SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 60
Descargar para leer sin conexión
ONET
.
..
..
(–)
()
.__()____()__
...
..
...
..
()
...
)
)
)
)
.
..
..
.
..
..
1
...
__.__
__.__
...
..
...
..
...
___.______.___
...
..
...
..
...
.
..
..
.
..
..
...
2
.
..
..
.
..
..
...
.
..
..
.
..
..
...
)
)
)
)
.
.).)
.).)
.
.)).))
.)).))
3
...
()..().
.,,.
.,,.
().,,.().
.Carthamustinctorius
L.Compositae.
[-]..(.).
.
..
..
.“”
..
..
...
......
:
.
.
..
..
.
.._______.._______
.._______..________
4
.
___.___
___.___
...
..
...
..
(–)
..
-.
-.
-.
-.
..
..
.
..
..
–
..
5
...
.
.
.
.
.
..
..
.
“
”
.
.
.
.
.
“”
.
.
.
.
.
.–.
6
.
.
.
.
–
.
.
.
.
.
.
..
..
.
“
”
..
..
7
.
“
”
..
..
.
..
..
.
..
..
.
.=
+=
..
..
–
,
–
8
.
.
.
.
.
.
..
..
.
..
..
.
.
.
.
.
–
.
.
.
.
.
9
.
.
.
.
.
.
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
10
.
.
.
.
.
.
..http://www.thailand.com
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
..
11
.
)/
)/
)/
)
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
12
.
“”........
.
.
.
.
.
..
.
.
.
.
./
./
.
/
./
“”
-
–
______
______
..
.
.
.
.
13
..
.
.
.
.
.
)“”/
)/
)/
)
..
..
.
.
..
.
.“”
.“”
.
.
.
.
.
.“”
.“”
.“”
.“”
14
.
.
.
.
.
.“”
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
15
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
)/
)/
)/
)
..
..
.
.
.
16
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
)/
)/
)/
)
..
..
.
.
.
.
.
17
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
)/
)/
)/
)
..
..
.
.
.
.
.
18
.
______
..
..
.
.
/
)/
)/
)
..
..
.
..
..
–
()()
()()
.
..
..
19
.
..
..
–
.
.
.
.
.
..
..
.
..
..
–
.
.
.
.
20
.
..
..
.
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
)
)
)
)
21
.)).))
.)).))
.
)
)
)
)
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
22
.
..
..
.
.
.
.
.
.
..
..
.
.
.
.
.
23
O-NET
.
()
.
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.//
.
24
.
.
//
//
//
//
//
.
-
-
-
()
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
()
.
25
.)
.)
/
/
/
/
/
/
/
/
/
.
26
.
[]
//
//()
.
()
()
----
27
.(O-NET)
.
.
.
.
.(O-NET)
.
.
.
.
.(O-NET)
.
.
.
.
.(O-NET)
.
.
.
.
.(O-NET)
.
.
.
.
28
.()(O-NET)
.
.
.
.
.(O-NET)
.
.“”
.
.S
-(O-NET)
..
..
.
..
..
.
..
..
.
..
..
.
..
..
-(O-NET)
.
.
.
.
29
.
..
..
..
..
.
..
..
.()
..
..
.
..
..
.
.
.
.
.
.
..
...
.()
“”
..
..
.
.
.
.
.
30
.
.)
.)
.
-
-
--
--
.
.
.
31
--
--
--
--
--
-
.
-
---
-
-
-
---
----
--
--
---
32
.
-
--
-
-
-
-
-
-
------
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
33
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
*************************************
.
.
.)
.)
.
.
.
.
.
34
.)
.)
.
.
.
................................................................................................................
.................................................................................................
.
..........................................................................
...........................................................................
..........................................................................
.
..............................................................................................................
..............................................................................................................
........................................................................................................
.
.................................................................................................................................
.........................................................................................................................
................................................................................................................................
............................................................................................................................
.............................................................................................................................
.............................................................................................................................
35
...............................................................................................................................
.
.
.
.
.
.
.(Slang)
.
“”
-
)
)
)
)
)
)
)
)
)
)
)
36
-
-
.
)
)
)
)
)
)
)+
)+
)+
.
)
)(
)()
)
)
)
)
)
)
37
)+
)……………………………………………………………
)……………………………………………………………
)……………………………………………………………
)……………………………………………………………
)……………………………………………………………
.
)
)
)
.,
.
+=
.
+=
+=
.,
.
+=,
+=
......
......
......
…..
.....
.....
,
,
.....
.....
......
…..
38
.
+=,
.
+=+=
.,
.
+=,
+=
.
+=,
.
+=+
.+
+=
.+
+=
+=
.+=
+=
+=
.+=
+=
+=
.+=.
+=+
+=+
.....
.....,
.....
.....
......
…..
.....
.....,
39
..()
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.()
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
..
..
O-NET
40
.
)/)/)
/)
..
..
.
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
41
.
..
..
.
.
.
.
.
.
..
..
.()
..
..
.
..
..
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
42
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
..
..
.
.
.
.
.
43
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
)/)
/)
/)/
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
44
.
.
.
.
.
.
****************************************
.)
()(
)
()
.)
.
45
.)
()
.
.
.
..
-…
..
46
..
..
.
.
.
.
•
•
•
.
•
•
•
47
.
•
•
************************************************************
O-NET
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
48
.
.
.
.
.
O-NET
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
()()
()()
.
.
.
.
O-NET
.
.
.
.
.
49
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
O-NET
.
.
.
.
...
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
50
02/02/55
1
อาจารยอาจารยสุพัตราสุพัตรา อุตมังอุตมัง สรุปสาระหลักการใช้ภาษาในข้อสอบ O-NET
๑.เสียง
๒.อักษร
๓.คํา
๔.ประโยค
คําในภาษาไทยประกอบด้วยเสียง ๓
ชนิดได้แก่
เสียงพยัญชนะ
เสียงสระ
เสียงวรรณยุกต์
๑.๑ เสียงพยัญชนะ
พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง โดยมี
หนาที่ดังนี้หนาทดงน
๑.เสียงพยัญชนะตน
ก. เสียงพยัญชนะตนเดี่ยว
๒๑ เสียง เชน บาน สวย งาม
ข. เสียงพยัญชนะตนควบญ
เปนเสียงพยัญชนะตน ๒ เสียงปรากฏเฉพาะใน
ตําแหนงตนพยางค ไดแก ก ข ค ต พ ผ ป ท ที่ควบกับ
ร ล ว เชน ความ พรอม เปลา ฯลฯ
02/02/55
2
๑. เสียงควบกลํ้าที่ได้รับอิทธิพลมาจาก
ภาษาต่างประเทศ มี ๕ เสียง ได้แก่
/บร/ เช่น เบรก บรั่นดี/บร/ เชน เบรก บรนด
/บล/ เช่น บล็อก
/ดร/ เช่น ดรีม ดรัมเมเยอร์
/ฟร/ เช่น ฟรี เฟรนด์
/ฟล/ เช่น แฟลต ฟลูออรีนส์
๒. อักษรนําและคําที่เขียนดวย ทร ออกเสียงเปน ซ
คําเหลานี้ไมจัดเปนเสียงพยัญชนะตนควบ ไดแก
คําที่ใช ห นําพยัญชนะตํ่าเดี่ยว เชน หมอ ใหญ
หวานหวาน
อ นํา ย ไดแก อยา อยู อยาง อยาก
คําที่เขียนดวย ทร แตออกเสียง ซ เชน ทราย ไทร
พุทรา
เสียงพยัญชนะท้าย หรือ พยัญชนะสะกด
แม่กก ใช้รูปพยัญชนะ ก ข ค ฆ
แม่กด ใช้รปพยัญชนะ จ ช ซ ฎ ฏแมกด ใชรูปพยญชนะ จ ช ซ ฎ ฏ
ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส
แม่กบ ใช้รูปพยัญชนะ บ ป พ ภ ฟ
แม่กง ใช้รูปพยัญชนะ ง
แม่กน ใช้รูปพยัญชนะ น ณ ญ ร ล ฬู
แม่กม ใช้รูปพยัญชนะ ม
แม่เกย ใช้รูปพยัญชนะ ย
แม่เกอว ใช้รูปพยัญชนะ ว
ข้อสังเกต
๑. คําบางไม่ปรากฏรูปพยัญชนะสะกด แต่ปรากฏเสียง
พยัญชนะสะกด ได้แก่พยางค์ อํา ไอ ใอ เอา เช่น ขํา ไว้ ใจ
เรา
๒. คําบางคํามีรูปพยัญชนะสะกดที่มีรูปสระกํากับ แต่รูปสระ
นั้น ไม่ออกเสียง เช่น ธาตุ เมรุ ญาติ
๓. พยัญชนะทุกตัวเป็นตัวสะกดได้ ยกเว้น ๙ ตัว ที่เป็น
ตัวสะกดไม่ได้ ได้แก่ ..... ฃ ฅ ฉ ฌ ผ ฝ ห อ ฮ (ฃวดฅนฉิ่ง
เฌอผ้าฝาหีบอ่างฮูก)
๑.๒ เสียงสระ
เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๑ เสียง แบ่งเป็น สระเสยงสระในภาษาไทยม ๒๑ เสยง แบงเปน สระ
เดี่ยว ๑๘ เสียง สระประสม ๓ เสียง
02/02/55
3
สระเดี่ยว
สระเดี่ยวมี ๑๘ เสียง แบ่งเป็น สระเสียงสั้น
๙ เสียง สระเสียงยาว ๙ เสียง ดังนี้๙ เสยง สระเสยงยาว ๙ เสยง ดงน
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว
อะ
อิ
อึ
อา
อี
อื
อุ
เอะ
แอะ
เออะ
โอะ
เอาะ
อู
เอ
แอ
เออ
โอ
ออ
สระประสม
สระประสม หรือ สระเลื่อน เกิดจากการประสม
ของสระเดี่ยว ๒ เสียง เมื่อเริ่มออกเสียงที่สระ
ึ่ ้ ื่ ไป ี่ ึ่ ั ี้หนึง แลวเลือนไปทีสระหนึง ดงนี
สระประสม สระเดี่ยว สระเดี่ยว
เอียะ เอีย
ื / ื
อิ/ อี
ึ/ ื
อะ/อา
/เออะ/เออ
อัวะ/อัว
อ/ออ
อุ/อู
อะ/อา
อะ/อา
ข้อสังเกต
๑. สระ อํา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ปัจจุบันถือเป็น พยางค์
เนื่องจากประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ เสียงวรรณยุกต์
และ เสียงพยัญชนะสะกดที่ไม่ปรากฏรป ดังนี้และ เสยงพยญชนะสะกดทไมปรากฏรูป ดงน
อํา เป็นพยางค์ที่มีเสียง ม เป็นพยัญชนะสะกด
ไอ ใอ เป็นพยางค์ที่มีเสียง ย เป็นพยัญชนะสะกด
เอา เป็นพยางค์ที่มีเสียง ว เป็นพยัญชนะสะกด
ฤ ฤๅ มีเสียงพยัญชนะต้น ร เสียงสระ อึ และอือ
ตามลําดับ และมีเสียงวรรณยุกต์ ตรี และสามัญ
ํ ัตามลําดับ
ฦ ฦๅ มีเสียงพยัญชนะต้น ล เสียงสระ อึ และอือ
ตามลําดับ และมีเสียงวรรณยุกต์ ตรี และสามัญ
ตามลําดับ
02/02/55
4
๒.สระบางเสียงในบางคํา ที่ออกเสียงสั้น
ยาวต่างกับรูปเขียน
อีก รูปเขียนเป็นเสียงยาว แต่ออกเสียงเป็นเสียงสั้น
[อิก] เช่น
ลองอีกทีอาจสําเร็จได้ลองอกทอาจสาเรจได
เกิดเหตุร้ายอีกแล้ว
ออกเสียงเป็นเสียงยาวได้เมื่อเน้นเสียง เช่น
พูดอีก ก็ผิดอีก
นํ้า รูปเป็น อํา แต่ออกเสียงยาว /น้าม/ เช่น
จงประหยัดนํ้า
้ ้ออกเสียงสั้น /นั้ม/ (ในคําประสม) เช่น
นํ้าแข็งที่จําหน่ายในท้องตลาดขณะนี้ยังไม่สะอาดพอ
๑.๓ เสียงวรรณยุกต์
วรรณยุกต์ คือ ระดับเสียงสูงตํ่าที่ทําให้คําเปลี่ยน
ี ๔ ป ๕ ี ั ี้ ี ั ีความหมาย ม ๔ รูป ๕ เสยง ดงน เสยงสามญ เสยง
เอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา แต่มีเครื่องหมายแทน
เสียงวรรณยุกต์เพียง ๔ รูป คือ
ไตรยางศ์ คําเป็น คําตาย
อักษรกลาง ๙ ตัว
ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
เสียงสามัญ
บาน
เสียงเอก
บาด
อักษรสูง ๑๑ ตัว
ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห
เสียงจัตวา
ขา
เสียงเอก
ขาดฐ
อักษรตํ่า
อักษรตํ่าเดี่ยว ๑๐ ตัว
ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล
อักษรตํ่าคู่ ๑๔ ตัว ค
ฅ ฆ ช ฌ ฑ ฒ ท ธ พ
ภ ฟ ซ ฮ
เสียงสามัญ
แคน
สระเสียงสั้น เสียงตรี
คะ คัด
สระเสียงยาวเสียงโท
คาด แนบ
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยเกี่ยวข้องกับ
คําเป็น
ประสมตัวสะกดแม่ กน กง กม เกย เกอวประสมตวสะกดแม กน กง กม เกย เกอว
ประสมด้วยสระเสียงยาว
คําที่ประสมสระ อํา ไอ ใอ เอา ฤๅ ฦๅ
คําตาย
ประสมด้วยสระเสียงสั้น แม่ กด กบ กกประสมดวยสระเสยงสน แม กด กบ กก
ประสมด้วยสระเสียงสั้น แม่ เกย เกอว
02/02/55
5
เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย แบ่งตามระดับเสียง ได้
๒ ประเภท
วรรณยุกต์ระดับ เสียงค่อนข้างคงที่ทั้งตลอดพยางค์
ี ัเสียงสามัญ
เสียงเอก (เสียงตํ่า)
เสียงตรี (เสียงสูง)
วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ เสียงเปลี่ยนแปลงมากระหว่าง
ต้นพยางค์ กับตอนท้าย
่ ่เสียงโท เปลียนจากระดับสูงมาตํา
เสียงจัตวา เปลี่ยนจากตํ่าไปสูง
๑. ขอใดมีเสียงวรรณยุกตครบ ๕ เสียง (O-NET ๕๐)
๑. เจาคุมแคนแสนโกรธพิโรธพี่
ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง เสียงในภาษาไทย
๒. แตเดือนยี่จนยางเขาเดือนสาม
๓. จนพระหนอสุริยวงศทรงพระนาม
๔. จากอารามแรมรางทางกันดาร
เฉลย ข้อ ๑
เจ้า เสียงวรรณยุกต์ โท
คุม เสียงวรรณยุกต์ สามัญ
แค้น เสียงวรรณยกต์ ตรีแคน เสยงวรรณยุกต ตร
แสน เสียงวรรณยุกต์ จัตวา
โกรธ เสียงวรรณยุกต์ เอก
พิ เสียงวรรณยุกต์ ตรี
โรธ เสียงวรรณยุกต์ โท
๒. ขอใดไมมีสระประสม (O-NET ๕๐)
๑. ใครดูถูกผูชํานาญในการชาง
๒ ความคิดขวางเฉไฉไมเขาเรื่อง๒. ความคดขวางเฉไฉไมเขาเรอง
๓. เหมือนคนปาคนไพรไมรุงเรือง
๔. จะพูดดวยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา
เฉลยข้อ ๑
สระประสม
ี ื ัสระ เอีย เอือ อัว
02/02/55
6
๓. ตามธรรมชาติของภาษา ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทั่วไปของ
ภาษา (O-NET ๕๑)
๑. คําเกิดจากการนําเสียงในภาษามาประกอบกันเข้า
๒. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เขียนเรียงความส่งเข้า
ประกวด
๓. ประโยคนี้มี ๒ ประโยครวมกันโดยใช้คําเชื่อมช่วย
เชื่อมความ
๔. ปัจจุบันคนไทยหลายคนพูดเสียงพยัญชนะควบกลํ้า
ไม่ได้เลย
เฉลยข้อ ๒
ลักษณะทั่วไปของภาษา
ใช้เสียงสื่อความหมาย
ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เป็นหน่วยใหญ่ขึ้นไป
เรื่อย ๆ ไม่จํากัด
มีลักษณะเหมือนและต่างกัน
มีการเปลี่ยนแปลง
๔. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา (O-NET ๕๑)
๑. พระเหลือบลงตรงโตรกชะโงกเงื้อม
๒. นํ้ากระเพื่อมแผ่นผาศิลาเผิน
๓. กระจ่างแจ้งแสงจันทร์แจ่มเจริญ
๔. พระเพลิดเพลินพลางเพรียกสําเหนียกใจ
เฉลยข้อ ๑
ข้อ ๒ เผิน
ข้อ ๓ แสง
ข้อ ๔ สําเหนียก
๕. ข้อใดประกอบด้วยพยางค์ที่ออกเสียงสระยาว
ทุกคํา (O-NET ๕๑)
๑. วิ้งว้าง เงินผ่อน แบ่งแยก
๒. วี้ดว้าย เชิญชวน คลอนแคลน
๓. พล้เพล้ ร่องแร่ง จองหอง
๔. รีดกราย ร่อนเร่ ลอดช่อง
เฉลยข้อ ๒
คําที่ออกเสียงสระเสียงสั้น เงินผ่อน
ร่องแร่ง ลอดช่องรองแรง ลอดชอง
02/02/55
7
๖. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นมากที่สุด
(ไม่นับเสียงซํ้า) (O-NET ๕๑)
๑. ใครมาเป็นเจ้าเข้าครอง
ไ๒. คงจะต้องบังคับขับไส
๓. เคี่ยวเข็ญเย็นคํ่ากรําไป
๔. ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย
เฉลยข้อ ๔
เสียงพยัญชนะต้น ได้แก่
๑. คร ม ป จ ข ๕
๒. ค จ ต บ ส ๕
๓. ค ย กร ป ๔
๔. ต ว ส ช ผ ป น ๗
๗. ตามธรรมชาติของภาษา ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทั่วไปของภาษา
(O-NET ๕๒)
๑. ครูประจําชั้นกวักมือเรียกเด็กนักเรียนไปเข้าแถวที่สนาม
๒. คําว่า “บัตรเติมเงิน” เป็นคําประสมที่ใช้ในภาษาไทยไม่
นานนัก
๓. คุณวิมลเล่าว่าลูกสาวอายุ ๒ ขวบพูดเก่งขึ้น ใช้ประโยคได้
ยาวกว่าเมื่อก่อนมาก
๔. เด็กชายทองไม่สามารถออกเสียงคําภาษาอังกฤษที่มีเสียง
ตัว S สะกดได้เพราะเสียงสะกดนี้ไม่มีในภาษาไทย
เฉลยข้อ ๑ ไม่ได้ใช้เสียงสื่อความหมาย
ลักษณะทั่วไปของภาษา
ใช้เสียงสื่อความหมาย
ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เป็นหน่วยใหญ่ขึ้นไป
เรื่อย ๆ ไม่จํากัด
มีลักษณะเหมือนและต่างกัน
มีการเปลี่ยนแปลง
ใช้คําประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคําถาม ข้อ ๘-๑๑ (O-NET ๕๒)
ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก
ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน
ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลนญ
ง. เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคา
๘. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์โท
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๔ ข้อ ง
ก คําว่า ยาก
ข คําว่า มาก
ค คําว่า ก็
02/02/55
8
ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก
ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน
ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน
ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา
๙. ข้อใดมีเสียงสระประสม
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๒
สระประสม
เอีย
เอือ
อัว
คําว่า เหมือน
ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก
ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน
ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน
ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา
๑๐. ข้อใดมีอักษรกลางน้อยที่สุด
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๒
อักษรกลาง ๙ เสียง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ
ข้อ ก มี ๔ คํา จะ จันทน์ กฤษณา ยาก
ข้อ ข มี ๑ คํา มาก
ข้อ ค มี ๖ คํา จะ ประ สงค์ องค์ ปราชญ์ ก็ ขาด
ข้อ ง มี ๒ คํา จันทน์ แดง
ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก
ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน
ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน
ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา
๑๑. ข้อใดมีจํานวนพยางค์มากที่สุด
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๑
ข้อ ก ๙ พยางค์
ข้อ ข ๘ พยางค์
ข้อ ค ๘ พยางค์
ข้อ ง ๘ พยางค์
02/02/55
9
ใช้คําประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคําถาม ข้อ ๑๒-๑๖ (O-NET ๕๓)
ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา
ง.มีมาแต่โบราณช้านานครัน
๑๒. ข้อใดมีเสียงสระประสม
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๒
คําว่า เพียร เรียน
ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา
ง.มีมาแต่โบราณช้านานครัน
่๑๓ ข้อใดมีคําที่ออกเสียงอักษรควบ
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๔
คําว่า ครัน
ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา
ง มีมาแต่โบราณช้านานครันง.มมาแตโบราณชานานครน
๑๔. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๒
ราช เสียง โท
สวัสดิ์ เสียง เอก
ต้อง เสียง โทตอง เสยง โท
เพียร เสียง สามัญ
เรียน เสียง สามัญ
รัก เสียง ตรี
ษา เสียง จัตวา
02/02/55
10
ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค. ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา
ง มีมาแต่โบราณช้านานครันง. มมาแตโบราณชานานครน
๑๕. ข้อใดมีอักษรตํ่าน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซํ้ากัน)
๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข
๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง
เฉลยข้อ ๓
ข้อ ก ร ณ ว ม ต ย
ข้อ ข ร ช ว ง พ ย น
ข้อ ค ท น ว ร
ข้อ ง ม ร ณ ช น ค
ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์
ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา
ค. ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา
ง. มีมาแต่โบราณช้านานครันง. มมาแตโบราณชานานครน
๑๖. ข้อใดมีอักษรนํา
๑.ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ข และ ค
๓.ข้อ ค และ ง ๔. ข้อ ง และ ก
เฉลยข้อ ๒
สวัสดิ์
กําหนด
๑๗. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวซํ้ากันมากที่สุด
๑.นุ่งยกนอกดอกวิเศษเกล็ดพิมเสน
๒.โจงกระเบนประคดคาดไม่หวาดไหว
๓.บ้างใส่เสื้อส้าระบับเข้มขาบใน
๔.ข้างนอกใส่กรุยกรองทองสําริด
เฉลยข้อ ๓
ใส่เสื้อส้า เข้มขาบ ๕ เสียง
02/02/55
11
๑๘. ข้อใดมีคําที่ประกอบด้วยเสียงสระประสมทุก
คํา
๑.เฟื่องฟ้ า รํ่ารวย เสียหน้า
่ ้๒.มัวหมอง เชือใจ เลิศลํา
๓.เปรี้ยวปาก เกรอะกรัง พรํ่าเพรื่อ
๔.เรื่องราว เพลี่ยวพลํ้า แท่นพิมพ์
เฉลยข้อ ๑
๑.เฟื่องฟ้ า รํ่ารวย เสียหน้า
สระ เอีย เอือ อัว
๑๙. คําขวัญต่อไปนี้มีเสียงพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่
นับเสียงซํ้า)
“รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด”
๑ ๕ เสียง๑. ๕ เสยง
๒. ๖ เสียง
๓. ๗ เสียง
๔. ๘ เสียง
เฉลยข้อ ๒
“รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด”
รัก ลูก แม่กก
ใน ช่วย แม่เกยใน ชวย แมเกย
หลวง ห่วง แม่กง
หลาน กัน ต้าน แม่กน
เสพ แม่กบ
ติด แม่กด
๒๐. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม
๑. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์
๒. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น
๓. สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง
๔. คําแสลงเสียดแทงระคน คําหยาบ หยอกฤๅ
เฉลยข้อ ๑
๑. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์
สระประสม เอีย เอือ อัว
02/02/55
12
สิ่งที่นักเรียนควรรู้เกี่ยวกับอักษร มีดังนี้
๒.๑ การสะกดคํา
๒.๒ การอ่านออกเสียงคําไทยที่มาจาก
ี ัภาษาบาลีและสันสกฤต
๑. สระ
๒. พยัญชนะ
๓. วรรณยุกต
๒.๑ การสะกดคํา
การเขียนสะกดคําให้ถูกต้องเกี่ยวข้องกับเรื่องต่าง ๆ
ดังนี้
๑.) คําพ้องเสียง คือ คําที่เขียนต่างกัน ออกเสียง
ื ั ่ ั ่เหมือนกัน ความหมายต่างกัน เช่น
ประพาส แปลว่า เที่ยว
ประพาต แปลว่า พัด กระพือ
ประภาษ แปลว่า พูด
ประภาส แปลว่า แสงสว่าง
๒.๒ การอ่านออกเสียงคําไทยที่มาจากภาษา
บาลีและสันสกฤต
๑. สระ
− ถ้าไม่มีรูปสระให้อ่านออกเสียงโอะ เช่น
กมล อ่านว่า กะ-มน
− ถ้ามีรูปสระให้ออกเสียงตามรูปสระและพยัญชนะสะกด
เช่น
วิวิธ อ่านว่า วิ-วิด
−คําที่มีตัว ร ออกเสียง ออ เช่น
กรกฎ อ่านว่า กอ-ระ-กด
หรดาล อ่านว่า หอ-ระ-ดาน
−ถ้ามีสระ อิ อุ กํากับ อยู่ท้ายพยางค์ ไม่ออกเสียงุ ู
เช่น
เกตุ อ่านว่า เกด
เมรุ อ่านว่า เมน
มาตุ อ่านว่า มาด
− ถ้ามีสระ อิ อุ กํากับ อยู่ท้ายพยางค์ และนําไป
รวมกับคําใหม่ต้องออกเสียง อิ อุ ด้วย
ชาติพันธ์ อ่านว่า ชาด ติ พันชาตพนธุ อานวา ชาด-ต-พน
มาตุภูมิ อ่านว่า มา-ตุ-พูม
ญาติธรรม อ่านว่า ยาด-ติ-ทํา
02/02/55
13
−คําสมาสที่ไม่มีรูปสระประสมอยู่ให้ออกเสียง อะ
ที่ท้ายคําหน้า เช่น
ราชการ อ่านว่า ราด-ชะ-กาน
เอกสาร อ่านว่า เอก-กะ-สาน
ข้อสังเกต
๑. คําบางคํา อ่านออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ
ตามหลักภาษา และตามความนิยม เช่น
วุฒิ อ่านออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ วุด-ทิ และ วุด
๒. พยัญชนะ มีข้อสังเกต ดังนี้
− อักษร ฑ ออกเสียง ดตามในบาลีสันสกฤต เช่น
บัณฑิต บัณเฑาะว์ บัณฑุ
ออกเสียง ทตาม ภาษาไทย เช่น กุณฑล กุณฑี
ทัณฑฆาต
−ไม่ออกเสียงควบกลํ้าตามแบบบาลีสันสกฤต
แต่คงรูปการเขียนไว้ เช่น
ศรี อ่านว่า สี
ศรัทธา อ่านว่า สัด-ทา
ศฤงคาร อ่านว่า สิง-คาน หรือ
สะ-หริง-คาน
−ทร บางคําไทยออกเสียงเป็นคําควบแท้ บางคําเป็น
ควบไม่แท้
นิทรา อ่านว่า นิด-ทรา
จันทรา อ่านว่า จัน-ทรา
ทรัพย์ อ่านว่า ซับ
พุทรา อ่านว่า พุด-ซา
หากมี ร และ ล ตามพยัญชนะอื่น การอ่านคําในภาษาบาลี
สันสกฤตจะออกเสียงแยกพยางค์ไม่ควบกลํ้า
กรัชกาย อ่านว่า กะ-รัด-ชะ-กาย
เทวนาครี อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี
กรณา อ่านว่า กะ-ร-นากรุณา อานวา กะ รุ นา
กเลวระ อ่านว่า กะ-เลว-ระ
ปรัมปรา อ่านว่า ปะ-รํา-ปะ-รา
ยกเว้นคําว่า ปรามาส ปรากฏ ปราณ ปริศนา ครุ
ครุฑ ปรึกษา อ่านแบบอักษรควบ
02/02/55
14
๓.วรรณยุกต์
−คํายืมภาษาบาลีสันสกฤตที่มีพยัญชนะ ๒ ตัวเรียงกัน
ไทยอ่านเหมือนอักษรนํา เช่น
กนก อ่านว่า กะ หนกกนก อานวา กะ-หนก
กษณะ อ่านว่า กะ-สะ-หนะ
จริต อ่านว่า จะ-หริด
ผลิต อ่านว่า ผะ-หลิด
−คําที่มีรูปสระกํากับ บางคํานิยมอ่านแบบอักษรนํา เช่น
ประโยชน์ อ่านว่า ประ-โหยด
ประมาท อ่านว่า ประ-หมาด
ดิลก อ่านว่า ดิ-หลกดลก อานวา ด หลก
บัญญัติ อ่านว่า บัน-หยัด
บางคําอ่านได้ ๒ แบบ เช่น สมรรถภาพ อ่านว่า
สะ-หมัด-ถะ-พาบ หรือ สะ-มัด-ถะ-พาบ
ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง อักษร
๑. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
๑. เที่ยวประพาสในพนมพนาสัณฑ์
้๒. ทิศประจิมริมฐานมนฑปนัน
๓. ประณมหัตถ์ทักษิณเกษมสันต์
๔. กระแสสินธ์สายชลเป็นวนวัง
เฉลยข้อ ๑
ประพาส ก. ไปต่างถิ่นหรือต่างแดน
พนาสัณฑ์ น. ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง,
มณฑป [มนดบ] น เรือนยอดขนาดใหญ่มีรปสี่เหลี่ยมจัตรัส หรือเป็นรปมณฑป [มนดบ] น. เรอนยอดขนาดใหญมรูปสเหลยมจตุรส หรอเปนรูป
ตัดมุม หรือย่อไม้แปด ย่อไม้สิบสอง ยอดหลังคาเป็นทรงจอมแห, ใช้ว่า
มรฑป ก็มี
ประนม ก. ยกกระพุ่มมือ, ยกมือขึ้นกระพุ่ม
ทักษิณ น. ทิศใต้ ใช้ว่า ทิศทักษิณ
สินธุ์ (กลอน) น. ลํานํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร
๒. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
๑. ท่าทางชายคนนั้นดูลอกแล่กเลิกลั่กไม่น่าไว้ใจเลย
๒. เขาเดินลุกลี้ลุกลนมาหาลูกของเขา พูดละลํ่าละลัก
แล้วก็หลบไป
๓. วันนี้ทําอะไรดูขลุกขลักไปหมดงานชิ้นนี้จะเสร็จอยู่รอม
ล่อก็ไม่เสร็จ
๔. รุ่งกับเรืองไม่ยอมลดลาวาศอก เถียงกันอยู่นานกว่าจะ
รอมชอมกันได้
เฉลยข้อ ๒
ลอกแลก ว. แสดงอาการหลุกหลิกเป็นต้น เหลียวซ้ายแลขวาอยู่ตลอดเวลา
ถือกันว่าเป็นกิริยาไม่สุภาพหรือบางทีก็ส่อพิรุธด้วย.
เลิ่กลั่กว. แสดงอาการทําหน้าตาตื่นเพราะอัศจรรย์ใจ แปลกใจ หรือตกใจ เป็น
ต้น.
รอมร่อ [รอมมะร่อ] ว. ในระยะทางหรือเวลาอันใกล้จวนเจียน เช่น จะสําเร็จ
การศึกษาอยู่รอมร่อ จะถึงบ้านอยู่รอมร่อ, รํามะร่อ ก็ว่า.
ลดราวาศอก ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอกเขา
เป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง
02/02/55
15
๓. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
๑. เขากินอาหารมังสวิรัติทุกวันพุธมาสามปีแล้ว
๒. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่
ตลอดเวลา
๓. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ายเงินค่ากําเหน็จ
ด้วย
๔. เพื่อนเห็นเขานั่งหลับจึงถามว่าเข้าฌานถึงชั้น
ไหนแล้ว
เฉลยข้อ ๑
๑. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่
ตลอดเวลา
ยามรักษาการณ์ ยามรักษาเหตุการณ์
รักษาการ ปฏิบัติหน้าที่แทน
๔. ข้อใดมีคําสะกดผิด
๑. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืดเรียกว่าดาว
ประกายพรึก
ใ ส ส ี ํ ั ั ่ป ป๒. ในสวนสาธารณะมคนมาออกกาลงกายกนอยูปะปาย
๓. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่าเครื่องกํามะลอ
๔. ในภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทุกครอบครัวต้อง
กระเบียดกระเสียร
เฉลยข้อ ๒
ประปราย ว. มีกระจายอยู่ห่าง ๆ เช่น ผมหงอกประปราย
ผลไม้ติดประปราย,มีห่าง ๆ เป็นระยะ ๆ, เรี่ยราย, เล็กน้อย,
เช่น ยิงกันประปราย.
๕. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา
๑. ถนนราดยาง เต็นท์ ซาบซึ้ง
๒. มาตรการ ภารกิจ ผัดวันประกันพรุ่ง
ิ ์ ็ ํ๓. ผลานิสงฆ์ เกร็ดพงศาวดาร ดุลอานาจ
๔. ทนทายาด ทุพภิกขภัย นานัปปการ
เฉลยข้อ ๒
คําที่ผิด คือ
ถนนลาดยาง
์ผลานิสงส์
นานัปการ
02/02/55
16
สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเรื่องคํา
๑. ความหมายของคํา
๒. ชนิดของคํา
๓. การใช้คํา
๔. การเพิ่มคํา
๑. ความหมายของคํา
พิจารณาได้เป็น ๒ ด้าน ดังนี้
๑.๑ ความหมายเฉพาะ แยกพิจารณาได้ ๒ ทาง
ทางที่ ๑ ความหมายตามตัวและความหมายเชิงอุปมา
ก.) ความหมายตามตัว หมายถึง ความหมายเดิมของ
คํานั้น เช่น เก้าอี้ คือ ที่สําหรับนั่ง
ข.) ความหมายเชิงอุปมา หมายถึง ความหมายที่เกิด
จากการเปรียบเทียบกับความหมายตามตัว เช่น
หิน ความหมายตามตัว คือ ก้อนหิน
ความหมายเชิงอุปมา คือ ยาก
ทางที่ ๒ ความหมายนัยตรงและความหมายนัยประหวัด
ก.) ความหมายนัยตรง เป็นความหมายที่มิได้มีเจตนาที่
จะทําให้เกิดความรู้สึกอย่างใด
ข.) ความหมายนัยประหวัด เป็นความหมายที่เกิดจาก
คํานั้นทําให้เกิดความร้สึกต่าง ๆ กันไป อาจจะเป็นทางดี หรือ ไม่ดี หรือคานนทาใหเกดความรูสกตาง ๆ กนไป อาจจะเปนทางด หรอ ไมด หรอ
ทางอื่นใดก็ได้ เช่น หมู
ความหมายนัยตรง คือ อาจหมายถึง สัตว์หรือ สิ่งที่ง่าย ๆ ไม่เกิน
ความสามารถที่จะทําได้
ความหมายนัยประหวัด เกิดความรู้สึกว่า โง่ ดูถูก เพราะอยู่ใน
การควบคุม
๑.๒ ความหมายเทียบเคียงกับคําอื่น แบ่งได้ดังนี้
๒.๑ คําที่มีความหมายเหมือนกันหรือคําไวพจน์
คําที่ใช้ในภาษาสุภาพและไม่สุภาพ เช่น ก้น สุภาพกว่า ตูด
คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน เช่น หนัง กับ ภาพยนตร์คาทใชในภาษาแบบแผน เชน หนง กบ ภาพยนตร
คําที่ใช้ในภาษาสําหรับเด็กกับผู้ใหญ่ หรือ คนสามัญ กับเจ้านาย
คําที่ใช้ในการประพันธ์ เช่น สุริยา กับ พระอาทิตย์
๒.๒ คําที่มีความหมายคล้ายกันหรือร่วมกัน
ตัด ก. ทําให้ขาดด้วยของมีคม เช่น ตัดกระดาษ ตัดผ้า
หั่น ก. เอาของวางลงบนที่รองรับแล้วตัดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ
เฉือน ก. เชือดแบ่งเอาแต่บางส่วน
้ ้ส่งเสริม ก. เกื้อหนุน, ช่วยเหลือสนับสนุนให้ดีขึ้น, เช่น ส่งเสริม
การลงทุน ส่งเสริมการศึกษา
สนับสนุน ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการ
กีฬา สนับสนุนการศึกษา
02/02/55
17
๒.๓ คําที่มีความหมายตรงข้ามกัน
เรียบ ตรงข้ามกับ
แล้ง ตรงข้ามกับ
ยับ
ท่วมแลง ตรงขามกบ
แดด ตรงข้ามกับ
ทวม
ร่ม
๒.๔ คําที่มีความหมายครอบคลุมคําอื่น
−สัตว์ปีก นก ไก่ เป็ด
ดอกไม้ ดาวเรือง มะลิ แก้ว−ดอกไม ดาวเรอง มะล แกว
−เครื่องเรือน เตียง ตู้ โต๊ะ
๒.ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค
ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค แบ่งได้เป็น ๗ ชนิด ตามหนังสือ
หลักภาษาไทย ดังนี้
๑.คํานาม คําที่ใช้เรียกชื่อ
๒ คําสรรพนาม คําที่ใช้แทนชื่อ๒.คาสรรพนาม คาทใชแทนชอ
๓.คํากริยา คําที่แสดงอาการหรือสภาพ
๔.คําวิเศษณ์ คําขยาย
๕.คําบุพบท คําที่นําหน้าคําอื่นเพื่อบอกหน้าที่ของคํานั้น
๖.คําสันธาน คําเชื่อม
๗.คําอุทาน คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงความรู้สึก
๓. การใช้คํา
• ใช้ให้ตรงกับความหมายที่ต้องการจะสื่อ ใช้ให้
ตรงเจตนา ใช้ให้ไม่กํากวม
• ใช้ให้ตรงตามความนิยม เช่น มะม่วงดก ไม่ใช้
มะม่วงชุม
• ใช้คําให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล
• ใช้คําไม่ซํ้าซาก
• ใช้คําร่วมกับคําอื่นให้ถูกต้อง
๔. การเพิ่มคํา
ที่มาของคําบางคําในภาษาไทย เกิดจาก
๑. การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ตุ๊กแก ออด กริ่ง ฉู่ฉี่
๒ การสร้างคํา ได้แก่ คําซ้อน คําซํ้า คําประสม คําสมาส๒. การสรางคา ไดแก คาซอน คาซา คาประสม คาสมาส
๓. การยืมคํามาจากภาษาอื่น เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ฯลฯ
๔. การกําหนดขึ้นมาใช้กันเฉพาะกลุ่ม เรียก คําคะนอง ( Slang )
เช่น เบ ๆ ชิว ๆ
ข้อสังเกตเรื่องการเพิ่มคํา
๑. คําซํ้า
ิ ํ ํ ํ ี ั ํ้ ั โ ใ ้เกิดจากการนําคําคําเดียวกัน มาซํากัน โดยการใช้
“ ๆ ” เติมหลังคําเดิม
02/02/55
18
ความหมายของคําซํ้าอาจเปลี่ยนไปจากคําเดิม เช่น
๑. ความหมายพหูพจน์ พี่ ๆ เพื่อน ๆ เด็ก ๆ
๒. ความหมายเพิ่มหลักจํานวนให้มากขึ้น เป็นแสน ๆ เป็น
ล้าน ๆ เป็น หมื่น ๆ
ิ่ ํ ั ใ ้ ึ้ ป็ โ๓. ความหมายเพิมจานวนลักษณนามให้มากขึน เป็นโหล ๆ
เป็นเดือน ๆ
๔. ความหมายเน้น เช่น เนื้อ ๆ นํ้า ๆ ผัก ๆ
๕. ความหมายไม่เฉพาะเจาะจง เช่น อะไร ๆ ใคร ๆ ไหน ๆ
แถว ๆ ข้าง ๆ ใกล้ ๆ
๖. ความหมายแยกทีละส่วน เช่น ชิ้น ๆ คดี ๆ วัน ๆ
๗. ความหมายหลายครั้งและทําแต่เนื่อง เช่น พูด ๆ มอง ๆ
ฟัง ๆ
๘. เน้นความหมายของคํากริยานั้น กิน ๆ เร็ว ๆ ไป ๆ
๙ ความหมายเบาลง เช่น เพลีย ๆ ชอบ ๆ เคือง ๆ๙. ความหมายเบาลง เชน เพลย ๆ ชอบ ๆ เคอง ๆ
๑๐.ความหมายบอกความเน้น ทําซํ้า เกิดซํ้า เช่น เสมอ ๆ
บ่อย ๆ ช้า ๆ
๑๑.คําซํ้าในภาษาพูดอาจออกเสียงเน้นหนักที่คําหน้าและ
เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ เช่น เด๊กเด็ก ง้วงง่วง
ข้อสังเกต
-คําบางคําต้องออกเสียงซํ้า เสมอ เช่น หยิม ๆ หงึก ๆ
ฉอด ๆ เหนาะ ๆๆ ๆ
-คําต่อไปนี้ไม่ใช่คําซํ้า แม้จะเขียนเหมือนกันก็ตาม
เช่น จะจะ นานา เชาเชา
๒. คําซ้อน
เกิดจากการนําคําตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไป มาเรียงต่อ
กัน โดยแต่ละคํา มีความสันพันธ์กันในด้าน
ความหมาย เพื่อให้ได้ความหมายที่ชัดเจน
ลักษณะความหมายของคําซ้อน
๑)ความหมายเหมือนกัน เช่น เร็วไว ทรัพย์สิน สูญหาย
๒)ความหมายคล้ายกัน เช่น ใจคอ ภาษีอากร เย็บปัก
ถักร้อย
๓)ความหมายตรงกันข้าม เช่น ใกล้ไกล ผิดถูก ตื้นลึก
หนาบาง
จํานวนคําในคําซ้อน
• คําซ้อน ๒ คํา เช่น ช้างม้า บ้านเมือง กู้ยืม
• คําซ้อน ๔ คํา เช่น ถ้วยโถโอชาม ตีรันฟันแทง ตับ
ไ ไ ้ไตไส้พุง
• คําซ้อน ๖ คํา เช่น คดในข้อ งอในกระดูก เลือกที่รัก
มักที่ชัง กําแพงมีหู ประตูมีช่อง
02/02/55
19
ที่มาของคําซ้อน
๑) คําไทย+คําไทย เช่น เดือดร้อน เข็ดหลาบ แปดเปื้อน
๒) คําไทย+คําต่างประเทศ เช่น ข้าทาส ศึกสงคราม เขียว
ขจี แจกฟรี พักเบรก
๓) คําต่างประเทศ+คําต่างประเทศ เช่น ยักษ์มาร
ละเอียดลออ
๓. คําประสม
เกิดจากการนําหน่วยคําอิสระที่มีความหมาย
ต่างกัน อย่างน้อย ๒ หน่วย มารวมกัน เกิดเป็นคํา
่ใหม่ที่มีความหมายใหม่
ลักษณะเฉพาะของคําประสม
๑. เกิดความหมายใหม่ แต่มีเค้าความหมายเดิมอยู่ด้วย เช่น ผ้าเช็ดหน้า
กล่องดินสอ นํ้าใจ
๒. ไม่สามารถแทรกคําใด ๆ ระหว่างคําประสมได้ถ้าแทรกได้จะไม่ใช่
คําประสม เช่น ลกช้าง (ลกของช้าง) ไม่ใช่คําประสม ลกช้าง (คําคาประสม เชน ลูกชาง (ลูกของชาง) ไมใชคาประสม ลูกชาง (คา
สรรพนาม) เป็นคําประสม
๓. ไม่สามารถสลับตําแหน่งหรือย้ายที่คําได้
๔. คําประสมจะออกเสียงต่อเนื่องกันไม่หยุดระหว่างคํา เช่น ข้าวเย็น
หมดแล้ว
๕. ต้องไม่ใช่คําที่ใช้เป็นกลุ่มคําหรือประโยค เช่น กินนํ้า ฝนตก ฟ้าร้อง
ส่วนประกอบของคําประสม
๑) คําประสมที่เป็นคํานาม เช่น รถด่วน ผ้าขี้ริ้ว ทางเท้า
๒) คําประสมที่เป็นคํากริยา เช่น ซักฟอก ปิดปาก ตีบทแตก
๓) คําประสมที่เป็นคําวิเศษณ์ เช่น คอตก ใจดี ปากหวาน๓) คาประสมทเปนคาวเศษณ เชน คอตก ใจด ปากหวาน
๔) คําประสมที่มีคําตั้ง+คําเสริม เช่น คนใช้ เจ้านาย แม่นํ้า ของ
หวาน เครื่องเรือน ที่นอน ลูกคิด ทําบุญ วิ่งเร็ว ใจแคบ ขี้คุย
หัวหมอ
คําประสมที่มีความหมายเป็นสํานวน เช่น
๑) ไก่อ่อน ผู้มีประสบการณ์น้อยยังไม่รู้ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน.
๒) หมอเทวดา หมอที่รักษาโรคให้หายได้เร็ว หรือรักษาคนเจ็บหนัก
ให้หายได้ราวกับเทวดา
) ื ้ ้ ี่ ิ ไ ้ ่ ี ื ้ ั ป๓) มือกาว ผู้ร้ายทีหยิบของได้อย่างแนบเนียน หรือผู้รักษาประตู
ที่สามารถรับลูกฟุตบอลไม่ให้เข้าประตูได้
๔) ตีนแมว ผู้ร้ายย่องเบาได้ราวกับแมว
๕) เขี้ยวกระแต ไม้ดอกที่เป็นพันธุ์ไม้เลื้อย ดอกสีขาว คล้ายเขี้ยว
ของกระแต
๔. คําสมาส
เกิดจากการนําคําบาลีสันสกฤตมา
ประกอบกันเป็นคําใหม่ มี ๒ ประเภท คือ
่ ่คําสมาสที่ไม่มีการสนธิ และคําสมาสที่มีสนธิ
มีข้อสังเกต ดังนี้
02/02/55
20
คําสมาสที่ไม่มีสนธิ
๑. ส่วนใหญ่ความหมายอยู่ที่คําหลัง แปลจากหลังมา
หน้า เช่น ราชโอรส
๒. อ่านออกเสียงระหว่างคําตามรูปสระท้ายที่ปรากฏ
หรือหากไม่ปรากฏรูปสระให้อ่านออกเสียงอะ เช่น
วุฒิสภา ธนบัตร สุนทรียภาพ
คําสมาสที่มีสนธิ
๑) เกิดการกลมกลืนเสียงระหว่างคํา โดยมีข้อสังเกต
ดังนี้
อะ อะ
สระสนธิ
๑. สระหน้าเป็นอะ,อา
......อะ
......อา
อะ......
อา….. = อา
เช่น ราชาธิราช จุฬาลงกรณ์
.....อะ อะ,อา มีตัวสะกด
สระอื่น ๆ ที่ไม่ใช่
ลบสระหน้า
คงสระหลัง.....อา สระอน ๆ ทไมใช
สระอะ,อา
คงสระหลง
เช่น นิละ+อุบล = นิโลบล
