SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

             ตัวอย่าง จงหาค่า m ในสัดส่วน m  4  21
                                                   10       15
             วิธทา จากสัดส่วน จะได้ผลคูณไขว้เท่ากัน
                ี
                   เนื่องจาก 15(m  4)  21  10
                                              21  10
                       จะได้          m4 
                                                 15
                                      m  4  14
                                          m  10
                          ดังนั้น ค่าของ m เป็น 10
                          home     back     next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                    โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

                             แบบฝึกหัดที่ 13
           จงหาค่าตัวแปรในสัดส่วนต่อไปนี้
          1) x  2  3                 2) 2  x  4
               10     5                        3        12

          3)     6     21                 4) 2  3
                    
               y - 2 35                        11     z-4




                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


                   การเขียนสัดส่วนเพือแก้โจทย์ปญหา
                                     ่         ั
           การเขียนสัดส่วนเป็นขั้นตอนหนึ่งของการแก้โจทย์
  ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนมีวิธีการเขียนดังนี้
  1. กาหนดตัวแปร a ( หรือ a , b , c , … , x , y , z)
  เป็นจานวนที่โจทย์ต้องการหา
  2. เขียนสัดส่วนแสดงอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากัน โดยมีสิ่งที่
  โจทย์ต้องการหา และ สิ่งที่โจทย์กาหนด ซึ่งเป็นประเภทเดียวกัน
  ให้อยู่ในลาดับเดียวกัน
                          home     back    next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



         ตัวอย่าง
                             ปริมาณกาแฟสด
                      3                               x
                      5                               8
                                   ปริมาณน้า


                          home       back      next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                        โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


   ตัวอย่าง ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียน
   สิเกาประชาผดุงวิทย์ปรากฏว่า อัตราส่วนของคะแนนสอบ
   ของด.ญ.พัชนีต่อ คะแนนสอบ ด.ช.ศิขรินเป็น 5 : 3
   ถ้าด.ญ.พัชนีสอบได้ 80 คะแนน การเขียนสัดส่วนแทนโจทย์
   ที่กาหนดให้ เมื่อกาหนด a คือ คะแนนสอบด.ช.ศิขริน
   แบบที่ 1         คะแนนสอบพัชนี       5 80
                                      
                    คะแนนสอบศิขริน      3 a

                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



             แบบที่ 2            คะแนนสอบพัชนี    80 5
                                                   
                                 คะแนนสอบศิขริน    a 3
             แบบที่ 3            คะแนนสอบศิขริน
                                                
                                                   a 3
                                                    
                                 คะแนนสอบพัชนี    80 5
             แบบที่ 4            คะแนนสอบศิขริน 3 a
                                                 
                                 คะแนนสอบพัชนี    5 80


                          home      back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                    โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


    ตัวอย่าง เสื้อ 5 ตัว ราคา 750 บาท ถ้ามีเงิน 1,200 บาท
    จะซื้อเสื้อได้กี่ตัว ให้นักเรียนเขียนสัดส่วนแทนโจทย์ที่กาหนดให้
    เมื่อ m แทนจานวนเสื้อที่ซื้อด้วยเงิน 1,200 บาท
    แบบที่ 1             จานวนเสื้อเป็นตัว         5       m
                                                     
                          ราคาเป็นบาท            750 1,200
    แบบที่ 2             จานวนเสื้อเป็นตัว  m  5
                          ราคาเป็นบาท            1,200 750

                          home     back    next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



       แบบที่ 3            ราคาเป็นบาท        750 1,200
                                                  
                          จานวนเสื้อเป็นตัว     5     m
       แบบที่ 4            ราคาเป็นบาท
                                            
                                              1,200 750
                                                    
                          จานวนเสื้อเป็นตัว      m     5




                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

                                 แบบฝึกหัดที่ 14
   ให้เขียนสัดส่วนจากโจทย์ปญหาต่อไปนี้
                            ั
  1) อัตราส่วนของจานวนเงินของพี่ ต่อ น้องเป็น 6 : 5
  ถ้าน้องมีเงิน 1,200 บาท พี่มีเงินเท่าไร
  2) พี่ซื้อไอศกรีมให้น้อง 5 แท่ง ราคา 30 บาท ถ้าพี่ซื้อ
  ไอศกรีมมา 210 บาท จะได้ไอศกรีมกี่แท่ง
  3) อัตราส่วนผู้ที่ได้ทางาน ต่อ จานวนผู้สมัครงานเป็น 2 : 7
  ถ้ามีผู้ได้ทางาน 260 คน จงหาจานวนผู้ที่มาสมัครงาน
                          home      back    next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                     โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



