนที่เบิกมานั้นเป็นรายได้
  25. เลือกนโยบายบัญชีที่สำคัญบางรายการขึ้นมาพูด เพื่อให้เห็นว่าตามหลักการกำหนดอย่างไร ซึ่งในทางปฏิบัติตามระบบ GFMIS ในปัจจุบันอาจมีความแตกต่างไปบ้าง
  26. เรื่องกำไรขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์นี้เป็นเรื่องที่ภาครัฐจำเป็นต้องทำแตกต่างจากหลักการทั่วไปอย่างมาก คือไม่มีการรับรู้กำไรหรือขาดทุน เพราะเมื่อหน่วยงานได้รับเงิน่จากการขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้วออกไปก็ถูกบังคับต้องส่งเงินที่ขายได้เข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในทางบัญชีก็ไปบันทึกตามนั้นเป็นรายได้แผ่นดิน แต่มูลค่าตามบัญชีที่เหลือของสินทรัพย์ ณ วันที่มีการจำหน่าย ก็ต้องตัดออกไปจากบัญชีให้หมดเนื่องจากไม่มีสินทรัพย์เหลืออยู่อีกแล้ว เมื่อตัดจำหน่ายสินทรัพย์จึงต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแยกเป็นอีกรายการหนึ่ง จบเรื่องหลักการและนโยบายบัญชีเพียงเท่านี้
  27. เรื่องกำไรขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์นี้เป็นเรื่องที่ภาครัฐจำเป็นต้องทำแตกต่างจากหลักการทั่วไปอย่างมาก คือไม่มีการรับรู้กำไรหรือขาดทุน เพราะเมื่อหน่วยงานได้รับเงิน่จากการขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้วออกไปก็ถูกบังคับต้องส่งเงินที่ขายได้เข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในทางบัญชีก็ไปบันทึกตามนั้นเป็นรายได้แผ่นดิน แต่มูลค่าตามบัญชีที่เหลือของสินทรัพย์ ณ วันที่มีการจำหน่าย ก็ต้องตัดออกไปจากบัญชีให้หมดเนื่องจากไม่มีสินทรัพย์เหลืออยู่อีกแล้ว เมื่อตัดจำหน่ายสินทรัพย์จึงต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแยกเป็นอีกรายการหนึ่ง จบเรื่องหลักการและนโยบายบัญชีเพียงเท่านี้
  28. เรื่องกำไรขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์นี้เป็นเรื่องที่ภาครัฐจำเป็นต้องทำแตกต่างจากหลักการทั่วไปอย่างมาก คือไม่มีการรับรู้กำไรหรือขาดทุน เพราะเมื่อหน่วยงานได้รับเงิน่จากการขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้วออกไปก็ถูกบังคับต้องส่งเงินที่ขายได้เข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในทางบัญชีก็ไปบันทึกตามนั้นเป็นรายได้แผ่นดิน แต่มูลค่าตามบัญชีที่เหลือของสินทรัพย์ ณ วันที่มีการจำหน่าย ก็ต้องตัดออกไปจากบัญชีให้หมดเนื่องจากไม่มีสินทรัพย์เหลืออยู่อีกแล้ว เมื่อตัดจำหน่ายสินทรัพย์จึงต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแยกเป็นอีกรายการหนึ่ง จบเรื่องหลักการและนโยบายบัญชีเพียงเท่านี้