๒. สระหน้าเป็น อิ,อี
.....อิ
.....อี
อิ......
อี…..
= อิ , อี
เช่น ไพรี + อินทร์ = ไพรินทร์
.....อิ
.....อี
สระอื่น ๆ
ที่ไม่ใช่
= เปลี่ยนอิ,อี
เป็น ยะ แล้ว
สระอิ ,อี สนธิตามข้อ ๑.
เช่น สามัคคี + อาจารย์ = สามัคคยะ + อาจารย์ = สามัคคยาจารย์
02/02/55
21
๓. สระหน้าเป็น อุ ,อู
.....อุ
อ
อุ......
อ = อุ , อ.....อู อู….. ุ , ู
เช่น ครุ + อุปกรณ์ = ครุปกรณ์
สระอื่น ๆ ที่
ไม่ใช่สระอุ ,อู
.....อุ
.....อู
= เปลี่ยนอุ ,
อู เป็น วะ
แล้ว สนธิตาม
ข้อ ๑.
เช่น มธุ + อาหาร = มธวะ + อาหาร เป็น มัธวาหาร
พยัญชนะสนธิ
๑. อัสฺ + พยัญชนะใด ๆ เปลี่ยน อัสฺ เป็น โอ เช่น
มนัส + ภาพ = มโนภาพ
อิสฺ
อุสฺ
พยัญชนะใด ๆ เปลี่ยน สฺ เป็น ร
เช่น
นิสฺ + ภัย = นิรภัย
ทุสฺ + ชน = ทุรชน เป็น ทรชน
นิคหิตสนธิ
๑. อํ +  พยัญชนะวรรคใด = เปลี่ยน อํ เป็น
พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรค เช่น
อหํ + การ = อหังการ
สยํ + ภู =  สยมภู สยุมภู สยัมภู
๒. อํ + เศษวรรค = เปลี่ยน อํ เป็น ง
เช่น
สํ + สาร = สังสาร
สํ + เวช = สังเวช
02/02/55
22
๓. อํ + สระ = เปลี่ยน อํ เป็น มะ แล้วสนธิตามข้อ
๑. เช่น
สํ + อิทธิ = สมะ + อิทธิ เป็น สมิทธิ
ศุภํ + อัศดุ = ศุภมะ + อัสดุ เป็น ศุภมัสดุ
ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง คํา
๑.. ข้อความต่อไปนี้มีคําสันธานและคําบุพบทกี่คํา (นับคําซํ้า)
นํ้าเป็นองค์ประกอบสําคัญต่อร่างกายของมนุษย์ และทําให้เรา
สามารถดําเนิน ชีวิตอยู่ได้ ถ้าร่างกายขาดนํ้าเราจะไม่สามารถ
ี ไ ้ดํารงชีวิตอยู่ได้เลย
๑. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๑ คํา
๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา
๓. สันธาน ๑ คํา บุพบท ๒ คํา
๔. สันธาน ๑ คํา บุพบท ๑ คํา
๒๙. ตอบ ข้อ ๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา
นํ้าเป็นองค์ประกอบสําคัญต่อร่างกายของมนุษย์ และ
ทําให้เราสามารถดําเนิน ชีวิตอยู่ได้ ถ้าร่างกายขาดนํ้า
เราจะไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้เลย
๒. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง
๑. คุณปู่เหลาไม้เรียวไว้หลายกิ่ง หลานๆ จึงไม่กล้าซนมาก
๒ ในสนามเด็กเล่นที่โรงเรียนเรามีไม้ลื่นให้เด็กๆ เล่นหลายชด๒. ในสนามเดกเลนทโรงเรยนเรามไมลนใหเดกๆ เลนหลายชุด
๓. วันจันทร์ให้นักเรียนนําไม้อัดมาคนละแผ่น ครูจะสอนฉลุไม้
๔. พี่ชายเดินนับไม้หมอนรถไฟได้หลายท่อนแล้ว
๓๐. ตอบ ข้อ ๑ คุณปู่เหลาไม้เรียวไว้หลายกิ่ง
หลาน ๆ จึงไม่กล้าซนมาก
ไม้เรียว ลักษณนามเป็น อัน
๓. ข้อความต่อไปนี้มีคํานามและคํากริยาหลักอย่างละกี่คํา (ไม่นับคําซํ้า)
กิจกรรมนั้นเป็นของดี แต่สถาบันอุดมศึกษาไม่ได้ตั้งขึ้นสําหรับรับ
นักศึกษาเพื่อทํากิจกรรม กิจกรรมมีไว้ให้นักศึกษาใช้เวลาว่างทํา
ประโยชน์และเปลี่ยนบรรยากาศ
๑. นาม ๗ คํา กริยา ๘ คํา
๒. นาม ๖ คํา กริยา ๘ คํา
๓. นาม ๗ คํา กริยา ๗ คํา
๔. นาม ๖ คํา กริยา ๖ คํา
02/02/55
23
ตอบ ข้อ ๓ นาม ๗ คํา กริยา ๘ คํา
กิจกรรมนั้นเป็นของดี แต่สถาบันอุดมศึกษาไม่ได้ตั้งขึ้นสําหรับรับนักศึกษาเพื่อ
ทํากิจกรรม กิจกรรมมีไว้ให้นักศึกษาใช้เวลาว่างทําประโยชน์และเปลี่ยน
บรรยากาศ
คํานาม ๗ คํา กิจกรรม , ของดี ,สถาบันอุดมศึกษา , นักศึกษา , เวลา ประโยชน์
, บรรยากาศ
คํากริยา ๗ คํา เป็น, ตั้งขึ้น ,ทํา, มี , ใช้,ทํา , เปลี่ยน
๔. คําซํ้าในข้อใดต้องใช้เป็นคําซํ้าเสมอ
๑. คนงานใหม่ขยันเป็นพัก ๆ เอาแน่ไม่ได้
๒. นักเรียนอนุบาลหกล้มหัวเข่าแตกเลือดไหลซิบ ๆ
๓. งานนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อย ก็ทําไปพลาง ๆ ก่อนแล้วกัน
๔. ถ้าเราวางแผนให้ดีตั้งแต่แรก ๆ โครงการนี้ก็คงสําเร็จไปแล้ว
เฉลย ๑
๕. ข้อใดเป็นคําซ้อนทุกคํา
๑. ซํ้าซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก
๒. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถากถาง
๓. บีบคั้น เบียดเบียน เบาความ
๔. แปรผัน เป่าหู โปรยปราย
๖. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดมีคําประสมทั้ง ๒ ส่วน
๑) บริเวณสวนกว้างขวาง / ๒) มีสนามที่ได้รับการดูแลจากเทศบาล
เมือง / ๓) มีประติมากรรมเป็นรูปเทพธิดาแสนงาม / ๔) มุมหนึ่ง
มีนาฬิกาแดดคอยบอกเวลา
่๑. ส่วนที่ ๑ และ ๔
๒. ส่วนที่ ๒ และ ๓
๓. ส่วนที่ ๑ และ ๓
๔. ส่วนที่ ๒ และ ๔
๗. ข้อใดมีคําประสมทุกคํา
๑. คําขาด คําคม คําราม
๒. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด
๓. นํ้าป่า นํ้าไหล นํ้ามือ
๔. ติดลม ติดใจ ติดขัด
02/02/55
24
๘. ข้อใดไม่มีคําสมาส
๑. วิสุทธโยธามาตย์เจ้า กรมขวา
๒. หนึ่งชื่อราชโยธา เทพซ้าย๒. หนงชอราชโยธา เทพซาย
๓. ตําแหน่งศักย์ยศถา เสถียรที่
๔. คุมพยุหยาตราย้าย ย่างเข้าตามสถาน
๙.ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสร้างคําต่างกับข้ออื่น
๑.ขับคเชนทร์สาวก้าว ส่ายเสื้องเทาทาง
๒ สถานที่พทธบาทสร้าง สืบไว้แสวงบญ๒.สถานทพุทธบาทสราง สบไวแสวงบุญ
๓.สุธารสรับพระเต้า เครื่องต้นไปตาม
๔.โดยเสด็จดําเนินแคล้ว คลาดคล้อยบทจร
๑๐. คําภาษาอังกฤษในข้อใดใช้คําไทยแทนไม่ได้
๑. จินดาทําข้อสอบหลายวิชาจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด
๒. จิตราเป็นดีไซเนอร์ประจําห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง
๓. จินตนาไปหาหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษาผิวหน้า
๔. จิตรลดาเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยาบาลนี้
๑๑. ข้อใดเป็นคําศัพท์บัญญัติจากคําภาษาอังกฤษ
ทุกคํา
๑.จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน
๒ สังคม สังเคราะห์สังคม สังเคราะห์ สังโยค๒.สงคม สงเคราะหสงคม สงเคราะห สงโยค
๓.สมมาตร สมมุติฐาน สมเพช
๔.วิกฤตการณ์ วิจัย วิสัยทัศน์
๑๒. ข้อใดไม่มีคํายืมภาษาบาลีสันสกฤต
ก.วันจะจรจากน้องสิบสองคํ่า
ข.พอจวนยํ่ารุ่งเร่งออกจากท่า
ค รําลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลาค.ราลกถงดวงจนทรครรไลลา
ง.พี่ตั้งตาแลแลตามแพราย
๑.ข้อ ก และ ข ๒.ข้อ ก และ ค
๓.ข้อ ข และ ง ๔.ข้อ ค และ ง
๑๓. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง
๑. เขาสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของหน่วยงานได้ครบ
ทุกข้อ
๒. นักวิชาการเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรายงานุ
หลายประการ
๓. รัฐบาลมีปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลายเรื่อง
๔. คณะกรรมการกําลังพิจารณาคําขวัญที่ส่งเข้า
ประกวด ๕๐ บาท
02/02/55
25
๑๔. ข้อความต่อไปนี้มีบุพบทและสันธานกี่คํา
คนไทยสมัยโลกาภิวัตน์ได้เปรียบคนไทยรุ่นก่อนในด้าน
ที่มีความรู้กว้าขวางเพราะสามารถแสวงหาความรู้ได้
จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งหนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ และ
คอมพิวเตอร์
๑. บุพบท ๑ คํา สันธาน ๓ คํา
๒. บุพบท ๒ คํา สันธาน ๓ คํา
๓. บุพบท ๑ คํา สันธาน ๔ คํา
๔. บุพบท ๒ คํา สันธาน ๔ คํา
๑๕. ข้อความต่อไปนี้มีคํานามและคํากริยาหลักอย่างละกี่คํา
(ไม่นับคําซํ้า)
การกู้ยืมจะมีประโยชน์ต่อเมื่อเงินที่กู้มานั้นใช้อย่างมี
คณภาพและสร้างรายได้เพื่อเพิ่มต้นทนของเงินจํานวนนั้นคุณภาพและสรางรายไดเพอเพมตนทุนของเงนจานวนนน
๑. นาม ๔ คํา กริยา ๓ คํา
๒. นาม ๕ คํา กริยา ๔ คํา
๓. นาม ๖ คํา กริยา ๕ คํา
๔. นาม ๗ คํา กริยา ๖ คํา
๑๖. คําทุกคําในข้อใดใช้ได้ทั้งความหมายตามตัวและ
ความหมายเชิงอุปมา
๑.ปีนเกลียว ปิดฉาก ถูกขาู
๒.ปิดตา เฝ้ าไข้ เปลี่ยนมือ
๓.วางใจ เป่าปี่ แก้เคล็ด
๔.ปั่นหัว กินตะเกียบ ลงคอ
๑๗.ข้อใดใช้คําถูกต้อง
๑. เธอได้รับคําชมว่าทํางานเก่งมากจนใคร ๆ ยกมือให้
๒. การแสดงดนตรีกว่าจะยกเลิกก็เกือบสองทุ่มุ
๓. ผู้มีรายได้ตํ่า ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
๔. ผู้ต้องขังที่มีความประพฤติดีจะได้รับการยกโทษลง
ครึ่งหนึ่ง
๑๘. ข้อใดใช้คําฟุ่มเฟือย
๑. ทหารในขบวนสวนสนามเดินอกผายไหล่ผึ่ง
๒. คุณยายขอให้ฉันกับญาติที่บุกรุกที่ดินเลิกแล้วต่อกันุ ญ ุ ุ
๓. ฉันต้องทนฟังเขาชี้แจงเหตุผลแม้จะไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย
๔. พ่อแม่ชื่นชมปีติยินดีที่ลูกสาวสําเร็จการศึกษาระดับ
ปริญญาเอก
๑๙.ข้อใดใช้ภาษากํากวม
๑.เด็กข้างบ้านวิ่งชนฉันหกล้มปากแตก
๒.คนขับรถถกสั่งพักงานฐานละเลยหน้าที่๒.คนขบรถถูกสงพกงานฐานละเลยหนาท
๓.ก๋วยเตี๋ยวปลาแบบโบราณในซอยนี้มีหลายร้าน
๔.พวงมาลัยแบบนี้แม่ค้าขายฉันพวงละ ๑๐ บาท
02/02/55
26
๒๐. ข้อใดใช้คําถูกต้องตามความหมาย
๑. ปีนี้อากาศร้อนเหลือเกิน วันไหนไม่ได้เปิดแอร์ก็ร้อนตัว
มาก ๆ เลย
๒. วัยรุ่นข้างบ้านเปิดเพลงเสียงดังใคร ๆ ได้ฟังก็ร้อนหูไป
หมด
๓. เขาเพิ่งเรียนจบจากมหาวิทยาลัยจึงร้อนวิชาอยากพูด
อยากแสดงให้คนรู้
๔. บ้านสวยหลังนั้นปิดเงียบเพราะเจ้าของร้อนเงินหนีไป
ต่างประเทศแล้ว
๒๑. คําซํ้าในข้อใดไม่มีความหมายเป็นพหูพจน์
๑. น้อง ๆ ของเขารักใคร่กันดี
๒ เขาป่วยต้องนอนพักเป็นเดือน ๆ๒. เขาปวยตองนอนพกเปนเดอน ๆ
๓. ตอนเด็ก ๆ ฉันเคยไปอยู่ต่างจังหวัด
๔. สาว ๆ สมัยนี้รูปร่างอ้อนแอ้นกันทั้งนั้น
๒๒. ข้อความต่อไปนี้มีคําซ้อนกี่คํา
ข้าวเป็นธัญญาหารที่มีประโยชน์อยู่ทุกอณูของเมล็ดข้าว
เนื้อข้าว รําข้าวและจมูกข้าว เราจึงควรกินข้าวให้ครบทุกส่วน
ของเมล็ด เพื่อชีวิตที่แข็งแรงสดใสห่างไกลจากโรคร้ายต่าง ๆ
และมีสุขภาพดีอายุยืนยาว
๑. ๓ คํา ๒. ๔ คํา
๓. ๕ คํา ๔. ๖ คํา
๒๓. ข้อใดไม่ปรากฏในคําประพันธ์ต่อไปนี้
ใครจักผูกโลกแม้ รัดรึง
เหล็กเท่าลําตาลตรึง ไป่หมั้น
มนตร์ยาผูกนานหึง หายเสื่อม
้ผูกเพื่อไมตรีนั้น แน่นเท้าวันตาย
๑. คําซํ้า
๒. คําซ้อน
๓. คําโทโทษ
๔. คําตายแทนคําเอก
๒๔. ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสนธิ
๑. ธาตุเจดีย์ ธัญพืช ธรรมจารี
๒. รัตนชาติ ราชสาส์น รมณียสถาน
๓. ภูมิลักษณ์ ภูษามาลา ภิญโญภาพ
๔. พรรณนาโวหาร พยุหเสนา พรหมาสตร์
๒๕. ข้อใดไม่มีคํายืมจากภาษาต่างประเทศ
๑. ฝรั่งเป็นต้นตํารับอาหารกินเร็ว ยืนกินเดินกินก็ได้
๒. เมื่อเรารับมาก็ต้องกินตามอย่างเขาและรู้สึกว่าง่ายดี
๓. เราไม่ได้กินเพื่อประหยัดเวลาเอาไว้ทําการงานอย่างอื่น
๔. เป็นการกินเล่น ๆ กันในหมู่คนวัยที่ยังทํามาหากินไม่ได้
มากกว่า
02/02/55
27
๒๖. ข้อใดไม่มีคําที่มาจากภาษาบาลีหรือภาษา
สันสกฤต
๑. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องู
๒. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็นเทวดา
๓. ชื่อของเขาอยู่ในทําเนียบรุ่น
๔. ภรรยาของเขาทํางานอยู่ที่นี่
๒๗. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดไม่มีคําที่มาจากภาษาอังกฤษ
๑) เรตติ้งของรายการโทรทัศน์สัมพันธ์กับเวลาในการ
ออกอากาศ / ๒) รายการที่ออกอากาศในช่วงไพรม์ไทม์ หรือ
ช่วงเวลาที่มีผู้ชมโทรทัศน์มาก / ๓) จะมีโอกาสได้รับความนิยม
่ ี่ ใ ่ ี่ ้มากกว่ารายการทีออกอากาศในช่วงเวลาทีคนชมรายการน้อย /
๔) ช่วงเวลาที่มีผู้ชมทีวีมากก็คือช่วงหัวคํ่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
หลังรายการข่าว /
๑. ส่วนที่ ๑ ๒. ส่วนที่ ๒
๓. ส่วนที่ ๓ ๔. ส่วนที่ ๔
๒๘. คําภาษาอังกฤษในข้อใดไม่มีคําภาษาไทยใช้แทน
๑. ห้างสรรพสินค้าส่งแค็ตตาล็อกเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่กําลังลด
ราคามาให้ดูที่บ้าน
๒. อยากโทรศัพท์บอกเพื่อนว่าอาจารย์ต้องการพบ แต่ผมไม่
ีโฟ ์มีโฟนการ์ด
๓. ไดรไอซ์มีประโยชน์มาก ช่วยทําให้อาหารแช่แข็งไม่
ละลายง่าย
๔. ตึกใหญ่หลังนั้นมีคนมาเช่าทําออฟฟิศกันมากมาย คุณ
สนใจไหม
๒๙. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง
๑. น้องสาวฉันเป็นผู้หญิงสวย ที่บ้านจึงมีกระจกเงาหลายบาน
ไว้ให้ส่อง
๒. เขาเป็นคนความจําดี อาขยานกี่บท ๆ ก็สามารถท่องจําได้
ใ ไ ่หมดในเวลาไม่นาน
๓. คุณไปเที่ยวงานแสดงสินค้าเห็นไม้เท้าสวย ๆ ช่วยซื้ออันใหม่
มาฝากคุณปู่ด้วย
๔. มหาวิทยาลัยจะจัดประกวดคําขวัญเนื่องในวันสถาปนา ใคร
จะส่งกี่ชิ้นก็ได้
๓๐. ข้อความต่อไปนี้มีคําสันธานและคําบุพบทกี่คํา
ทุกวันนี้โลกแคบลงจนสื่อสารกันได้ทันใจและเรา
ก้าวทันโลกได้ตามวิถีโลกาภิวัตน์ วิทยาการต่าง ๆ
น่าจะสัมพันธ์กันได้มากขึ้น โลกของนักวิชาการมิใช่มี
ี ี ั ั ี ั ั้เพียงซีกตะวันออกกับซีกตะวันตกเท่านัน
๑. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๓ คํา
๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา
๓. สันธาน ๓ คํา บุพบท ๓ คํา
๔. สันธาน ๓ คํา บุพบท ๒ คํา
02/02/55
28
พยางค์
พยางค์เปิด (แม่ ก กา) คือ พยางค์ที่ไม่มีเสียง
พยัญชนะท้าย เช่น มา ดี
่พยางค์ปิด คือ พยางค์ทีมีเสียงพยัญชนะท้าย
หรือพยัญชนะสะกด เช่น นก กบ โรงเรียน เรา ทํา ใจ
พยางค์ที่มีความหมายเรียกว่า คํา คําหนึ่งอาจมีได้
หลายพยางค์
วลี กลุ่มคํา
เป็นส่วนประกอบของประโยคส่วนใดส่วน
หนึ่ง เมื่อประกอบเข้าเป็นประโยคแล้ว ย่อม
ทําหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่ง เช่น ความสามัคคี
ของคนไทย
ส่วนประกอบของประโยค แบ่งออกเป็น ๖ ส่วน ดังนี้
ประธาน
ขยาย
ประธาน
กริยา กรรม ขยายกรรม ขยายกริยา
นักเรียน ในห้อง
ประชุม
มี หน้าตา สวยหล่อ มากมาย
เด็ก ๆ ที่ตั้งใจเรียน สอบติด คณะ ที่เลือกไว้ กันทุกคน
ชนิดของประโยค (แบ่งเป็น ๓ ชนิด ตามโครงสร้าง)
๑. ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีคํากริยาสําคัญเพียงคํา
เดียว และไม่มีคําเชื่อมประโยค เช่น
การละเล่นพื้นบ้านของไทยเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นอย่างหนึ่ง
ของวัฒนธรรมไทย
ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลากหลายประเภท
การฟื้นฟูประเทศไทยทําได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจของคนไทย
ทุกคน
ป โ ั ป โ ่
๒. ประโยคความซ้อน
ประโยคหลัก ประโยคย่อย
คําเชื่อม
ผู้ที่ ซึ่ง อัน ว่า
สายชลเป็นพระเอกที่หน้าตาดีที่สุด
นางฟ้ าเชื่อว่าสักวันสายชลจะเข้าใจนางฟาเชอวาสกวนสายชลจะเขาใจ
การดูละครมากเกินไปเป็นภัยซึ่ง
อันตรายแก่การอ่านหนังสือ
02/02/55
29
http://www.glitter.kapook.com
๓. ประโยคความรวม
คือ ประโยคที่มีประธานหรือกริยาสําคัญ
ตั้งแต่ ๒ ตัวขึ้นไป มี ๒ ลักษณะดังนี้ตงแต ๒ ตวขนไป ม ๒ ลกษณะดงน
๓.๑ สัมพันธ์กันในเชิงคล้อยตาม
ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความคล้อย‐ตามกัน
คําเชื่อมที่ใช้ เช่น และ ทั้ง… และ ตลอดทั้ง ดัง
ั ่ตวอย่าง
ฉันรักน้องและรักเพื่อน ๆ ทุกคน
ทั้งเราและเพื่อน ๆ ไปปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ
๓.๒ สัมพันธ์กันในเชิงขัดแย้ง
ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความขัดแย้งกัน คําเชื่อมที่ใช้
เช่น แต่ แต่ว่า ส่วน ทว่า ดังตัวอย่าง
ดอกรักบานในใจใครทั้งโลกแต่ดอกโศกบานในดอกรกบานในใจใครทงโลกแตดอกโศกบานใน
หัวใจฉัน
ฉันตั้งใจทํางานอย่างเต็มที่ทว่าสิ่งต่าง ๆ ก็ไม่
เป็นไปอย่างที่คิด
๓.๓ สัมพันธ์กันในเชิงต่างเป็นตัวเลือก
ประโยคที่นํามารวมกันต่างมีเนื้อความเป็นตัวให้เลือก
คําเชื่อมที่ใช้ เช่น หรือ มิฉะนั้น ไม่เช่นนั้น หรือไม่
ก็ หาไม่ ดังตัวอย่างก หาไม ดงตวอยาง
ฉันต้องไปทํางานไม่เช่นนั้นก็จะไม่มีรายได้
เธอต้องรอให้ฝนหยุดเสียก่อนหรือไม่ก็ต้องยอม
เปียกฝน
๓.๔ สัมพันธ์กันในเชิงเป็นเหตุผล
ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผล
กัน เช่น เพราะ เพราะว่า เพื่อ เพื่อที่ ดังนั้น
ฉะนั้น ฯลฯฉะนน ฯลฯ
เพราะอากาศร้อนฉันจึงไม่ออกไปนอกบ้าน
เขาไม่สบายดังนั้นจึงต้องหยุดเรียนไประยะหนึ่ง
02/02/55
30
เป็นประโยคความรวม เกิด
ป โจาก ประโยค
ความจําสั้น
สันหลังยาว
http://www.glitter.kapook.com
หน้าที่ของประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสาร
๑.  แจ้งให้ทราบ
เป็นประโยคที่บอกเล่าเรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการแจ้งให้ผู้รับสาร
ได้ทราบ ถ้าต้องการแจ้งให้ทราบในเชิง ปฎิเสธ ก็จะปรากฏคําไดทราบ ถาตองการแจงใหทราบในเชง ปฎเสธ กจะปรากฏคา
ปฏิเสธ เช่น มิไม่ หามิได้ อยู่ด้วย
พวกเราจะสอบติดกัน
ทุกคน
ทุกคนที่นี่ไม่ใช่คน
ขี้เกียจ (นะจ๊ะ)
๒. ถามให้ตอบ
เป็นประโยคที่ผู้ส่งสารใช้ถามเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้รับ
สาร มีคําแสดงการถาม เช่น ใคร อะไร ที่ไหน
เมื่อใด อย่างไร ทําไม อยู่ในประโยค ถ้าเป็น
คําถามเชิงปฏิเสธ ก็จะมีคําปฏิเสธอยู่ด้วย
เจตนาคือ ??
http://www.glitter.kapook.com
02/02/55
31
๓. บอกให้ทํา
เป็นประโยคที่ผู้ส่งสารใช้ สั่ง อ้อนวอน ขอร้อง
หรือ เชิญชวน อาจจะละประธานไว้ในฐานที่เข้าใจ
•กรุณาบริจาคสิ่งของเพื่อผู้ด้อยโอกาส
•แม่ครับขอค่าขนมหน่อยครับ
ชนิดของประโยคตามการเน้นความสําคัญ
๑. ประโยคประธาน หมายถึงประโยคที่นําประธาน
มาวางไว้ต้นประโยค ประโยคภาษาไทยส่วนใหญ่ญ
เป็นประโยคประธาน
• นักเรียนมุ่งมั่นจะทําข้อสอบให้ได้คะแนนดี
• เราต้องคิดถึงสํานวนไทย “เอาใจเขามาใส่ใจเรา”
บ้าง
๒. ประโยคกริยา
หมายถึงประโยคที่นํากริยามาไว้หน้าประโยค
– เก่งมากลูกศิษย์คนนี้
– ซนจริง ๆ ลูกแม่
– มีเรื่องร้ายแรงในวันนี้
๓.ประโยคกรรม หมายถึงประโยคที่นํากรรมมา
ไว้หน้าประโยค
• ผู้ร้ายถูกตํารวจจับได้เมื่อวานนี้
• เขาโดนอันธพาลทําร้ายจนบาดเจ็บสาหัสเขาโดนอนธพาลทารายจนบาดเจบสาหส
• ทักษะการใช้ภาษานั้นนักเรียนได้รับมาจากการสอนภาษา
แบบบูรณาการ
• โทรศัพท์มือถือนี่ลูกชายคนโปรดของคุณทําหายเป็นเครื่อง
ที่สามแล้ว
ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง ประโยค
๖. ข้อใดไม่เป็นประโยค
๑. นมแม่ช่วยเพิ่มภูมิต้านทานให้แก่ลูก
๒. การดื่มนมแม่ช่วยลดการติดเชื้อไวรัสในวัยทารก
๓ ปัจจบันมีการโฆษณาให้แม่ดื่มนมวัวมาก ๆ โดยสื่อว่า๓. ปจจุบนมการโฆษณาใหแมดมนมววมาก ๆ โดยสอวา
ลูกในท้องจะแข็งแรง
๔. แม้จะมีการรณรงค์ให้มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งเป็นนม
ที่ดีที่สุดสําหรับทารก
Sk8 tha
Sk8 tha