                          การแก้โจทย์ปญหาสัดส่วน
                                        ั
               การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน มีวิธีการดังนี้
   1. สมมติตัวแปรแทนจานวนที่โจทย์ต้องการ
   2. เขียนสัดส่วนแสดงอัตราส่วนที่เท่ากันจากโจทย์ โดยลาดับ
   สิ่งที่เปรียบเทียบกันในแต่ละอัตราส่วนที่อยู่ในลาดับเดียวกัน
   3. หาค่าตัวแปร โดยใช้หลักการคูณ หลักการหาร หรือ การคูณไขว้


                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


 ตัวอย่าง อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชายต่อจานวนนักเรียนหญิง
 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งเป็น 7: 9 ถ้าโรงเรียนมีนักเรียนชาย
 210 คน จงหาจานวนนักเรียนหญิง
 สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชายต่อจานวน
     ่
 นักเรียนหญิงเป็น 7 : 9 และโรงเรียนมีนักเรียนชาย 210 คน
 สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ จานวนนักเรียนหญิง
   ่          ้
 กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร x
                   ้
 เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนจานวนนักเรียนหญิงต่อจานวนนักเรียนชาย)
                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


                        x     9
                           
                       210 7
                              9  210
                          x
                                 7
                          x  270
                 ดังนั้น จานวนนักเรียนหญิง เป็น 270 คน



                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


   ตัวอย่าง ในการแข่งขันวอลเล่ย์บอลของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มี
   อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะต่อ จานวนครั้งที่แพ้ เป็น 3 : 5
   ถ้าทีมวอลเล่ย์บอลนี้เข้าแข่งขันชนะ 15 ครั้ง โดยไม่มีการเสมอ
   จงหาว่าทีมวอลเล่ย์บอลเข้าแข่งขันทั้งหมดกี่ครั้ง
   สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะต่อ จานวนครั้งที่แพ้
     ่
   เป็น 3 : 5 และ จานวนครั้งที่ชนะ 15 ครั้ง
   สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ จานวนครั้งที่ทีมวอลเล่ย์บอล
       ่        ้
   เข้าแข่งขันทั้งหมด
                          home     back    next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



  แนวคิด อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะ ต่อ จานวนครั้งที่แพ้ เป็น
  3 : 5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะ ต่อ จานวนครั้งที่
  เข้าแข่งขันทั้งหมดเป็น 3 : 8 ทีมวอลเลย์บอลนี้แข่งขันชนะ 15 ครั้ง
  กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร x
                     ้
  เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนของจานวนครั้งที่แข่งต่อจานวนครั้งที่ชนะ)
                                  x 8
                                   
                                 15 3
                          home     back     next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                    โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง



                              8  15
                           x
                                3
                           x  40
      ดังนั้น จานวนครั้งที่ทีมวอลเลย์บอลเข้าแข่งขัน เป็น 40 ครั้ง




                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


  ตัวอย่าง แบ่งลวด เป็น 2 ส่วน โดยใช้อัตราส่วน 2 : 5
  ถ้าลวดเส้นสั้นยาว 6 เซนติเมตร แล้วลวดทั้งสองเส้นยาวเท่าไร
  สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนลวดเส้นสั้นต่อลวดเส้นยาว เป็น 2 : 5
    ่
  และ ลวดเส้นสั้นยาว 6 เซนติเมตร
  สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ ความยาวของลวดทั้งสองเส้น
      ่        ้
  แนวคิด อัตราส่วนลวดเส้นสันต่อลวดเส้นยาว เป็น 2 : 5
                             ้
  อัตราส่วนความยาวลวดทั้งสองเส้น ต่อ ความยาวลวดเส้นสั้น
  เป็น 7 : 2
                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง


 กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร m
                   ้
 เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนความยาวลวดทั้งสองเส้นต่อความยาวลวดเส้นสั้น)
                           m 7
                             
                           6 2
                              76
                           m      21
                               2
                  ดังนั้น ความยาวลวดทั้งสองเส้น เป็น 21 เซนติเมตร

                          home     back     next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                    โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง

