SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
รูปทั่วไปของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร
คือ ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัว และ a  0
ตัวอย่าง

สมการต่อไปนี้ทุกสมการเป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
x+7
=
11
18  5x =
8
3(x  5) =
15
8 + a
= 2
4y + 6
=
22
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ การหา
คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทาได้ 2 วิธีดังนี้
1. โดยการแทนค่าตัวแปร
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ
x + 12 = 25
วิธีทา เนื่องจาก ถ้านา 13 แทนค่าตัวแปรในสมการ
จะได้ 13 + 12 =
25
25 = 25
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 13
ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ 3(y  1) = 24
วิธีทา เนื่องจาก ถ้านา 3 แทนค่าตัวแปรในสมการ
จะได้
3(9  1) =
24
38
=
24
24
=
24
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 9
2. โดยใช้สมบัติของการเท่ากัน
การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติการ
เท่ากันซึ่งได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติการถ่ายทอด
สมบัติการบวกและการคูณ

สมบัติสมมาตร
ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใดๆ ถ้า a = b แล้ว b= a

สมบัติถ่ายทอด
ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b
และ b = c แล้ว a = c

สมบัติการบวกของการเท่ากัน
ให้ a , b และ c เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b
แล้ว a + c = b + c

สมบัติการคูณของการเท่ากัน
ให้ a , b และ c เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b
แล้ว ac = bc
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะมีคาตอบเพียงคาตอบเดียว
เช่น 3x + 1 = 10
มี 3 เป็นคาตอบ
x3 = 0
มี 9 เป็นคาตอบ

ตัวอย่างการแก้สมการ
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3x  2
= 13
วิธีทา
3x  2
= 13
นา 2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ
3x  2 + 2 = 13 + 2
3x
= 15
นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ
3x
= 15
3
3
x = 5
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 5

ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 5 ในสมการ 3x  2 = 13
จะได้ 3(5)  2 = 13
15  2 = 13 สมการเป็นจริง

ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2x + 1 =
วิธีทา
2x + 1 =
2x + 1  1 =
2x
=
=

9
9
9  1
10
-10
-2
x
=
5
ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 5
ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 5 ในสมการ 2x + 1 = 9
จะได้

2(5) + 1 =
10 + 1 =
9
=

9
9
9

สมการเป็นจริง

ตัวอย่าง จงแก้สมการ 7x + 4  x + 5 = 5x + 12  10 + 2x
วิธีทา 7x + 4  x + 5 = 5x + 12  10 + 2x
6x + 9
= 3x + 2
6x + 9
= 3x + 2
6x + 3x = 2 - 9
9x
= 7
x = -7
9
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ -7
9
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3a + 3(a  2) = 2(4 + a)  10
วิธีทา 3a + 3(a  2) = 2(4 + a)  10
3a + 3a  6
= 8 + 2a  10
6a  6 =
2a  2
6a – 2a = -2 + 6
4a =
4
a =
1
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 1

ทุกอย่างเริ่มต้นที่ ความคิดอยากรู้....
ทุคณิตต้องหมั่นคิ่ ดและไตร่ตรอง....้....
กอย่างเริ่มต้นที ความคิดอยากรู
คณิตต้องหมั่นคิดและไตร่ตรอง....
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2y  (5 +
วิธีทา
2y  (5 + 4y) =
2y  5 - 4y =
-2y  5 =
-2y + 6y
=
4y =
y =

4y) = 2(8  3y) + 9
2(8  3y) + 9
16  6y + 9
6y + 25
25 + 5
30
30
4
2
1
y = 7
=7
4
2
1
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 7
2
ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3 – 2x  5 + x = 1
6
3
2
วิธีทา นา ค.ร.น. 6 ไปคูณทั้งสองข้างของสมการ
6( 3 – 2x )  6( 5 + x ) = 6( 1 )
6
3
2
3  2x  2(5 + x)
3  2x  10  2x
4x  7
4x
x
ดังนั้น คาตอบของสมการคือ

-5
2

=
=
=
=
=

3
3
3
10
10
-4
= -5
2
โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
พิจารณาโจทย์ปัญหาต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
โจทย์ปัญหา สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2
มีค่าเท่ากับ 9 จงหาจานวนนั้น
(1) โจทย์ต้องการทราบอะไร
(2) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบควรทาอย่างไร
(3) โจทย์กาหนดอะไรมาให้บ้าง
(4) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบกับสิ่งที่โจทย์กาหนดให้เกี่ยวข้องกันอย่างไร
(5) สร้างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนด
ได้อย่างไร
แนวตอบ
(1) โจทย์ต้องการทราบจานวนจานวนหนึ่ง
(2) สมมติตัวแปรหนึ่งตัวแทนสิ่งที่ต้องการทราบ ในที่นี้ให้เป็น x
(3) สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2 มีค่าเท่ากับ 9
(4) สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2 มีค่าเท่ากับ 9
(5) 3(x2) = 9
วิธีการแก้สมการหาคาตอบ
3(x2) =
9
3x  6 =
9
3x  6 + 6 =
3x
=
3x
=
3
x
=
ดังนั้นจานวนนั้นคือ 5