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
252413
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กก
chompouou
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
Thanit Lawyer
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
Kroo R WaraSri
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
Warissa'nan Wrs
 

La actualidad más candente (19)

คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กก
 
สมาส สนธิ 2 ครบ
สมาส สนธิ 2  ครบ สมาส สนธิ 2  ครบ
สมาส สนธิ 2 ครบ
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆพยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
พยัญชนะสระตัวเลขบรรยายชมแรกๆ
 
วรรคตอน2
วรรคตอน2วรรคตอน2
วรรคตอน2
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
คำควบกล้ำ
คำควบกล้ำคำควบกล้ำ
คำควบกล้ำ
 
เสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทยเสียงในภาษาไทย
เสียงในภาษาไทย
 
k payang 1
k payang 1k payang 1
k payang 1
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับงานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
งานชิ้นที่ 2แผ่นพับ
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
นางสาวจุฑาทิพย์ ศิรินคร เลขที่ 06 การสอนnouns (คำนาม)
นางสาวจุฑาทิพย์ ศิรินคร เลขที่ 06 การสอนnouns (คำนาม)นางสาวจุฑาทิพย์ ศิรินคร เลขที่ 06 การสอนnouns (คำนาม)
นางสาวจุฑาทิพย์ ศิรินคร เลขที่ 06 การสอนnouns (คำนาม)
 