                             แบบฝึกหัดที่ 15
  ให้หาคาตอบจากโจทย์ปญหาต่อไปนี้
                         ั
 1) รถยนต์ 8 คัน แต่ละคันบรรทุกนักเรียนได้จานวนเท่ากันเป็น
 จานวน 520 คน ถ้ามีนักเรียน 325 คน จะต้องใช้รถกี่คัน
 2) ร้านค้าแห่งหนึ่งติดราคาปลากระป๋อง 3 กระป๋อง 25 บาท
 ผึ้งมีเงิน 100 บาท จะซื้อปลากระป๋องได้กี่กระป๋อง
 3) พื้นห้องนอนมีพื้นที่ 20 ตารางเมตร จะใช้กระเบืองปูพื้นทั้งหมด
                                                  ้
 80 แผ่น ถ้าห้องนอนมีพื้นที่ 15 ตารางเมตร จะใช้กระเบื้องปูพื้นกี่แผ่น
                          home     back   next
โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม                   โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา

More Related Content

What's hot

มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
Bangon Suyana
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
kroojaja
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
sawed kodnara
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
ทับทิม เจริญตา
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
Akkradet Keawyoo
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
preecha2001
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
Inmylove Nupad
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
kanjana2536
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
Phakawat Owat
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
Sumarin Sanguanwong
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
madechada
 

What's hot (20)

มัธยฐาน F
มัธยฐาน  Fมัธยฐาน  F
มัธยฐาน F
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวเกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
เกมนวัตกรรม เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนามแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์เรื่องการบวกและการลบพหุนาม
 
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชันข้อสอบ O-NET  ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
ข้อสอบ O-NET ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอนเอกสารประกอบการเรียนการสอน
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลังแบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
แบบทดสอบก่อนเรียนเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลังใบงานที่ 1 เรื่อง  เลขยกกำลัง
ใบงานที่ 1 เรื่อง เลขยกกำลัง
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
ข้อสอบฟุตซอล ม. 4
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 

Viewers also liked

หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
fern1707
 
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
othanatoso
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
ชายชรา ริมทะเลสาบ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
Nok Yupa
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
sawed kodnara
 
เรื่องการแปรผัน
เรื่องการแปรผันเรื่องการแปรผัน
เรื่องการแปรผัน
พัน พัน
 
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิดการแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
I'am Son
 
คณิตร้อยละ
คณิตร้อยละคณิตร้อยละ
คณิตร้อยละ
guest89040d
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
krurutsamee
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
พิทักษ์ ทวี
 
ร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ยร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ย
kroojaja
 

Viewers also liked (18)

หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละแบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
โจทย์ปัญหาร้อยละกับการหาค่าร้อยละ ม.2
 
การสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิตการสร้างรูปเรขาคณิต
การสร้างรูปเรขาคณิต
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.6 พื้นฐาน)
 
เรื่องการแปรผัน
เรื่องการแปรผันเรื่องการแปรผัน
เรื่องการแปรผัน
 
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิดการแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
การแปรผันไม่อยากอย่างที่คิด
 
คณิตร้อยละ
คณิตร้อยละคณิตร้อยละ
คณิตร้อยละ
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
แบบฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
ร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ยร้อยละดอกเบี้ย
ร้อยละดอกเบี้ย
 
บทเรียน1 สถิติ
บทเรียน1  สถิติบทเรียน1  สถิติ
บทเรียน1 สถิติ
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
กสพท. คณิตศาสตร์ 2560
 

Similar to สัดส่วน (6)

ร้อยละ
ร้อยละร้อยละ
ร้อยละ
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แบบฝึกหัด02
แบบฝึกหัด02แบบฝึกหัด02
แบบฝึกหัด02
 
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
การแก้ปัญหาการแทนค่าตัวแปรม.3
 