9+6
15
15
3
5
หลักในการแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีดังนี้
1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจและวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่า โจทย์กาหนด
อะไรมาให้ และโจทย์ต้องการทราบอะไร
2. กาหนดตัวแปรหนึ่งตัวแทนสิ่งที่โจทย์ให้หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้อง
กับที่โจทย์ต้องการทราบ
3. สร้างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวตามความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดให้
4. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
5. วิเคราะห์คาตอบของสมการ เพื่อหาคาตอบโจทย์ปัญหา
6. ตรวจคาตอบ

ตัวอย่าง จงหาจานวนคี่บวกสามจานวนเรียงกัน (เช่น 1,3,5)
เมื่อผลบวกของจานวนทั้งสามเป็น 39
วิธีทา กาหนดให้ จานวนคี่จานวนแรกเป็น x
จานวนที่สองเป็น x + 2
จานวนที่สามเป็น x + 4
เนื่องจากผลบวกของของจานวนคี่บวกสามจานวนเรียงกันเป็น 39
จะได้
x + (x + 2) + (x + 4) =
39
3x + 6
=
39
3x
=
33
x
=
11
จานวนแรก คือ 11 จานวนที่สอง คือ 11 + 2 = 13
จานวนที่สาม คือ 11 + 4 = 15
ดังนั้นจานวนคี่ทั้งสามจานวนคือ 11 , 13 และ 15

โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่ซับซ้อน
ในกรณีที่โจทย์มีความซับซ้อน การเปลี่ยนโจทย์ปัญหาที่อยู่ในรูป
ภาษาให้อยู่ในรูปของรูปภาพ จะช่วยให้มองเห็นลู่ทางในการแก้ปัญหา
ง่ายขึ้น
ตัวอย่าง สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าสองเท่าของด้านกว้าง
อยู่ 3 เมตร และความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้มีค่าเท่ากับ
36 เมตร จงหาความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมนี้

วิธีทา ให้ด้านกว้างยาว x เมตร
และด้านยาวยาว 2x + 3 เมตร
เนื่องจากความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้มีค่าเท่ากับ 36 เมตร
จะได้ว่า x + x + (2x + 3) + (2x + 3) = 36
6x + 6
=
36
6x
=
30
x
=
5
ดังนั้นความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมยาว 5 เมตร
ตอบ 5 เมตร

ตัวอย่าง อารียามีเงินเป็นครึ่งหนึ่งของน้าทิพย์ และน้าทิพย์มีเงิน
เป็นสามเท่าของมยุรี ทั้งสามคนมีเงินรวมกัน 110 บาท แต่ละคน
มีเงินเท่าใด
วิธีทา ให้อารียามีเงิน x บาท
อารียามีเงินเป็นครึ่งหนึ่งของน้าทิพย์ น้าทิพย์มีเงินเป็น 2x บาท
น้าทิพย์มีเงินเป็นสามเท่าของมยุรี มยุรีมีเงิน (2x) 1 = 2x บาท
3
3
ทั้งสามคนมีเงินรวมกัน 110 บาท
ดังนั้น
x + 2x + 2x =
110
3
3x + 6x + 2x
=
330
11x
=
330
x
=
30
ดังนั้น สาวิตรีมีเงิน 30 บาท , ปรีดามีเงิน 2(30) = 60 บาท
ยาใจมีเงิน 20 บาท

โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว ระยะทาง เวลา
สามารถหาคาตอบของปัญหาได้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับสมการ
ความเกี่ยวข้องระหว่างระยะทาง อัตราเร็วและเวลา กาหนดได้ด้วย
สมการดังนี้
S
=
rt
เมื่อ