Similar a Sk8 tha

รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
Sitthisak Thapsri
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
Nook Kanokwan
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Sunthon Aged
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
Sunthon Aged
 
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
Tongsamut vorasan
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
krupeatie
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
Nook Kanokwan
 

Similar a Sk8 tha (20)

รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
คำสมาส
คำสมาสคำสมาส
คำสมาส
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
ตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียงตำแหน่งการเกิดเสียง
ตำแหน่งการเกิดเสียง
 
Sk7 th
Sk7 thSk7 th
Sk7 th
 
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทยสรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
สรุปเข้ม#7 ภาษาไทย
 
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
1 02+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาคที่+2+นามและอัพพยศัพท์
 
Kitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotestKitaya2013 tabletnotest
Kitaya2013 tabletnotest
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
Parts of speech
Parts of speechParts of speech
Parts of speech
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
ชนิดของคำ
ชนิดของคำชนิดของคำ
ชนิดของคำ
 
นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์นาม และ อัพยยศัพท์
นาม และ อัพยยศัพท์
 

Más de Su Surut

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
Su Surut
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
Su Surut
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
Su Surut
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
Su Surut
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
Su Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
Su Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
Su Surut
 
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคมเฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
Su Surut
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
Su Surut
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
Su Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
Su Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
Su Surut
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
Su Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
Su Surut
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
Su Surut
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
Su Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
Su Surut
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
Su Surut
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
Su Surut
 
เฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคมเฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคม
Su Surut
 

Más de Su Surut (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 3
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต ตัวอังสนา
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคมเฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
เฉลย O net 48 ภาษาไทย+ สังคม
 
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 48 สังคม ม 6
 
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6ข้อสอบ O net  49 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 49 สังคม ม 6
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
ข้อสอบ O net 50 สังคม ม 6
 
เฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคมเฉลย Onet 50 สังคม
เฉลย Onet 50 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
เฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคมเฉลย O net 49 สังคม
เฉลย O net 49 สังคม
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
เฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคมเฉลย Onet 51 สังคม
เฉลย Onet 51 สังคม
 