More from kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
kroojaja
 

More from kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 

สัดส่วน

  • 1. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง จงหาค่า m ในสัดส่วน m  4  21 10 15 วิธทา จากสัดส่วน จะได้ผลคูณไขว้เท่ากัน ี เนื่องจาก 15(m  4)  21  10 21  10 จะได้ m4  15 m  4  14 m  10 ดังนั้น ค่าของ m เป็น 10 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 2. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แบบฝึกหัดที่ 13 จงหาค่าตัวแปรในสัดส่วนต่อไปนี้ 1) x  2  3 2) 2  x  4 10 5 3 12 3) 6 21 4) 2  3  y - 2 35 11 z-4 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 3. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การเขียนสัดส่วนเพือแก้โจทย์ปญหา ่ ั การเขียนสัดส่วนเป็นขั้นตอนหนึ่งของการแก้โจทย์ ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนมีวิธีการเขียนดังนี้ 1. กาหนดตัวแปร a ( หรือ a , b , c , … , x , y , z) เป็นจานวนที่โจทย์ต้องการหา 2. เขียนสัดส่วนแสดงอัตราส่วนสองอัตราส่วนที่เท่ากัน โดยมีสิ่งที่ โจทย์ต้องการหา และ สิ่งที่โจทย์กาหนด ซึ่งเป็นประเภทเดียวกัน ให้อยู่ในลาดับเดียวกัน home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 4. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง ปริมาณกาแฟสด 3 x 5 8 ปริมาณน้า home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 5. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง ในการสอบแข่งขันวิชาคณิตศาสตร์ของโรงเรียน สิเกาประชาผดุงวิทย์ปรากฏว่า อัตราส่วนของคะแนนสอบ ของด.ญ.พัชนีต่อ คะแนนสอบ ด.ช.ศิขรินเป็น 5 : 3 ถ้าด.ญ.พัชนีสอบได้ 80 คะแนน การเขียนสัดส่วนแทนโจทย์ ที่กาหนดให้ เมื่อกาหนด a คือ คะแนนสอบด.ช.ศิขริน แบบที่ 1 คะแนนสอบพัชนี 5 80   คะแนนสอบศิขริน 3 a home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 6. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แบบที่ 2 คะแนนสอบพัชนี 80 5   คะแนนสอบศิขริน a 3 แบบที่ 3 คะแนนสอบศิขริน  a 3  คะแนนสอบพัชนี 80 5 แบบที่ 4 คะแนนสอบศิขริน 3 a   คะแนนสอบพัชนี 5 80 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 7. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง เสื้อ 5 ตัว ราคา 750 บาท ถ้ามีเงิน 1,200 บาท จะซื้อเสื้อได้กี่ตัว ให้นักเรียนเขียนสัดส่วนแทนโจทย์ที่กาหนดให้ เมื่อ m แทนจานวนเสื้อที่ซื้อด้วยเงิน 1,200 บาท แบบที่ 1 จานวนเสื้อเป็นตัว 5 m   ราคาเป็นบาท 750 1,200 แบบที่ 2 จานวนเสื้อเป็นตัว  m  5 ราคาเป็นบาท 1,200 750 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 8. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แบบที่ 3 ราคาเป็นบาท 750 1,200   จานวนเสื้อเป็นตัว 5 m แบบที่ 4 ราคาเป็นบาท  1,200 750  จานวนเสื้อเป็นตัว m 5 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 9. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แบบฝึกหัดที่ 14 ให้เขียนสัดส่วนจากโจทย์ปญหาต่อไปนี้ ั 1) อัตราส่วนของจานวนเงินของพี่ ต่อ น้องเป็น 6 : 5 ถ้าน้องมีเงิน 1,200 บาท พี่มีเงินเท่าไร 2) พี่ซื้อไอศกรีมให้น้อง 5 แท่ง ราคา 30 บาท ถ้าพี่ซื้อ ไอศกรีมมา 210 บาท จะได้ไอศกรีมกี่แท่ง 3) อัตราส่วนผู้ที่ได้ทางาน ต่อ จานวนผู้สมัครงานเป็น 2 : 7 ถ้ามีผู้ได้ทางาน 260 คน จงหาจานวนผู้ที่มาสมัครงาน home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 10. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การแก้โจทย์ปญหาสัดส่วน ั การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน มีวิธีการดังนี้ 1. สมมติตัวแปรแทนจานวนที่โจทย์ต้องการ 2. เขียนสัดส่วนแสดงอัตราส่วนที่เท่ากันจากโจทย์ โดยลาดับ สิ่งที่เปรียบเทียบกันในแต่ละอัตราส่วนที่อยู่ในลาดับเดียวกัน 3. หาค่าตัวแปร โดยใช้หลักการคูณ หลักการหาร หรือ การคูณไขว้ home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 11. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชายต่อจานวนนักเรียนหญิง ของโรงเรียนแห่งหนึ่งเป็น 7: 9 ถ้าโรงเรียนมีนักเรียนชาย 210 คน จงหาจานวนนักเรียนหญิง สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนของจานวนนักเรียนชายต่อจานวน ่ นักเรียนหญิงเป็น 7 : 9 และโรงเรียนมีนักเรียนชาย 210 คน สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ จานวนนักเรียนหญิง ่ ้ กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร x ้ เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนจานวนนักเรียนหญิงต่อจานวนนักเรียนชาย) home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 12. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง x 9  210 7 9  210 x 7 x  270 ดังนั้น จานวนนักเรียนหญิง เป็น 270 คน home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 13. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง ในการแข่งขันวอลเล่ย์บอลของโรงเรียนแห่งหนึ่ง มี อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะต่อ จานวนครั้งที่แพ้ เป็น 3 : 5 ถ้าทีมวอลเล่ย์บอลนี้เข้าแข่งขันชนะ 15 ครั้ง โดยไม่มีการเสมอ จงหาว่าทีมวอลเล่ย์บอลเข้าแข่งขันทั้งหมดกี่ครั้ง สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะต่อ จานวนครั้งที่แพ้ ่ เป็น 3 : 5 และ จานวนครั้งที่ชนะ 15 ครั้ง สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ จานวนครั้งที่ทีมวอลเล่ย์บอล ่ ้ เข้าแข่งขันทั้งหมด home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 14. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แนวคิด อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะ ต่อ จานวนครั้งที่แพ้ เป็น 3 : 5 อัตราส่วนจานวนครั้งที่ชนะ ต่อ จานวนครั้งที่ เข้าแข่งขันทั้งหมดเป็น 3 : 8 ทีมวอลเลย์บอลนี้แข่งขันชนะ 15 ครั้ง กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร x ้ เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนของจานวนครั้งที่แข่งต่อจานวนครั้งที่ชนะ) x 8  15 3 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 15. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง 8  15 x 3 x  40 ดังนั้น จานวนครั้งที่ทีมวอลเลย์บอลเข้าแข่งขัน เป็น 40 ครั้ง home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 16. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวอย่าง แบ่งลวด เป็น 2 ส่วน โดยใช้อัตราส่วน 2 : 5 ถ้าลวดเส้นสั้นยาว 6 เซนติเมตร แล้วลวดทั้งสองเส้นยาวเท่าไร สิงทีโ่ จทย์บอก อัตราส่วนลวดเส้นสั้นต่อลวดเส้นยาว เป็น 2 : 5 ่ และ ลวดเส้นสั้นยาว 6 เซนติเมตร สิงทีโ่ จทย์ตองการทราบ ความยาวของลวดทั้งสองเส้น ่ ้ แนวคิด อัตราส่วนลวดเส้นสันต่อลวดเส้นยาว เป็น 2 : 5 ้ อัตราส่วนความยาวลวดทั้งสองเส้น ต่อ ความยาวลวดเส้นสั้น เป็น 7 : 2 home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 17. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง กาหนดจานวนที่ตองการทราบให้เป็นตัวแปร m ้ เขียนสัดส่วนได้คือ (อัตราส่วนความยาวลวดทั้งสองเส้นต่อความยาวลวดเส้นสั้น) m 7  6 2 76 m  21 2 ดังนั้น ความยาวลวดทั้งสองเส้น เป็น 21 เซนติเมตร home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา
  • 18. บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง แบบฝึกหัดที่ 15 ให้หาคาตอบจากโจทย์ปญหาต่อไปนี้ ั 1) รถยนต์ 8 คัน แต่ละคันบรรทุกนักเรียนได้จานวนเท่ากันเป็น จานวน 520 คน ถ้ามีนักเรียน 325 คน จะต้องใช้รถกี่คัน 2) ร้านค้าแห่งหนึ่งติดราคาปลากระป๋อง 3 กระป๋อง 25 บาท ผึ้งมีเงิน 100 บาท จะซื้อปลากระป๋องได้กี่กระป๋อง 3) พื้นห้องนอนมีพื้นที่ 20 ตารางเมตร จะใช้กระเบืองปูพื้นทั้งหมด ้ 80 แผ่น ถ้าห้องนอนมีพื้นที่ 15 ตารางเมตร จะใช้กระเบื้องปูพื้นกี่แผ่น home back next โดย นางจารุวรรณ นวลพรหม โรงเรียนมหาวชิราวุธ จังหวัดสงขลา