  29. เรื่องกำไรขาดทุนจากการจำหน่ายสินทรัพย์นี้เป็นเรื่องที่ภาครัฐจำเป็นต้องทำแตกต่างจากหลักการทั่วไปอย่างมาก คือไม่มีการรับรู้กำไรหรือขาดทุน เพราะเมื่อหน่วยงานได้รับเงิน่จากการขายสินทรัพย์ที่ไม่ใช้แล้วออกไปก็ถูกบังคับต้องส่งเงินที่ขายได้เข้าคลังเป็นรายได้แผ่นดิน ในทางบัญชีก็ไปบันทึกตามนั้นเป็นรายได้แผ่นดิน แต่มูลค่าตามบัญชีที่เหลือของสินทรัพย์ ณ วันที่มีการจำหน่าย ก็ต้องตัดออกไปจากบัญชีให้หมดเนื่องจากไม่มีสินทรัพย์เหลืออยู่อีกแล้ว เมื่อตัดจำหน่ายสินทรัพย์จึงต้องบันทึกเป็นค่าใช้จ่ายแยกเป็นอีกรายการหนึ่ง จบเรื่องหลักการและนโยบายบัญชีเพียงเท่านี้
  30. เรื่องมาตรฐานรายงานการเงินมีพูดไว้ในหลักการทั่วไป ของเอกสารหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับ หน่วยงานภาครัฐ ( ฉบับที่ 2) โดยชัดเจนว่า หน่วยงานต้องมีการจัดทำรายงานการเงิน
  31. ความหมายทั่วไปของรายงานการเงินต้องแสดงข้อ่มูลทั้ง 3 เรื่องนี้ แต่ในปัจจุบัน ยังไม่มีการกำหนดให้หน่วยงานทำงบกระแสเงินสด มีเพียงงบแสดงฐานะการเงิน และงบรายได้และค่าใช้จ่าย
  32. จะเห็นได้ว่าหลักเกณฑ์ทั่วไปในเรื่องการจัดทำรายงานการเงินส่วนหนึ่งก็อยู่ในหลักการทั่วไป ของหลักการ และนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ และข้อแรกก็กำหนดว่ารายงานการเงินนี้ต้องทำขึ้นจากข้อมูลที่บันทึกไว้ตามข้อกำหนดในหลักการและนโยบายบัญชีสำหรับหน่วยงานภาครัฐ
  33. ตามที่กำหนดไว้ว่า หน่วยงานที่เป็นหน่วยงาน่ที่เสนอรายงานต้อง่จัดทำรายงานการเงิน ( เพื่อวัตถุประสงค์ทั่วไป ) จึงได้นำมาขยายความในแผ่นนี้ว่าใครบ้างที่ต้องจัดทำรายงานการเงิน แต่การทำงบจังหวัดนั้น ดังได้กล่าวไว้ก่อนหน้านี้ในช่วงหลักการและนโยบายบัญชีว่าไม่ได้กำหนดให้เป็นหน่วยงานที่เสนอรายงาน แต่เป็นการทำงบการเงินเพื่อการบริหารมากกว่า
  34. หากภายในหน่วยงานระดับกรม มีรายการที่เกิดขึ้นระหว่างส่วนกลางและภูมิภาค เช่น การโอนเงินนอกจากส่วนกลางไปยังภูมิภาค แม้ว่าทั้งสองหน่วยซึ่งเป็นหน่วยเบิกจ่ายในระบบ GFMIS จะมีฐานะเป็นหน่วยทางบัญชีแยกจากกัน แต่ละฝ่ายมีงบทดลองสมบูรณ์ของตนเอง และทำให้มีการบันทึกรายการโอนเงินระหว่างกันนี้ เป็นรายได้และค่าใช้จ่ายคนละฝั่ง แต่เมื่อมีการจัดทำงบการเงินของกรมในภาพรวม รายได้ของภูมิภาค และค่าใช้จ่ายของส่วนกลาง จะต้องหายไปทั้งคู่ เนื่องจากเมื่อพิจารณาว่ากรมเป็นหน่วยเดียวในภาพรวม รายการที่ส่วนกลางโอนเงินให้ภูมิภาคก็ถือว่าเป็นการหยิบจากกระเป๋าซ้ายไปใส่กระเป๋าขวาไม่ได้มีความหมายใด ๆ ว่าเป็นรายได้หรือค่าใช้จ่ายในสายตาของคนที่อยู่นอกหน่วยงาน รายได้และค่าใช้จ่ายที่จะปรากฏในงบการเงินของกรมจึงต้องมีเพียงรายการที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอกเท่านั้น
  35. ความหมายทั่วไปของรายงานการเงินต้องแสดงข้อ่มูลทั้ง 3 เรื่องนี้ แต่ในปัจจุบัน ยังไม่มีการกำหนดให้หน่วยงานทำงบกระแสเงินสด มีเพียงงบแสดงฐานะการเงิน และงบรายได้และค่าใช้จ่าย