Sk8 tha

  • 18. . . . . . . . . . . ************************************* . . .) .) . . . . . 34 .) .) . . . ................................................................................................................ ................................................................................................. . .......................................................................... ........................................................................... .......................................................................... . .............................................................................................................. .............................................................................................................. ........................................................................................................ . ................................................................................................................................. ......................................................................................................................... ................................................................................................................................ ............................................................................................................................ ............................................................................................................................. ............................................................................................................................. 35
  • 27.
  • 28. 02/02/55 1 อาจารยอาจารยสุพัตราสุพัตรา อุตมังอุตมัง สรุปสาระหลักการใช้ภาษาในข้อสอบ O-NET ๑.เสียง ๒.อักษร ๓.คํา ๔.ประโยค คําในภาษาไทยประกอบด้วยเสียง ๓ ชนิดได้แก่ เสียงพยัญชนะ เสียงสระ เสียงวรรณยุกต์ ๑.๑ เสียงพยัญชนะ พยัญชนะไทย มี ๔๔ รูป ๒๑ เสียง โดยมี หนาที่ดังนี้หนาทดงน ๑.เสียงพยัญชนะตน ก. เสียงพยัญชนะตนเดี่ยว ๒๑ เสียง เชน บาน สวย งาม ข. เสียงพยัญชนะตนควบญ เปนเสียงพยัญชนะตน ๒ เสียงปรากฏเฉพาะใน ตําแหนงตนพยางค ไดแก ก ข ค ต พ ผ ป ท ที่ควบกับ ร ล ว เชน ความ พรอม เปลา ฯลฯ
  • 29. 02/02/55 2 ๑. เสียงควบกลํ้าที่ได้รับอิทธิพลมาจาก ภาษาต่างประเทศ มี ๕ เสียง ได้แก่ /บร/ เช่น เบรก บรั่นดี/บร/ เชน เบรก บรนด /บล/ เช่น บล็อก /ดร/ เช่น ดรีม ดรัมเมเยอร์ /ฟร/ เช่น ฟรี เฟรนด์ /ฟล/ เช่น แฟลต ฟลูออรีนส์ ๒. อักษรนําและคําที่เขียนดวย ทร ออกเสียงเปน ซ คําเหลานี้ไมจัดเปนเสียงพยัญชนะตนควบ ไดแก คําที่ใช ห นําพยัญชนะตํ่าเดี่ยว เชน หมอ ใหญ หวานหวาน อ นํา ย ไดแก อยา อยู อยาง อยาก คําที่เขียนดวย ทร แตออกเสียง ซ เชน ทราย ไทร พุทรา เสียงพยัญชนะท้าย หรือ พยัญชนะสะกด แม่กก ใช้รูปพยัญชนะ ก ข ค ฆ แม่กด ใช้รปพยัญชนะ จ ช ซ ฎ ฏแมกด ใชรูปพยญชนะ จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส แม่กบ ใช้รูปพยัญชนะ บ ป พ ภ ฟ แม่กง ใช้รูปพยัญชนะ ง แม่กน ใช้รูปพยัญชนะ น ณ ญ ร ล ฬู แม่กม ใช้รูปพยัญชนะ ม แม่เกย ใช้รูปพยัญชนะ ย แม่เกอว ใช้รูปพยัญชนะ ว ข้อสังเกต ๑. คําบางไม่ปรากฏรูปพยัญชนะสะกด แต่ปรากฏเสียง พยัญชนะสะกด ได้แก่พยางค์ อํา ไอ ใอ เอา เช่น ขํา ไว้ ใจ เรา ๒. คําบางคํามีรูปพยัญชนะสะกดที่มีรูปสระกํากับ แต่รูปสระ นั้น ไม่ออกเสียง เช่น ธาตุ เมรุ ญาติ ๓. พยัญชนะทุกตัวเป็นตัวสะกดได้ ยกเว้น ๙ ตัว ที่เป็น ตัวสะกดไม่ได้ ได้แก่ ..... ฃ ฅ ฉ ฌ ผ ฝ ห อ ฮ (ฃวดฅนฉิ่ง เฌอผ้าฝาหีบอ่างฮูก) ๑.๒ เสียงสระ เสียงสระในภาษาไทยมี ๒๑ เสียง แบ่งเป็น สระเสยงสระในภาษาไทยม ๒๑ เสยง แบงเปน สระ เดี่ยว ๑๘ เสียง สระประสม ๓ เสียง
  • 30. 02/02/55 3 สระเดี่ยว สระเดี่ยวมี ๑๘ เสียง แบ่งเป็น สระเสียงสั้น ๙ เสียง สระเสียงยาว ๙ เสียง ดังนี้๙ เสยง สระเสยงยาว ๙ เสยง ดงน สระเสียงสั้น สระเสียงยาว อะ อิ อึ อา อี อื อุ เอะ แอะ เออะ โอะ เอาะ อู เอ แอ เออ โอ ออ สระประสม สระประสม หรือ สระเลื่อน เกิดจากการประสม ของสระเดี่ยว ๒ เสียง เมื่อเริ่มออกเสียงที่สระ ึ่ ้ ื่ ไป ี่ ึ่ ั ี้หนึง แลวเลือนไปทีสระหนึง ดงนี สระประสม สระเดี่ยว สระเดี่ยว เอียะ เอีย ื / ื อิ/ อี ึ/ ื อะ/อา /เออะ/เออ อัวะ/อัว อ/ออ อุ/อู อะ/อา อะ/อา ข้อสังเกต ๑. สระ อํา ไอ ใอ เอา ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ปัจจุบันถือเป็น พยางค์ เนื่องจากประกอบด้วย พยัญชนะต้น สระ เสียงวรรณยุกต์ และ เสียงพยัญชนะสะกดที่ไม่ปรากฏรป ดังนี้และ เสยงพยญชนะสะกดทไมปรากฏรูป ดงน อํา เป็นพยางค์ที่มีเสียง ม เป็นพยัญชนะสะกด ไอ ใอ เป็นพยางค์ที่มีเสียง ย เป็นพยัญชนะสะกด เอา เป็นพยางค์ที่มีเสียง ว เป็นพยัญชนะสะกด ฤ ฤๅ มีเสียงพยัญชนะต้น ร เสียงสระ อึ และอือ ตามลําดับ และมีเสียงวรรณยุกต์ ตรี และสามัญ ํ ัตามลําดับ ฦ ฦๅ มีเสียงพยัญชนะต้น ล เสียงสระ อึ และอือ ตามลําดับ และมีเสียงวรรณยุกต์ ตรี และสามัญ ตามลําดับ
  • 31. 02/02/55 4 ๒.สระบางเสียงในบางคํา ที่ออกเสียงสั้น ยาวต่างกับรูปเขียน อีก รูปเขียนเป็นเสียงยาว แต่ออกเสียงเป็นเสียงสั้น [อิก] เช่น ลองอีกทีอาจสําเร็จได้ลองอกทอาจสาเรจได เกิดเหตุร้ายอีกแล้ว ออกเสียงเป็นเสียงยาวได้เมื่อเน้นเสียง เช่น พูดอีก ก็ผิดอีก นํ้า รูปเป็น อํา แต่ออกเสียงยาว /น้าม/ เช่น จงประหยัดนํ้า ้ ้ออกเสียงสั้น /นั้ม/ (ในคําประสม) เช่น นํ้าแข็งที่จําหน่ายในท้องตลาดขณะนี้ยังไม่สะอาดพอ ๑.๓ เสียงวรรณยุกต์ วรรณยุกต์ คือ ระดับเสียงสูงตํ่าที่ทําให้คําเปลี่ยน ี ๔ ป ๕ ี ั ี้ ี ั ีความหมาย ม ๔ รูป ๕ เสยง ดงน เสยงสามญ เสยง เอก เสียงโท เสียงตรี เสียงจัตวา แต่มีเครื่องหมายแทน เสียงวรรณยุกต์เพียง ๔ รูป คือ ไตรยางศ์ คําเป็น คําตาย อักษรกลาง ๙ ตัว ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ เสียงสามัญ บาน เสียงเอก บาด อักษรสูง ๑๑ ตัว ข ฃ ฉ ฐ ถ ผ ฝ ศ ษ ส ห เสียงจัตวา ขา เสียงเอก ขาดฐ อักษรตํ่า อักษรตํ่าเดี่ยว ๑๐ ตัว ง ญ น ย ณ ร ว ม ฬ ล อักษรตํ่าคู่ ๑๔ ตัว ค ฅ ฆ ช ฌ ฑ ฒ ท ธ พ ภ ฟ ซ ฮ เสียงสามัญ แคน สระเสียงสั้น เสียงตรี คะ คัด สระเสียงยาวเสียงโท คาด แนบ เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทยเกี่ยวข้องกับ คําเป็น ประสมตัวสะกดแม่ กน กง กม เกย เกอวประสมตวสะกดแม กน กง กม เกย เกอว ประสมด้วยสระเสียงยาว คําที่ประสมสระ อํา ไอ ใอ เอา ฤๅ ฦๅ คําตาย ประสมด้วยสระเสียงสั้น แม่ กด กบ กกประสมดวยสระเสยงสน แม กด กบ กก ประสมด้วยสระเสียงสั้น แม่ เกย เกอว
  • 32. 02/02/55 5 เสียงวรรณยุกต์ในภาษาไทย แบ่งตามระดับเสียง ได้ ๒ ประเภท วรรณยุกต์ระดับ เสียงค่อนข้างคงที่ทั้งตลอดพยางค์ ี ัเสียงสามัญ เสียงเอก (เสียงตํ่า) เสียงตรี (เสียงสูง) วรรณยุกต์เปลี่ยนระดับ เสียงเปลี่ยนแปลงมากระหว่าง ต้นพยางค์ กับตอนท้าย ่ ่เสียงโท เปลียนจากระดับสูงมาตํา เสียงจัตวา เปลี่ยนจากตํ่าไปสูง ๑. ขอใดมีเสียงวรรณยุกตครบ ๕ เสียง (O-NET ๕๐) ๑. เจาคุมแคนแสนโกรธพิโรธพี่ ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง เสียงในภาษาไทย ๒. แตเดือนยี่จนยางเขาเดือนสาม ๓. จนพระหนอสุริยวงศทรงพระนาม ๔. จากอารามแรมรางทางกันดาร เฉลย ข้อ ๑ เจ้า เสียงวรรณยุกต์ โท คุม เสียงวรรณยุกต์ สามัญ แค้น เสียงวรรณยกต์ ตรีแคน เสยงวรรณยุกต ตร แสน เสียงวรรณยุกต์ จัตวา โกรธ เสียงวรรณยุกต์ เอก พิ เสียงวรรณยุกต์ ตรี โรธ เสียงวรรณยุกต์ โท ๒. ขอใดไมมีสระประสม (O-NET ๕๐) ๑. ใครดูถูกผูชํานาญในการชาง ๒ ความคิดขวางเฉไฉไมเขาเรื่อง๒. ความคดขวางเฉไฉไมเขาเรอง ๓. เหมือนคนปาคนไพรไมรุงเรือง ๔. จะพูดดวยนั้นก็เปลืองซึ่งวาจา เฉลยข้อ ๑ สระประสม ี ื ัสระ เอีย เอือ อัว
  • 33. 02/02/55 6 ๓. ตามธรรมชาติของภาษา ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทั่วไปของ ภาษา (O-NET ๕๑) ๑. คําเกิดจากการนําเสียงในภาษามาประกอบกันเข้า ๒. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เขียนเรียงความส่งเข้า ประกวด ๓. ประโยคนี้มี ๒ ประโยครวมกันโดยใช้คําเชื่อมช่วย เชื่อมความ ๔. ปัจจุบันคนไทยหลายคนพูดเสียงพยัญชนะควบกลํ้า ไม่ได้เลย เฉลยข้อ ๒ ลักษณะทั่วไปของภาษา ใช้เสียงสื่อความหมาย ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เป็นหน่วยใหญ่ขึ้นไป เรื่อย ๆ ไม่จํากัด มีลักษณะเหมือนและต่างกัน มีการเปลี่ยนแปลง ๔. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์จัตวา (O-NET ๕๑) ๑. พระเหลือบลงตรงโตรกชะโงกเงื้อม ๒. นํ้ากระเพื่อมแผ่นผาศิลาเผิน ๓. กระจ่างแจ้งแสงจันทร์แจ่มเจริญ ๔. พระเพลิดเพลินพลางเพรียกสําเหนียกใจ เฉลยข้อ ๑ ข้อ ๒ เผิน ข้อ ๓ แสง ข้อ ๔ สําเหนียก ๕. ข้อใดประกอบด้วยพยางค์ที่ออกเสียงสระยาว ทุกคํา (O-NET ๕๑) ๑. วิ้งว้าง เงินผ่อน แบ่งแยก ๒. วี้ดว้าย เชิญชวน คลอนแคลน ๓. พล้เพล้ ร่องแร่ง จองหอง ๔. รีดกราย ร่อนเร่ ลอดช่อง เฉลยข้อ ๒ คําที่ออกเสียงสระเสียงสั้น เงินผ่อน ร่องแร่ง ลอดช่องรองแรง ลอดชอง
  • 34. 02/02/55 7 ๖. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นมากที่สุด (ไม่นับเสียงซํ้า) (O-NET ๕๑) ๑. ใครมาเป็นเจ้าเข้าครอง ไ๒. คงจะต้องบังคับขับไส ๓. เคี่ยวเข็ญเย็นคํ่ากรําไป ๔. ตามวิสัยเชิงเช่นผู้เป็นนาย เฉลยข้อ ๔ เสียงพยัญชนะต้น ได้แก่ ๑. คร ม ป จ ข ๕ ๒. ค จ ต บ ส ๕ ๓. ค ย กร ป ๔ ๔. ต ว ส ช ผ ป น ๗ ๗. ตามธรรมชาติของภาษา ข้อใดไม่ใช่ลักษณะทั่วไปของภาษา (O-NET ๕๒) ๑. ครูประจําชั้นกวักมือเรียกเด็กนักเรียนไปเข้าแถวที่สนาม ๒. คําว่า “บัตรเติมเงิน” เป็นคําประสมที่ใช้ในภาษาไทยไม่ นานนัก ๓. คุณวิมลเล่าว่าลูกสาวอายุ ๒ ขวบพูดเก่งขึ้น ใช้ประโยคได้ ยาวกว่าเมื่อก่อนมาก ๔. เด็กชายทองไม่สามารถออกเสียงคําภาษาอังกฤษที่มีเสียง ตัว S สะกดได้เพราะเสียงสะกดนี้ไม่มีในภาษาไทย เฉลยข้อ ๑ ไม่ได้ใช้เสียงสื่อความหมาย ลักษณะทั่วไปของภาษา ใช้เสียงสื่อความหมาย ประกอบด้วยหน่วยที่เล็กที่สุด เป็นหน่วยใหญ่ขึ้นไป เรื่อย ๆ ไม่จํากัด มีลักษณะเหมือนและต่างกัน มีการเปลี่ยนแปลง ใช้คําประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคําถาม ข้อ ๘-๑๑ (O-NET ๕๒) ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลนญ ง. เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคา ๘. ข้อใดไม่มีเสียงวรรณยุกต์โท ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๔ ข้อ ง ก คําว่า ยาก ข คําว่า มาก ค คําว่า ก็
  • 35. 02/02/55 8 ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา ๙. ข้อใดมีเสียงสระประสม ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๒ สระประสม เอีย เอือ อัว คําว่า เหมือน ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา ๑๐. ข้อใดมีอักษรกลางน้อยที่สุด ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๒ อักษรกลาง ๙ เสียง ก จ ฎ ฏ ด ต บ ป อ ข้อ ก มี ๔ คํา จะ จันทน์ กฤษณา ยาก ข้อ ข มี ๑ คํา มาก ข้อ ค มี ๖ คํา จะ ประ สงค์ องค์ ปราชญ์ ก็ ขาด ข้อ ง มี ๒ คํา จันทน์ แดง ก. จะหาจันทน์กฤษณานั้นหายาก ข. เหมือนคนมากมีดื่นนับหมื่นแสน ค. จะประสงค์องค์ปราชญ์ก็ขาดแคลน ง เสมอแม้นจันทน์แดงแรงราคาง. เสมอแมนจนทนแดงแรงราคา ๑๑. ข้อใดมีจํานวนพยางค์มากที่สุด ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๑ ข้อ ก ๙ พยางค์ ข้อ ข ๘ พยางค์ ข้อ ค ๘ พยางค์ ข้อ ง ๘ พยางค์
  • 36. 02/02/55 9 ใช้คําประพันธ์ต่อไปนี้ตอบคําถาม ข้อ ๑๒-๑๖ (O-NET ๕๓) ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา ง.มีมาแต่โบราณช้านานครัน ๑๒. ข้อใดมีเสียงสระประสม ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๒ คําว่า เพียร เรียน ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา ง.มีมาแต่โบราณช้านานครัน ่๑๓ ข้อใดมีคําที่ออกเสียงอักษรควบ ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๔ คําว่า ครัน ก.โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข.ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค.ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา ง มีมาแต่โบราณช้านานครันง.มมาแตโบราณชานานครน ๑๔. ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบ 5 เสียง ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๒ ราช เสียง โท สวัสดิ์ เสียง เอก ต้อง เสียง โทตอง เสยง โท เพียร เสียง สามัญ เรียน เสียง สามัญ รัก เสียง ตรี ษา เสียง จัตวา
  • 37. 02/02/55 10 ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค. ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา ง มีมาแต่โบราณช้านานครันง. มมาแตโบราณชานานครน ๑๕. ข้อใดมีอักษรตํ่าน้อยที่สุด (ไม่นับอักษรที่ซํ้ากัน) ๑. ข้อ ก ๒. ข้อ ข ๓. ข้อ ค ๔. ข้อ ง เฉลยข้อ ๓ ข้อ ก ร ณ ว ม ต ย ข้อ ข ร ช ว ง พ ย น ข้อ ค ท น ว ร ข้อ ง ม ร ณ ช น ค ก. โบราณว่าเป็นข้าจอมกษัตริย์ ข. ราชสวัสดิ์ต้องเพียรเรียนรักษา ค. ท่านกําหนดจดไว้ในตํารา ง. มีมาแต่โบราณช้านานครันง. มมาแตโบราณชานานครน ๑๖. ข้อใดมีอักษรนํา ๑.ข้อ ก และ ข ๒. ข้อ ข และ ค ๓.ข้อ ค และ ง ๔. ข้อ ง และ ก เฉลยข้อ ๒ สวัสดิ์ กําหนด ๑๗. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นเดี่ยวซํ้ากันมากที่สุด ๑.นุ่งยกนอกดอกวิเศษเกล็ดพิมเสน ๒.โจงกระเบนประคดคาดไม่หวาดไหว ๓.บ้างใส่เสื้อส้าระบับเข้มขาบใน ๔.ข้างนอกใส่กรุยกรองทองสําริด เฉลยข้อ ๓ ใส่เสื้อส้า เข้มขาบ ๕ เสียง
  • 38. 02/02/55 11 ๑๘. ข้อใดมีคําที่ประกอบด้วยเสียงสระประสมทุก คํา ๑.เฟื่องฟ้ า รํ่ารวย เสียหน้า ่ ้๒.มัวหมอง เชือใจ เลิศลํา ๓.เปรี้ยวปาก เกรอะกรัง พรํ่าเพรื่อ ๔.เรื่องราว เพลี่ยวพลํ้า แท่นพิมพ์ เฉลยข้อ ๑ ๑.เฟื่องฟ้ า รํ่ารวย เสียหน้า สระ เอีย เอือ อัว ๑๙. คําขวัญต่อไปนี้มีเสียงพยัญชนะสะกดกี่เสียง (ไม่ นับเสียงซํ้า) “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด” ๑ ๕ เสียง๑. ๕ เสยง ๒. ๖ เสียง ๓. ๗ เสียง ๔. ๘ เสียง เฉลยข้อ ๒ “รักในหลวง ห่วงลูกหลาน ช่วยกันต้านยาเสพติด” รัก ลูก แม่กก ใน ช่วย แม่เกยใน ชวย แมเกย หลวง ห่วง แม่กง หลาน กัน ต้าน แม่กน เสพ แม่กบ ติด แม่กด ๒๐. ข้อใดไม่มีเสียงสระประสม ๑. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ ๒. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น ๓. สิ่งใดในโลกล้วน เปลี่ยนแปลง ๔. คําแสลงเสียดแทงระคน คําหยาบ หยอกฤๅ เฉลยข้อ ๑ ๑. มโนมอบพระผู้ เสวยสวรรค์ สระประสม เอีย เอือ อัว
  • 39. 02/02/55 12 สิ่งที่นักเรียนควรรู้เกี่ยวกับอักษร มีดังนี้ ๒.๑ การสะกดคํา ๒.๒ การอ่านออกเสียงคําไทยที่มาจาก ี ัภาษาบาลีและสันสกฤต ๑. สระ ๒. พยัญชนะ ๓. วรรณยุกต ๒.๑ การสะกดคํา การเขียนสะกดคําให้ถูกต้องเกี่ยวข้องกับเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ ๑.) คําพ้องเสียง คือ คําที่เขียนต่างกัน ออกเสียง ื ั ่ ั ่เหมือนกัน ความหมายต่างกัน เช่น ประพาส แปลว่า เที่ยว ประพาต แปลว่า พัด กระพือ ประภาษ แปลว่า พูด ประภาส แปลว่า แสงสว่าง ๒.๒ การอ่านออกเสียงคําไทยที่มาจากภาษา บาลีและสันสกฤต ๑. สระ − ถ้าไม่มีรูปสระให้อ่านออกเสียงโอะ เช่น กมล อ่านว่า กะ-มน − ถ้ามีรูปสระให้ออกเสียงตามรูปสระและพยัญชนะสะกด เช่น วิวิธ อ่านว่า วิ-วิด −คําที่มีตัว ร ออกเสียง ออ เช่น กรกฎ อ่านว่า กอ-ระ-กด หรดาล อ่านว่า หอ-ระ-ดาน −ถ้ามีสระ อิ อุ กํากับ อยู่ท้ายพยางค์ ไม่ออกเสียงุ ู เช่น เกตุ อ่านว่า เกด เมรุ อ่านว่า เมน มาตุ อ่านว่า มาด − ถ้ามีสระ อิ อุ กํากับ อยู่ท้ายพยางค์ และนําไป รวมกับคําใหม่ต้องออกเสียง อิ อุ ด้วย ชาติพันธ์ อ่านว่า ชาด ติ พันชาตพนธุ อานวา ชาด-ต-พน มาตุภูมิ อ่านว่า มา-ตุ-พูม ญาติธรรม อ่านว่า ยาด-ติ-ทํา
  • 40. 02/02/55 13 −คําสมาสที่ไม่มีรูปสระประสมอยู่ให้ออกเสียง อะ ที่ท้ายคําหน้า เช่น ราชการ อ่านว่า ราด-ชะ-กาน เอกสาร อ่านว่า เอก-กะ-สาน ข้อสังเกต ๑. คําบางคํา อ่านออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ ตามหลักภาษา และตามความนิยม เช่น วุฒิ อ่านออกเสียงได้ ๒ แบบ คือ วุด-ทิ และ วุด ๒. พยัญชนะ มีข้อสังเกต ดังนี้ − อักษร ฑ ออกเสียง ดตามในบาลีสันสกฤต เช่น บัณฑิต บัณเฑาะว์ บัณฑุ ออกเสียง ทตาม ภาษาไทย เช่น กุณฑล กุณฑี ทัณฑฆาต −ไม่ออกเสียงควบกลํ้าตามแบบบาลีสันสกฤต แต่คงรูปการเขียนไว้ เช่น ศรี อ่านว่า สี ศรัทธา อ่านว่า สัด-ทา ศฤงคาร อ่านว่า สิง-คาน หรือ สะ-หริง-คาน −ทร บางคําไทยออกเสียงเป็นคําควบแท้ บางคําเป็น ควบไม่แท้ นิทรา อ่านว่า นิด-ทรา จันทรา อ่านว่า จัน-ทรา ทรัพย์ อ่านว่า ซับ พุทรา อ่านว่า พุด-ซา หากมี ร และ ล ตามพยัญชนะอื่น การอ่านคําในภาษาบาลี สันสกฤตจะออกเสียงแยกพยางค์ไม่ควบกลํ้า กรัชกาย อ่านว่า กะ-รัด-ชะ-กาย เทวนาครี อ่านว่า เท-วะ-นา-คะ-รี กรณา อ่านว่า กะ-ร-นากรุณา อานวา กะ รุ นา กเลวระ อ่านว่า กะ-เลว-ระ ปรัมปรา อ่านว่า ปะ-รํา-ปะ-รา ยกเว้นคําว่า ปรามาส ปรากฏ ปราณ ปริศนา ครุ ครุฑ ปรึกษา อ่านแบบอักษรควบ
  • 41. 02/02/55 14 ๓.วรรณยุกต์ −คํายืมภาษาบาลีสันสกฤตที่มีพยัญชนะ ๒ ตัวเรียงกัน ไทยอ่านเหมือนอักษรนํา เช่น กนก อ่านว่า กะ หนกกนก อานวา กะ-หนก กษณะ อ่านว่า กะ-สะ-หนะ จริต อ่านว่า จะ-หริด ผลิต อ่านว่า ผะ-หลิด −คําที่มีรูปสระกํากับ บางคํานิยมอ่านแบบอักษรนํา เช่น ประโยชน์ อ่านว่า ประ-โหยด ประมาท อ่านว่า ประ-หมาด ดิลก อ่านว่า ดิ-หลกดลก อานวา ด หลก บัญญัติ อ่านว่า บัน-หยัด บางคําอ่านได้ ๒ แบบ เช่น สมรรถภาพ อ่านว่า สะ-หมัด-ถะ-พาบ หรือ สะ-มัด-ถะ-พาบ ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง อักษร ๑. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา ๑. เที่ยวประพาสในพนมพนาสัณฑ์ ้๒. ทิศประจิมริมฐานมนฑปนัน ๓. ประณมหัตถ์ทักษิณเกษมสันต์ ๔. กระแสสินธ์สายชลเป็นวนวัง เฉลยข้อ ๑ ประพาส ก. ไปต่างถิ่นหรือต่างแดน พนาสัณฑ์ น. ราวป่า, แนวป่า, ทิวไม้, ป่าสูง, ป่าดง, มณฑป [มนดบ] น เรือนยอดขนาดใหญ่มีรปสี่เหลี่ยมจัตรัส หรือเป็นรปมณฑป [มนดบ] น. เรอนยอดขนาดใหญมรูปสเหลยมจตุรส หรอเปนรูป ตัดมุม หรือย่อไม้แปด ย่อไม้สิบสอง ยอดหลังคาเป็นทรงจอมแห, ใช้ว่า มรฑป ก็มี ประนม ก. ยกกระพุ่มมือ, ยกมือขึ้นกระพุ่ม ทักษิณ น. ทิศใต้ ใช้ว่า ทิศทักษิณ สินธุ์ (กลอน) น. ลํานํ้า, แม่นํ้า, สายนํ้า, นํ้า, ทะเล, มหาสมุทร ๒. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา ๑. ท่าทางชายคนนั้นดูลอกแล่กเลิกลั่กไม่น่าไว้ใจเลย ๒. เขาเดินลุกลี้ลุกลนมาหาลูกของเขา พูดละลํ่าละลัก แล้วก็หลบไป ๓. วันนี้ทําอะไรดูขลุกขลักไปหมดงานชิ้นนี้จะเสร็จอยู่รอม ล่อก็ไม่เสร็จ ๔. รุ่งกับเรืองไม่ยอมลดลาวาศอก เถียงกันอยู่นานกว่าจะ รอมชอมกันได้ เฉลยข้อ ๒ ลอกแลก ว. แสดงอาการหลุกหลิกเป็นต้น เหลียวซ้ายแลขวาอยู่ตลอดเวลา ถือกันว่าเป็นกิริยาไม่สุภาพหรือบางทีก็ส่อพิรุธด้วย. เลิ่กลั่กว. แสดงอาการทําหน้าตาตื่นเพราะอัศจรรย์ใจ แปลกใจ หรือตกใจ เป็น ต้น. รอมร่อ [รอมมะร่อ] ว. ในระยะทางหรือเวลาอันใกล้จวนเจียน เช่น จะสําเร็จ การศึกษาอยู่รอมร่อ จะถึงบ้านอยู่รอมร่อ, รํามะร่อ ก็ว่า. ลดราวาศอก ก. อ่อนข้อ, ยอมผ่อนปรนให้, เช่น เถียงกันไม่ลดราวาศอกเขา เป็นพี่ก็ต้องยอมลดราวาศอกให้เขาบ้าง
  • 42. 02/02/55 15 ๓. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา ๑. เขากินอาหารมังสวิรัติทุกวันพุธมาสามปีแล้ว ๒. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่ ตลอดเวลา ๓. คนที่ซื้อทองรูปพรรณต้องจ่ายเงินค่ากําเหน็จ ด้วย ๔. เพื่อนเห็นเขานั่งหลับจึงถามว่าเข้าฌานถึงชั้น ไหนแล้ว เฉลยข้อ ๑ ๑. ที่ปากทางเข้าหมู่บ้านมียามรักษาการอยู่ ตลอดเวลา ยามรักษาการณ์ ยามรักษาเหตุการณ์ รักษาการ ปฏิบัติหน้าที่แทน ๔. ข้อใดมีคําสะกดผิด ๑. ดาวพระศุกร์ที่เห็นในเวลาเช้ามืดเรียกว่าดาว ประกายพรึก ใ ส ส ี ํ ั ั ่ป ป๒. ในสวนสาธารณะมคนมาออกกาลงกายกนอยูปะปาย ๓. กระบะที่ลงรักแบบญี่ปุ่นและจีนเรียกว่าเครื่องกํามะลอ ๔. ในภาวะเศรษฐกิจตกตํ่าทุกครอบครัวต้อง กระเบียดกระเสียร เฉลยข้อ ๒ ประปราย ว. มีกระจายอยู่ห่าง ๆ เช่น ผมหงอกประปราย ผลไม้ติดประปราย,มีห่าง ๆ เป็นระยะ ๆ, เรี่ยราย, เล็กน้อย, เช่น ยิงกันประปราย. ๕. ข้อใดสะกดถูกทุกคํา ๑. ถนนราดยาง เต็นท์ ซาบซึ้ง ๒. มาตรการ ภารกิจ ผัดวันประกันพรุ่ง ิ ์ ็ ํ๓. ผลานิสงฆ์ เกร็ดพงศาวดาร ดุลอานาจ ๔. ทนทายาด ทุพภิกขภัย นานัปปการ เฉลยข้อ ๒ คําที่ผิด คือ ถนนลาดยาง ์ผลานิสงส์ นานัปการ
  • 43. 02/02/55 16 สิ่งที่ควรรู้เกี่ยวกับเรื่องคํา ๑. ความหมายของคํา ๒. ชนิดของคํา ๓. การใช้คํา ๔. การเพิ่มคํา ๑. ความหมายของคํา พิจารณาได้เป็น ๒ ด้าน ดังนี้ ๑.๑ ความหมายเฉพาะ แยกพิจารณาได้ ๒ ทาง ทางที่ ๑ ความหมายตามตัวและความหมายเชิงอุปมา ก.) ความหมายตามตัว หมายถึง ความหมายเดิมของ คํานั้น เช่น เก้าอี้ คือ ที่สําหรับนั่ง ข.) ความหมายเชิงอุปมา หมายถึง ความหมายที่เกิด จากการเปรียบเทียบกับความหมายตามตัว เช่น หิน ความหมายตามตัว คือ ก้อนหิน ความหมายเชิงอุปมา คือ ยาก ทางที่ ๒ ความหมายนัยตรงและความหมายนัยประหวัด ก.) ความหมายนัยตรง เป็นความหมายที่มิได้มีเจตนาที่ จะทําให้เกิดความรู้สึกอย่างใด ข.) ความหมายนัยประหวัด เป็นความหมายที่เกิดจาก คํานั้นทําให้เกิดความร้สึกต่าง ๆ กันไป อาจจะเป็นทางดี หรือ ไม่ดี หรือคานนทาใหเกดความรูสกตาง ๆ กนไป อาจจะเปนทางด หรอ ไมด หรอ ทางอื่นใดก็ได้ เช่น หมู ความหมายนัยตรง คือ อาจหมายถึง สัตว์หรือ สิ่งที่ง่าย ๆ ไม่เกิน ความสามารถที่จะทําได้ ความหมายนัยประหวัด เกิดความรู้สึกว่า โง่ ดูถูก เพราะอยู่ใน การควบคุม ๑.๒ ความหมายเทียบเคียงกับคําอื่น แบ่งได้ดังนี้ ๒.๑ คําที่มีความหมายเหมือนกันหรือคําไวพจน์ คําที่ใช้ในภาษาสุภาพและไม่สุภาพ เช่น ก้น สุภาพกว่า ตูด คําที่ใช้ในภาษาแบบแผน เช่น หนัง กับ ภาพยนตร์คาทใชในภาษาแบบแผน เชน หนง กบ ภาพยนตร คําที่ใช้ในภาษาสําหรับเด็กกับผู้ใหญ่ หรือ คนสามัญ กับเจ้านาย คําที่ใช้ในการประพันธ์ เช่น สุริยา กับ พระอาทิตย์ ๒.๒ คําที่มีความหมายคล้ายกันหรือร่วมกัน ตัด ก. ทําให้ขาดด้วยของมีคม เช่น ตัดกระดาษ ตัดผ้า หั่น ก. เอาของวางลงบนที่รองรับแล้วตัดให้เป็นชิ้นเล็ก ๆ เฉือน ก. เชือดแบ่งเอาแต่บางส่วน ้ ้ส่งเสริม ก. เกื้อหนุน, ช่วยเหลือสนับสนุนให้ดีขึ้น, เช่น ส่งเสริม การลงทุน ส่งเสริมการศึกษา สนับสนุน ก. ส่งเสริม, ช่วยเหลือ, อุปการะ, เช่น สนับสนุนการ กีฬา สนับสนุนการศึกษา
  • 44. 02/02/55 17 ๒.๓ คําที่มีความหมายตรงข้ามกัน เรียบ ตรงข้ามกับ แล้ง ตรงข้ามกับ ยับ ท่วมแลง ตรงขามกบ แดด ตรงข้ามกับ ทวม ร่ม ๒.๔ คําที่มีความหมายครอบคลุมคําอื่น −สัตว์ปีก นก ไก่ เป็ด ดอกไม้ ดาวเรือง มะลิ แก้ว−ดอกไม ดาวเรอง มะล แกว −เครื่องเรือน เตียง ตู้ โต๊ะ ๒.ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค ชนิดและหน้าที่ของคําในประโยค แบ่งได้เป็น ๗ ชนิด ตามหนังสือ หลักภาษาไทย ดังนี้ ๑.คํานาม คําที่ใช้เรียกชื่อ ๒ คําสรรพนาม คําที่ใช้แทนชื่อ๒.คาสรรพนาม คาทใชแทนชอ ๓.คํากริยา คําที่แสดงอาการหรือสภาพ ๔.คําวิเศษณ์ คําขยาย ๕.คําบุพบท คําที่นําหน้าคําอื่นเพื่อบอกหน้าที่ของคํานั้น ๖.คําสันธาน คําเชื่อม ๗.คําอุทาน คําที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงความรู้สึก ๓. การใช้คํา • ใช้ให้ตรงกับความหมายที่ต้องการจะสื่อ ใช้ให้ ตรงเจตนา ใช้ให้ไม่กํากวม • ใช้ให้ตรงตามความนิยม เช่น มะม่วงดก ไม่ใช้ มะม่วงชุม • ใช้คําให้เหมาะแก่กาลเทศะและบุคคล • ใช้คําไม่ซํ้าซาก • ใช้คําร่วมกับคําอื่นให้ถูกต้อง ๔. การเพิ่มคํา ที่มาของคําบางคําในภาษาไทย เกิดจาก ๑. การเลียนเสียงธรรมชาติ เช่น ตุ๊กแก ออด กริ่ง ฉู่ฉี่ ๒ การสร้างคํา ได้แก่ คําซ้อน คําซํ้า คําประสม คําสมาส๒. การสรางคา ไดแก คาซอน คาซา คาประสม คาสมาส ๓. การยืมคํามาจากภาษาอื่น เช่น ภาษาบาลี สันสกฤต เขมร ฯลฯ ๔. การกําหนดขึ้นมาใช้กันเฉพาะกลุ่ม เรียก คําคะนอง ( Slang ) เช่น เบ ๆ ชิว ๆ ข้อสังเกตเรื่องการเพิ่มคํา ๑. คําซํ้า ิ ํ ํ ํ ี ั ํ้ ั โ ใ ้เกิดจากการนําคําคําเดียวกัน มาซํากัน โดยการใช้ “ ๆ ” เติมหลังคําเดิม
  • 45. 02/02/55 18 ความหมายของคําซํ้าอาจเปลี่ยนไปจากคําเดิม เช่น ๑. ความหมายพหูพจน์ พี่ ๆ เพื่อน ๆ เด็ก ๆ ๒. ความหมายเพิ่มหลักจํานวนให้มากขึ้น เป็นแสน ๆ เป็น ล้าน ๆ เป็น หมื่น ๆ ิ่ ํ ั ใ ้ ึ้ ป็ โ๓. ความหมายเพิมจานวนลักษณนามให้มากขึน เป็นโหล ๆ เป็นเดือน ๆ ๔. ความหมายเน้น เช่น เนื้อ ๆ นํ้า ๆ ผัก ๆ ๕. ความหมายไม่เฉพาะเจาะจง เช่น อะไร ๆ ใคร ๆ ไหน ๆ แถว ๆ ข้าง ๆ ใกล้ ๆ ๖. ความหมายแยกทีละส่วน เช่น ชิ้น ๆ คดี ๆ วัน ๆ ๗. ความหมายหลายครั้งและทําแต่เนื่อง เช่น พูด ๆ มอง ๆ ฟัง ๆ ๘. เน้นความหมายของคํากริยานั้น กิน ๆ เร็ว ๆ ไป ๆ ๙ ความหมายเบาลง เช่น เพลีย ๆ ชอบ ๆ เคือง ๆ๙. ความหมายเบาลง เชน เพลย ๆ ชอบ ๆ เคอง ๆ ๑๐.ความหมายบอกความเน้น ทําซํ้า เกิดซํ้า เช่น เสมอ ๆ บ่อย ๆ ช้า ๆ ๑๑.คําซํ้าในภาษาพูดอาจออกเสียงเน้นหนักที่คําหน้าและ เปลี่ยนเสียงวรรณยุกต์ เช่น เด๊กเด็ก ง้วงง่วง ข้อสังเกต -คําบางคําต้องออกเสียงซํ้า เสมอ เช่น หยิม ๆ หงึก ๆ ฉอด ๆ เหนาะ ๆๆ ๆ -คําต่อไปนี้ไม่ใช่คําซํ้า แม้จะเขียนเหมือนกันก็ตาม เช่น จะจะ นานา เชาเชา ๒. คําซ้อน เกิดจากการนําคําตั้งแต่ ๒ คําขึ้นไป มาเรียงต่อ กัน โดยแต่ละคํา มีความสันพันธ์กันในด้าน ความหมาย เพื่อให้ได้ความหมายที่ชัดเจน ลักษณะความหมายของคําซ้อน ๑)ความหมายเหมือนกัน เช่น เร็วไว ทรัพย์สิน สูญหาย ๒)ความหมายคล้ายกัน เช่น ใจคอ ภาษีอากร เย็บปัก ถักร้อย ๓)ความหมายตรงกันข้าม เช่น ใกล้ไกล ผิดถูก ตื้นลึก หนาบาง จํานวนคําในคําซ้อน • คําซ้อน ๒ คํา เช่น ช้างม้า บ้านเมือง กู้ยืม • คําซ้อน ๔ คํา เช่น ถ้วยโถโอชาม ตีรันฟันแทง ตับ ไ ไ ้ไตไส้พุง • คําซ้อน ๖ คํา เช่น คดในข้อ งอในกระดูก เลือกที่รัก มักที่ชัง กําแพงมีหู ประตูมีช่อง
  • 46. 02/02/55 19 ที่มาของคําซ้อน ๑) คําไทย+คําไทย เช่น เดือดร้อน เข็ดหลาบ แปดเปื้อน ๒) คําไทย+คําต่างประเทศ เช่น ข้าทาส ศึกสงคราม เขียว ขจี แจกฟรี พักเบรก ๓) คําต่างประเทศ+คําต่างประเทศ เช่น ยักษ์มาร ละเอียดลออ ๓. คําประสม เกิดจากการนําหน่วยคําอิสระที่มีความหมาย ต่างกัน อย่างน้อย ๒ หน่วย มารวมกัน เกิดเป็นคํา ่ใหม่ที่มีความหมายใหม่ ลักษณะเฉพาะของคําประสม ๑. เกิดความหมายใหม่ แต่มีเค้าความหมายเดิมอยู่ด้วย เช่น ผ้าเช็ดหน้า กล่องดินสอ นํ้าใจ ๒. ไม่สามารถแทรกคําใด ๆ ระหว่างคําประสมได้ถ้าแทรกได้จะไม่ใช่ คําประสม เช่น ลกช้าง (ลกของช้าง) ไม่ใช่คําประสม ลกช้าง (คําคาประสม เชน ลูกชาง (ลูกของชาง) ไมใชคาประสม ลูกชาง (คา สรรพนาม) เป็นคําประสม ๓. ไม่สามารถสลับตําแหน่งหรือย้ายที่คําได้ ๔. คําประสมจะออกเสียงต่อเนื่องกันไม่หยุดระหว่างคํา เช่น ข้าวเย็น หมดแล้ว ๕. ต้องไม่ใช่คําที่ใช้เป็นกลุ่มคําหรือประโยค เช่น กินนํ้า ฝนตก ฟ้าร้อง ส่วนประกอบของคําประสม ๑) คําประสมที่เป็นคํานาม เช่น รถด่วน ผ้าขี้ริ้ว ทางเท้า ๒) คําประสมที่เป็นคํากริยา เช่น ซักฟอก ปิดปาก ตีบทแตก ๓) คําประสมที่เป็นคําวิเศษณ์ เช่น คอตก ใจดี ปากหวาน๓) คาประสมทเปนคาวเศษณ เชน คอตก ใจด ปากหวาน ๔) คําประสมที่มีคําตั้ง+คําเสริม เช่น คนใช้ เจ้านาย แม่นํ้า ของ หวาน เครื่องเรือน ที่นอน ลูกคิด ทําบุญ วิ่งเร็ว ใจแคบ ขี้คุย หัวหมอ คําประสมที่มีความหมายเป็นสํานวน เช่น ๑) ไก่อ่อน ผู้มีประสบการณ์น้อยยังไม่รู้ทันเล่ห์เหลี่ยมของคน. ๒) หมอเทวดา หมอที่รักษาโรคให้หายได้เร็ว หรือรักษาคนเจ็บหนัก ให้หายได้ราวกับเทวดา ) ื ้ ้ ี่ ิ ไ ้ ่ ี ื ้ ั ป๓) มือกาว ผู้ร้ายทีหยิบของได้อย่างแนบเนียน หรือผู้รักษาประตู ที่สามารถรับลูกฟุตบอลไม่ให้เข้าประตูได้ ๔) ตีนแมว ผู้ร้ายย่องเบาได้ราวกับแมว ๕) เขี้ยวกระแต ไม้ดอกที่เป็นพันธุ์ไม้เลื้อย ดอกสีขาว คล้ายเขี้ยว ของกระแต ๔. คําสมาส เกิดจากการนําคําบาลีสันสกฤตมา ประกอบกันเป็นคําใหม่ มี ๒ ประเภท คือ ่ ่คําสมาสที่ไม่มีการสนธิ และคําสมาสที่มีสนธิ มีข้อสังเกต ดังนี้
  • 47. 02/02/55 20 คําสมาสที่ไม่มีสนธิ ๑. ส่วนใหญ่ความหมายอยู่ที่คําหลัง แปลจากหลังมา หน้า เช่น ราชโอรส ๒. อ่านออกเสียงระหว่างคําตามรูปสระท้ายที่ปรากฏ หรือหากไม่ปรากฏรูปสระให้อ่านออกเสียงอะ เช่น วุฒิสภา ธนบัตร สุนทรียภาพ คําสมาสที่มีสนธิ ๑) เกิดการกลมกลืนเสียงระหว่างคํา โดยมีข้อสังเกต ดังนี้ อะ อะ สระสนธิ ๑. สระหน้าเป็นอะ,อา ......อะ ......อา อะ...... อา….. = อา เช่น ราชาธิราช จุฬาลงกรณ์ .....อะ อะ,อา มีตัวสะกด สระอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ ลบสระหน้า คงสระหลัง.....อา สระอน ๆ ทไมใช สระอะ,อา คงสระหลง เช่น นิละ+อุบล = นิโลบล ๒. สระหน้าเป็น อิ,อี .....อิ .....อี อิ...... อี….. = อิ , อี เช่น ไพรี + อินทร์ = ไพรินทร์ .....อิ .....อี สระอื่น ๆ ที่ไม่ใช่ = เปลี่ยนอิ,อี เป็น ยะ แล้ว สระอิ ,อี สนธิตามข้อ ๑. เช่น สามัคคี + อาจารย์ = สามัคคยะ + อาจารย์ = สามัคคยาจารย์
  • 48. 02/02/55 21 ๓. สระหน้าเป็น อุ ,อู .....อุ อ อุ...... อ = อุ , อ.....อู อู….. ุ , ู เช่น ครุ + อุปกรณ์ = ครุปกรณ์ สระอื่น ๆ ที่ ไม่ใช่สระอุ ,อู .....อุ .....อู = เปลี่ยนอุ , อู เป็น วะ แล้ว สนธิตาม ข้อ ๑. เช่น มธุ + อาหาร = มธวะ + อาหาร เป็น มัธวาหาร พยัญชนะสนธิ ๑. อัสฺ + พยัญชนะใด ๆ เปลี่ยน อัสฺ เป็น โอ เช่น มนัส + ภาพ = มโนภาพ อิสฺ อุสฺ พยัญชนะใด ๆ เปลี่ยน สฺ เป็น ร เช่น นิสฺ + ภัย = นิรภัย ทุสฺ + ชน = ทุรชน เป็น ทรชน นิคหิตสนธิ ๑. อํ +  พยัญชนะวรรคใด = เปลี่ยน อํ เป็น พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรค เช่น อหํ + การ = อหังการ สยํ + ภู =  สยมภู สยุมภู สยัมภู ๒. อํ + เศษวรรค = เปลี่ยน อํ เป็น ง เช่น สํ + สาร = สังสาร สํ + เวช = สังเวช
  • 49. 02/02/55 22 ๓. อํ + สระ = เปลี่ยน อํ เป็น มะ แล้วสนธิตามข้อ ๑. เช่น สํ + อิทธิ = สมะ + อิทธิ เป็น สมิทธิ ศุภํ + อัศดุ = ศุภมะ + อัสดุ เป็น ศุภมัสดุ ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง คํา ๑.. ข้อความต่อไปนี้มีคําสันธานและคําบุพบทกี่คํา (นับคําซํ้า) นํ้าเป็นองค์ประกอบสําคัญต่อร่างกายของมนุษย์ และทําให้เรา สามารถดําเนิน ชีวิตอยู่ได้ ถ้าร่างกายขาดนํ้าเราจะไม่สามารถ ี ไ ้ดํารงชีวิตอยู่ได้เลย ๑. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๑ คํา ๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา ๓. สันธาน ๑ คํา บุพบท ๒ คํา ๔. สันธาน ๑ คํา บุพบท ๑ คํา ๒๙. ตอบ ข้อ ๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา นํ้าเป็นองค์ประกอบสําคัญต่อร่างกายของมนุษย์ และ ทําให้เราสามารถดําเนิน ชีวิตอยู่ได้ ถ้าร่างกายขาดนํ้า เราจะไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่ได้เลย ๒. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง ๑. คุณปู่เหลาไม้เรียวไว้หลายกิ่ง หลานๆ จึงไม่กล้าซนมาก ๒ ในสนามเด็กเล่นที่โรงเรียนเรามีไม้ลื่นให้เด็กๆ เล่นหลายชด๒. ในสนามเดกเลนทโรงเรยนเรามไมลนใหเดกๆ เลนหลายชุด ๓. วันจันทร์ให้นักเรียนนําไม้อัดมาคนละแผ่น ครูจะสอนฉลุไม้ ๔. พี่ชายเดินนับไม้หมอนรถไฟได้หลายท่อนแล้ว ๓๐. ตอบ ข้อ ๑ คุณปู่เหลาไม้เรียวไว้หลายกิ่ง หลาน ๆ จึงไม่กล้าซนมาก ไม้เรียว ลักษณนามเป็น อัน ๓. ข้อความต่อไปนี้มีคํานามและคํากริยาหลักอย่างละกี่คํา (ไม่นับคําซํ้า) กิจกรรมนั้นเป็นของดี แต่สถาบันอุดมศึกษาไม่ได้ตั้งขึ้นสําหรับรับ นักศึกษาเพื่อทํากิจกรรม กิจกรรมมีไว้ให้นักศึกษาใช้เวลาว่างทํา ประโยชน์และเปลี่ยนบรรยากาศ ๑. นาม ๗ คํา กริยา ๘ คํา ๒. นาม ๖ คํา กริยา ๘ คํา ๓. นาม ๗ คํา กริยา ๗ คํา ๔. นาม ๖ คํา กริยา ๖ คํา
  • 50. 02/02/55 23 ตอบ ข้อ ๓ นาม ๗ คํา กริยา ๘ คํา กิจกรรมนั้นเป็นของดี แต่สถาบันอุดมศึกษาไม่ได้ตั้งขึ้นสําหรับรับนักศึกษาเพื่อ ทํากิจกรรม กิจกรรมมีไว้ให้นักศึกษาใช้เวลาว่างทําประโยชน์และเปลี่ยน บรรยากาศ คํานาม ๗ คํา กิจกรรม , ของดี ,สถาบันอุดมศึกษา , นักศึกษา , เวลา ประโยชน์ , บรรยากาศ คํากริยา ๗ คํา เป็น, ตั้งขึ้น ,ทํา, มี , ใช้,ทํา , เปลี่ยน ๔. คําซํ้าในข้อใดต้องใช้เป็นคําซํ้าเสมอ ๑. คนงานใหม่ขยันเป็นพัก ๆ เอาแน่ไม่ได้ ๒. นักเรียนอนุบาลหกล้มหัวเข่าแตกเลือดไหลซิบ ๆ ๓. งานนี้ถึงจะได้เงินเดือนน้อย ก็ทําไปพลาง ๆ ก่อนแล้วกัน ๔. ถ้าเราวางแผนให้ดีตั้งแต่แรก ๆ โครงการนี้ก็คงสําเร็จไปแล้ว เฉลย ๑ ๕. ข้อใดเป็นคําซ้อนทุกคํา ๑. ซํ้าซ้อน ซ่อนรูป ซักฟอก ๒. ถ่องแท้ ถี่ถ้วน ถากถาง ๓. บีบคั้น เบียดเบียน เบาความ ๔. แปรผัน เป่าหู โปรยปราย ๖. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดมีคําประสมทั้ง ๒ ส่วน ๑) บริเวณสวนกว้างขวาง / ๒) มีสนามที่ได้รับการดูแลจากเทศบาล เมือง / ๓) มีประติมากรรมเป็นรูปเทพธิดาแสนงาม / ๔) มุมหนึ่ง มีนาฬิกาแดดคอยบอกเวลา ่๑. ส่วนที่ ๑ และ ๔ ๒. ส่วนที่ ๒ และ ๓ ๓. ส่วนที่ ๑ และ ๓ ๔. ส่วนที่ ๒ และ ๔ ๗. ข้อใดมีคําประสมทุกคํา ๑. คําขาด คําคม คําราม ๒. เดินแต้ม เดินรถ เดินสะพัด ๓. นํ้าป่า นํ้าไหล นํ้ามือ ๔. ติดลม ติดใจ ติดขัด
  • 51. 02/02/55 24 ๘. ข้อใดไม่มีคําสมาส ๑. วิสุทธโยธามาตย์เจ้า กรมขวา ๒. หนึ่งชื่อราชโยธา เทพซ้าย๒. หนงชอราชโยธา เทพซาย ๓. ตําแหน่งศักย์ยศถา เสถียรที่ ๔. คุมพยุหยาตราย้าย ย่างเข้าตามสถาน ๙.ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสร้างคําต่างกับข้ออื่น ๑.ขับคเชนทร์สาวก้าว ส่ายเสื้องเทาทาง ๒ สถานที่พทธบาทสร้าง สืบไว้แสวงบญ๒.สถานทพุทธบาทสราง สบไวแสวงบุญ ๓.สุธารสรับพระเต้า เครื่องต้นไปตาม ๔.โดยเสด็จดําเนินแคล้ว คลาดคล้อยบทจร ๑๐. คําภาษาอังกฤษในข้อใดใช้คําไทยแทนไม่ได้ ๑. จินดาทําข้อสอบหลายวิชาจนรู้สึกเบลอร์ไปหมด ๒. จิตราเป็นดีไซเนอร์ประจําห้องเสื้อที่มีชื่อเสียง ๓. จินตนาไปหาหมอเพื่อใช้แสงเลเซอร์รักษาผิวหน้า ๔. จิตรลดาเป็นวิสัญญีแพทย์ระดับอินเตอร์ของโรงพยาบาลนี้ ๑๑. ข้อใดเป็นคําศัพท์บัญญัติจากคําภาษาอังกฤษ ทุกคํา ๑.จุลทรรศน์ จุลินทรีย์ จุลกฐิน ๒ สังคม สังเคราะห์สังคม สังเคราะห์ สังโยค๒.สงคม สงเคราะหสงคม สงเคราะห สงโยค ๓.สมมาตร สมมุติฐาน สมเพช ๔.วิกฤตการณ์ วิจัย วิสัยทัศน์ ๑๒. ข้อใดไม่มีคํายืมภาษาบาลีสันสกฤต ก.วันจะจรจากน้องสิบสองคํ่า ข.พอจวนยํ่ารุ่งเร่งออกจากท่า ค รําลึกถึงดวงจันทร์ครรไลลาค.ราลกถงดวงจนทรครรไลลา ง.พี่ตั้งตาแลแลตามแพราย ๑.ข้อ ก และ ข ๒.ข้อ ก และ ค ๓.ข้อ ข และ ง ๔.ข้อ ค และ ง ๑๓. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง ๑. เขาสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของหน่วยงานได้ครบ ทุกข้อ ๒. นักวิชาการเสนอข้อคิดเห็นไว้ในบทสรุปของรายงานุ หลายประการ ๓. รัฐบาลมีปัญหาเร่งด่วนที่ต้องรีบแก้ไขหลายเรื่อง ๔. คณะกรรมการกําลังพิจารณาคําขวัญที่ส่งเข้า ประกวด ๕๐ บาท
  • 52. 02/02/55 25 ๑๔. ข้อความต่อไปนี้มีบุพบทและสันธานกี่คํา คนไทยสมัยโลกาภิวัตน์ได้เปรียบคนไทยรุ่นก่อนในด้าน ที่มีความรู้กว้าขวางเพราะสามารถแสวงหาความรู้ได้ จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งหนังสือ วิทยุ โทรทัศน์ และ คอมพิวเตอร์ ๑. บุพบท ๑ คํา สันธาน ๓ คํา ๒. บุพบท ๒ คํา สันธาน ๓ คํา ๓. บุพบท ๑ คํา สันธาน ๔ คํา ๔. บุพบท ๒ คํา สันธาน ๔ คํา ๑๕. ข้อความต่อไปนี้มีคํานามและคํากริยาหลักอย่างละกี่คํา (ไม่นับคําซํ้า) การกู้ยืมจะมีประโยชน์ต่อเมื่อเงินที่กู้มานั้นใช้อย่างมี คณภาพและสร้างรายได้เพื่อเพิ่มต้นทนของเงินจํานวนนั้นคุณภาพและสรางรายไดเพอเพมตนทุนของเงนจานวนนน ๑. นาม ๔ คํา กริยา ๓ คํา ๒. นาม ๕ คํา กริยา ๔ คํา ๓. นาม ๖ คํา กริยา ๕ คํา ๔. นาม ๗ คํา กริยา ๖ คํา ๑๖. คําทุกคําในข้อใดใช้ได้ทั้งความหมายตามตัวและ ความหมายเชิงอุปมา ๑.ปีนเกลียว ปิดฉาก ถูกขาู ๒.ปิดตา เฝ้ าไข้ เปลี่ยนมือ ๓.วางใจ เป่าปี่ แก้เคล็ด ๔.ปั่นหัว กินตะเกียบ ลงคอ ๑๗.ข้อใดใช้คําถูกต้อง ๑. เธอได้รับคําชมว่าทํางานเก่งมากจนใคร ๆ ยกมือให้ ๒. การแสดงดนตรีกว่าจะยกเลิกก็เกือบสองทุ่มุ ๓. ผู้มีรายได้ตํ่า ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียภาษีเงินได้ ๔. ผู้ต้องขังที่มีความประพฤติดีจะได้รับการยกโทษลง ครึ่งหนึ่ง ๑๘. ข้อใดใช้คําฟุ่มเฟือย ๑. ทหารในขบวนสวนสนามเดินอกผายไหล่ผึ่ง ๒. คุณยายขอให้ฉันกับญาติที่บุกรุกที่ดินเลิกแล้วต่อกันุ ญ ุ ุ ๓. ฉันต้องทนฟังเขาชี้แจงเหตุผลแม้จะไม่มีส่วนได้ส่วนเสีย ๔. พ่อแม่ชื่นชมปีติยินดีที่ลูกสาวสําเร็จการศึกษาระดับ ปริญญาเอก ๑๙.ข้อใดใช้ภาษากํากวม ๑.เด็กข้างบ้านวิ่งชนฉันหกล้มปากแตก ๒.คนขับรถถกสั่งพักงานฐานละเลยหน้าที่๒.คนขบรถถูกสงพกงานฐานละเลยหนาท ๓.ก๋วยเตี๋ยวปลาแบบโบราณในซอยนี้มีหลายร้าน ๔.พวงมาลัยแบบนี้แม่ค้าขายฉันพวงละ ๑๐ บาท
  • 53. 02/02/55 26 ๒๐. ข้อใดใช้คําถูกต้องตามความหมาย ๑. ปีนี้อากาศร้อนเหลือเกิน วันไหนไม่ได้เปิดแอร์ก็ร้อนตัว มาก ๆ เลย ๒. วัยรุ่นข้างบ้านเปิดเพลงเสียงดังใคร ๆ ได้ฟังก็ร้อนหูไป หมด ๓. เขาเพิ่งเรียนจบจากมหาวิทยาลัยจึงร้อนวิชาอยากพูด อยากแสดงให้คนรู้ ๔. บ้านสวยหลังนั้นปิดเงียบเพราะเจ้าของร้อนเงินหนีไป ต่างประเทศแล้ว ๒๑. คําซํ้าในข้อใดไม่มีความหมายเป็นพหูพจน์ ๑. น้อง ๆ ของเขารักใคร่กันดี ๒ เขาป่วยต้องนอนพักเป็นเดือน ๆ๒. เขาปวยตองนอนพกเปนเดอน ๆ ๓. ตอนเด็ก ๆ ฉันเคยไปอยู่ต่างจังหวัด ๔. สาว ๆ สมัยนี้รูปร่างอ้อนแอ้นกันทั้งนั้น ๒๒. ข้อความต่อไปนี้มีคําซ้อนกี่คํา ข้าวเป็นธัญญาหารที่มีประโยชน์อยู่ทุกอณูของเมล็ดข้าว เนื้อข้าว รําข้าวและจมูกข้าว เราจึงควรกินข้าวให้ครบทุกส่วน ของเมล็ด เพื่อชีวิตที่แข็งแรงสดใสห่างไกลจากโรคร้ายต่าง ๆ และมีสุขภาพดีอายุยืนยาว ๑. ๓ คํา ๒. ๔ คํา ๓. ๕ คํา ๔. ๖ คํา ๒๓. ข้อใดไม่ปรากฏในคําประพันธ์ต่อไปนี้ ใครจักผูกโลกแม้ รัดรึง เหล็กเท่าลําตาลตรึง ไป่หมั้น มนตร์ยาผูกนานหึง หายเสื่อม ้ผูกเพื่อไมตรีนั้น แน่นเท้าวันตาย ๑. คําซํ้า ๒. คําซ้อน ๓. คําโทโทษ ๔. คําตายแทนคําเอก ๒๔. ข้อใดมีคําสมาสที่มีการสนธิ ๑. ธาตุเจดีย์ ธัญพืช ธรรมจารี ๒. รัตนชาติ ราชสาส์น รมณียสถาน ๓. ภูมิลักษณ์ ภูษามาลา ภิญโญภาพ ๔. พรรณนาโวหาร พยุหเสนา พรหมาสตร์ ๒๕. ข้อใดไม่มีคํายืมจากภาษาต่างประเทศ ๑. ฝรั่งเป็นต้นตํารับอาหารกินเร็ว ยืนกินเดินกินก็ได้ ๒. เมื่อเรารับมาก็ต้องกินตามอย่างเขาและรู้สึกว่าง่ายดี ๓. เราไม่ได้กินเพื่อประหยัดเวลาเอาไว้ทําการงานอย่างอื่น ๔. เป็นการกินเล่น ๆ กันในหมู่คนวัยที่ยังทํามาหากินไม่ได้ มากกว่า
  • 54. 02/02/55 27 ๒๖. ข้อใดไม่มีคําที่มาจากภาษาบาลีหรือภาษา สันสกฤต ๑. เราต้องใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องู ๒. อย่าเลี้ยงลูกให้เป็นเทวดา ๓. ชื่อของเขาอยู่ในทําเนียบรุ่น ๔. ภรรยาของเขาทํางานอยู่ที่นี่ ๒๗. ข้อความต่อไปนี้ส่วนใดไม่มีคําที่มาจากภาษาอังกฤษ ๑) เรตติ้งของรายการโทรทัศน์สัมพันธ์กับเวลาในการ ออกอากาศ / ๒) รายการที่ออกอากาศในช่วงไพรม์ไทม์ หรือ ช่วงเวลาที่มีผู้ชมโทรทัศน์มาก / ๓) จะมีโอกาสได้รับความนิยม ่ ี่ ใ ่ ี่ ้มากกว่ารายการทีออกอากาศในช่วงเวลาทีคนชมรายการน้อย / ๔) ช่วงเวลาที่มีผู้ชมทีวีมากก็คือช่วงหัวคํ่า โดยเฉพาะอย่างยิ่ง หลังรายการข่าว / ๑. ส่วนที่ ๑ ๒. ส่วนที่ ๒ ๓. ส่วนที่ ๓ ๔. ส่วนที่ ๔ ๒๘. คําภาษาอังกฤษในข้อใดไม่มีคําภาษาไทยใช้แทน ๑. ห้างสรรพสินค้าส่งแค็ตตาล็อกเครื่องใช้ไฟฟ้ าที่กําลังลด ราคามาให้ดูที่บ้าน ๒. อยากโทรศัพท์บอกเพื่อนว่าอาจารย์ต้องการพบ แต่ผมไม่ ีโฟ ์มีโฟนการ์ด ๓. ไดรไอซ์มีประโยชน์มาก ช่วยทําให้อาหารแช่แข็งไม่ ละลายง่าย ๔. ตึกใหญ่หลังนั้นมีคนมาเช่าทําออฟฟิศกันมากมาย คุณ สนใจไหม ๒๙. ข้อใดใช้คําลักษณนามไม่ถูกต้อง ๑. น้องสาวฉันเป็นผู้หญิงสวย ที่บ้านจึงมีกระจกเงาหลายบาน ไว้ให้ส่อง ๒. เขาเป็นคนความจําดี อาขยานกี่บท ๆ ก็สามารถท่องจําได้ ใ ไ ่หมดในเวลาไม่นาน ๓. คุณไปเที่ยวงานแสดงสินค้าเห็นไม้เท้าสวย ๆ ช่วยซื้ออันใหม่ มาฝากคุณปู่ด้วย ๔. มหาวิทยาลัยจะจัดประกวดคําขวัญเนื่องในวันสถาปนา ใคร จะส่งกี่ชิ้นก็ได้ ๓๐. ข้อความต่อไปนี้มีคําสันธานและคําบุพบทกี่คํา ทุกวันนี้โลกแคบลงจนสื่อสารกันได้ทันใจและเรา ก้าวทันโลกได้ตามวิถีโลกาภิวัตน์ วิทยาการต่าง ๆ น่าจะสัมพันธ์กันได้มากขึ้น โลกของนักวิชาการมิใช่มี ี ี ั ั ี ั ั้เพียงซีกตะวันออกกับซีกตะวันตกเท่านัน ๑. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๓ คํา ๒. สันธาน ๒ คํา บุพบท ๒ คํา ๓. สันธาน ๓ คํา บุพบท ๓ คํา ๔. สันธาน ๓ คํา บุพบท ๒ คํา
  • 55. 02/02/55 28 พยางค์ พยางค์เปิด (แม่ ก กา) คือ พยางค์ที่ไม่มีเสียง พยัญชนะท้าย เช่น มา ดี ่พยางค์ปิด คือ พยางค์ทีมีเสียงพยัญชนะท้าย หรือพยัญชนะสะกด เช่น นก กบ โรงเรียน เรา ทํา ใจ พยางค์ที่มีความหมายเรียกว่า คํา คําหนึ่งอาจมีได้ หลายพยางค์ วลี กลุ่มคํา เป็นส่วนประกอบของประโยคส่วนใดส่วน หนึ่ง เมื่อประกอบเข้าเป็นประโยคแล้ว ย่อม ทําหน้าที่ใดหน้าที่หนึ่ง เช่น ความสามัคคี ของคนไทย ส่วนประกอบของประโยค แบ่งออกเป็น ๖ ส่วน ดังนี้ ประธาน ขยาย ประธาน กริยา กรรม ขยายกรรม ขยายกริยา นักเรียน ในห้อง ประชุม มี หน้าตา สวยหล่อ มากมาย เด็ก ๆ ที่ตั้งใจเรียน สอบติด คณะ ที่เลือกไว้ กันทุกคน ชนิดของประโยค (แบ่งเป็น ๓ ชนิด ตามโครงสร้าง) ๑. ประโยคความเดียว คือ ประโยคที่มีคํากริยาสําคัญเพียงคํา เดียว และไม่มีคําเชื่อมประโยค เช่น การละเล่นพื้นบ้านของไทยเป็นเอกลักษณ์โดดเด่นอย่างหนึ่ง ของวัฒนธรรมไทย ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติหลากหลายประเภท การฟื้นฟูประเทศไทยทําได้ด้วยความร่วมมือร่วมใจของคนไทย ทุกคน ป โ ั ป โ ่ ๒. ประโยคความซ้อน ประโยคหลัก ประโยคย่อย คําเชื่อม ผู้ที่ ซึ่ง อัน ว่า สายชลเป็นพระเอกที่หน้าตาดีที่สุด นางฟ้ าเชื่อว่าสักวันสายชลจะเข้าใจนางฟาเชอวาสกวนสายชลจะเขาใจ การดูละครมากเกินไปเป็นภัยซึ่ง อันตรายแก่การอ่านหนังสือ
  • 56. 02/02/55 29 http://www.glitter.kapook.com ๓. ประโยคความรวม คือ ประโยคที่มีประธานหรือกริยาสําคัญ ตั้งแต่ ๒ ตัวขึ้นไป มี ๒ ลักษณะดังนี้ตงแต ๒ ตวขนไป ม ๒ ลกษณะดงน ๓.๑ สัมพันธ์กันในเชิงคล้อยตาม ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความคล้อย‐ตามกัน คําเชื่อมที่ใช้ เช่น และ ทั้ง… และ ตลอดทั้ง ดัง ั ่ตวอย่าง ฉันรักน้องและรักเพื่อน ๆ ทุกคน ทั้งเราและเพื่อน ๆ ไปปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ ๓.๒ สัมพันธ์กันในเชิงขัดแย้ง ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความขัดแย้งกัน คําเชื่อมที่ใช้ เช่น แต่ แต่ว่า ส่วน ทว่า ดังตัวอย่าง ดอกรักบานในใจใครทั้งโลกแต่ดอกโศกบานในดอกรกบานในใจใครทงโลกแตดอกโศกบานใน หัวใจฉัน ฉันตั้งใจทํางานอย่างเต็มที่ทว่าสิ่งต่าง ๆ ก็ไม่ เป็นไปอย่างที่คิด ๓.๓ สัมพันธ์กันในเชิงต่างเป็นตัวเลือก ประโยคที่นํามารวมกันต่างมีเนื้อความเป็นตัวให้เลือก คําเชื่อมที่ใช้ เช่น หรือ มิฉะนั้น ไม่เช่นนั้น หรือไม่ ก็ หาไม่ ดังตัวอย่างก หาไม ดงตวอยาง ฉันต้องไปทํางานไม่เช่นนั้นก็จะไม่มีรายได้ เธอต้องรอให้ฝนหยุดเสียก่อนหรือไม่ก็ต้องยอม เปียกฝน ๓.๔ สัมพันธ์กันในเชิงเป็นเหตุผล ประโยคที่นํามารวมกันมีเนื้อความเป็นเหตุเป็นผล กัน เช่น เพราะ เพราะว่า เพื่อ เพื่อที่ ดังนั้น ฉะนั้น ฯลฯฉะนน ฯลฯ เพราะอากาศร้อนฉันจึงไม่ออกไปนอกบ้าน เขาไม่สบายดังนั้นจึงต้องหยุดเรียนไประยะหนึ่ง
  • 57. 02/02/55 30 เป็นประโยคความรวม เกิด ป โจาก ประโยค ความจําสั้น สันหลังยาว http://www.glitter.kapook.com หน้าที่ของประโยคตามเจตนาของผู้ส่งสาร ๑.  แจ้งให้ทราบ เป็นประโยคที่บอกเล่าเรื่องราวที่ผู้ส่งสารต้องการแจ้งให้ผู้รับสาร ได้ทราบ ถ้าต้องการแจ้งให้ทราบในเชิง ปฎิเสธ ก็จะปรากฏคําไดทราบ ถาตองการแจงใหทราบในเชง ปฎเสธ กจะปรากฏคา ปฏิเสธ เช่น มิไม่ หามิได้ อยู่ด้วย พวกเราจะสอบติดกัน ทุกคน ทุกคนที่นี่ไม่ใช่คน ขี้เกียจ (นะจ๊ะ) ๒. ถามให้ตอบ เป็นประโยคที่ผู้ส่งสารใช้ถามเรื่องราวต่าง ๆ จากผู้รับ สาร มีคําแสดงการถาม เช่น ใคร อะไร ที่ไหน เมื่อใด อย่างไร ทําไม อยู่ในประโยค ถ้าเป็น คําถามเชิงปฏิเสธ ก็จะมีคําปฏิเสธอยู่ด้วย เจตนาคือ ?? http://www.glitter.kapook.com
  • 58. 02/02/55 31 ๓. บอกให้ทํา เป็นประโยคที่ผู้ส่งสารใช้ สั่ง อ้อนวอน ขอร้อง หรือ เชิญชวน อาจจะละประธานไว้ในฐานที่เข้าใจ •กรุณาบริจาคสิ่งของเพื่อผู้ด้อยโอกาส •แม่ครับขอค่าขนมหน่อยครับ ชนิดของประโยคตามการเน้นความสําคัญ ๑. ประโยคประธาน หมายถึงประโยคที่นําประธาน มาวางไว้ต้นประโยค ประโยคภาษาไทยส่วนใหญ่ญ เป็นประโยคประธาน • นักเรียนมุ่งมั่นจะทําข้อสอบให้ได้คะแนนดี • เราต้องคิดถึงสํานวนไทย “เอาใจเขามาใส่ใจเรา” บ้าง ๒. ประโยคกริยา หมายถึงประโยคที่นํากริยามาไว้หน้าประโยค – เก่งมากลูกศิษย์คนนี้ – ซนจริง ๆ ลูกแม่ – มีเรื่องร้ายแรงในวันนี้ ๓.ประโยคกรรม หมายถึงประโยคที่นํากรรมมา ไว้หน้าประโยค • ผู้ร้ายถูกตํารวจจับได้เมื่อวานนี้ • เขาโดนอันธพาลทําร้ายจนบาดเจ็บสาหัสเขาโดนอนธพาลทารายจนบาดเจบสาหส • ทักษะการใช้ภาษานั้นนักเรียนได้รับมาจากการสอนภาษา แบบบูรณาการ • โทรศัพท์มือถือนี่ลูกชายคนโปรดของคุณทําหายเป็นเครื่อง ที่สามแล้ว ตัวอย่างข้อสอบเรื่อง ประโยค ๖. ข้อใดไม่เป็นประโยค ๑. นมแม่ช่วยเพิ่มภูมิต้านทานให้แก่ลูก ๒. การดื่มนมแม่ช่วยลดการติดเชื้อไวรัสในวัยทารก ๓ ปัจจบันมีการโฆษณาให้แม่ดื่มนมวัวมาก ๆ โดยสื่อว่า๓. ปจจุบนมการโฆษณาใหแมดมนมววมาก ๆ โดยสอวา ลูกในท้องจะแข็งแรง ๔. แม้จะมีการรณรงค์ให้มีการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ซึ่งเป็นนม ที่ดีที่สุดสําหรับทารก