S แทนระยะทาง
r แทนอัตราเร็ว
t แทนเวลา
เราจะใช้สมการ S = rt
เพื่อหาค่าของตัวแปรหนึ่ง เมื่อทราบค่าของตัวแปรอีกสองตัว
อัตราเร็วที่กล่าวถึงจะหมายถึง อัตราเร็วเฉลี่ย
ตัวอย่าง นายบุญเกื้อเดินทางได้ระยะทาง 680 กิโลเมตร
ในช่วงแรกเขาเดินทางโดยรถยนต์ด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง
และช่วงหลังเขาเดินทางโดยรถไฟด้วยอัตราเร็ว 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง
ถ้าเขาใช้เวลาในการเดินทางทั้งสิ้น 9 ชั่วโมง
จงหาว่าเขาเดินทางโดยรถยนต์และรถไฟอย่างละกี่กิโลเมตร
วิธีทา สมมติว่านายบุญเกื้อเดินทางโดยรถยนต์ใช้เวลา x ชั่วโมง
ดังนั้น เขาจะเดินทางโดยรถไฟใช้เวลา 9  x ชั่วโมง
เดินทางโดยรถยนต์ x ชั่วโมง ด้วยอัตราเร็ว 80 กม./ชม.
จะเดินทางได้ ระยะทาง 80x กม.
เดินทางโดยรถไฟ 9  x ชม. ด้วยอัตราเร็ว 72 กม./ชม.
จะเดินทางได้ระยะทาง 72(9  x) กม.
เนื่องจาก นายบุญเกื้อเดินทางได้ระยะทาง 680 กม.
ดังนั้น 80x + 72 (9  x) =
680
80x + 648  72x
=
680
8x + 648
=
680
8x
=
32
x
=
4
นั่นคือ เขาเดินทางโดยรถยนต์ใช้เวลา 4 ชม. ได้ระยะทาง
80  4 = 320 กม.
และ เขาเดินทางโดยรถไฟใช้เวลา 9 4 = 5 ชม.
ได้ระยะทาง 72  5 = 360 กม.
ตอบ เดินทางโดยรถยนต์ 320 กม. และรถไฟ 360 กม.
แบบฝึกทักษะสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1. ข้อใดเป็นไม่ใช่ประโยคภาษา
ก. นายแดงทานาได้ข้าวเปลือก 13 เกวียน
ข. จานวนจานวนหนึ่งมีค่าน้อยกว่ายี่สิบสาม
ค. สามเท่าของเลขจานวนหนึ่งบวกกับ 3 มีค่าไม่ถึง 15
ง. เศษสองส่วนสามของเงินสมใจมีค่าเท่ากับหนึ่งพันห้าร้อยบาท
2. ประโยคสัญลักษณ์ในข้อใดเป็นสมการ
ก.5x + 3 < 15
ข.a + 2a  13
ค.x + 10 = 10
ง. + x  7 > 1
3. สมการในข้อใดสมมูลกับสมการ x + 1 = 3
ก.x + 3
= 3(x + 2)
ข.x  2
= 2(x  2)
ค.3(x + 5) = 4(5 + x)
ง. 2(x  5) = 3(x + 5)
4. สมการในข้อใดต่อไปนี้มีคาตอบเป็นชุดเดียวกัน
(1)
3x + 2 = 5
(2)
x5
= 4
(3)
2(x  2) = 2x
ก.
ข้อ (1) และ (2)
ข.
ข้อ (1) และ (3)
ค.
ข้อ (2) และ (3)
ง.
ข้อ (1), (2) และ (3)
5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ก.
2x + 3y  1 = 0
ข.
6x + 1 =  3x  2
ค.
3x2  2xy + 5 = 0
ง.
3a + a2  1
= 0
6. คาตอบของสมการ 6x  8  3x = 2x + 12  x
คือข้อใดเท่าใด
ก.
20
ข.
10
ค.
5
ง.
2
7. ข้อใดเป็นคาตอบของสมการ 2(7x + 2) = 5(4x  1)
ก.
1.5
ข.
0.5
ค.
1.5
ง.
2.5
8. ถ้า 2 เป็นคาตอบของสมการ X + k = X แล้ว k มีค่าเท่ากับข้อใด
3

2

ก. 1
ข. 2
ค. 3
ง. 4
9. “โก้อายุแก่กว่าเก๋ 4 ปี ก้อยมีอายุเป็นครึ่งหนึ่งของโก้และเก๋รวมกัน
ถ้าโก้และก้อยมีอายุรวมกันเป็น 40 ปี จงหาอายุของโก้ เก๋และก้อย”
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ในข้อใด
ก.
x + (x + 4)
= 40
ข.
x + (x + 2)
= 40
ค.
(x + 4) + (x+2) = 40
ง.
x + (x + 2) + (x + 4) = 40
10. มีส้มอยู่ 99 ผล แบ่งออกเป็นสองกองโดยให้ 4 ของกองเล็กเท่ากับ
5
2 ของกองใหญ่ ส้มกองใหญ่มีกี่ผล
3 ก.
55 ผล
ข.
54 ผล
ค.
53 ผล
ง.
52 ผล
เฉลย
1. ก
2. ค
3. ข
4. ง
5. ข
6. ข
7. ค
8. ก
9. ง
10. ข

More Related Content

What's hot

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบssuserf8d051
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตKuntoonbut Wissanu
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองTum Anucha
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่supamit jandeewong
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากวรรณิภา ไกรสุข
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 

What's hot (20)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
ใบงานวิทยาศาสตร์ ป.5 ครบ
 
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตโจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
โจทย์ปัญหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต
 
ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5ใบงานเลขยกกำลังม.5
ใบงานเลขยกกำลังม.5
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 

Viewers also liked

ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkanjana2536
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการsuwanpinit
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการAon Narinchoti
 
จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.631052529pp
 
Arithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารArithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารb39suki
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมkroojaja
 
คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1Thanakorn Kamsan
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตLittle Eye
 
เออาร์Pdf
เออาร์Pdfเออาร์Pdf
เออาร์Pdfpmthan
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3ยินดี ครูคณิตสงขลา
 
เล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณเล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณRachain Muangngam
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็นศศิชา ทรัพย์ล้น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นKruAm Maths
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1Parichat1989
 

Viewers also liked (20)

ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
ใบความรู้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการแก้โจทย์ปัญหาอสมการ
แก้โจทย์ปัญหาอสมการ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6จำนวนนับ ป.6
จำนวนนับ ป.6
 
Arithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหารArithmetic บวกลบคูณหาร
Arithmetic บวกลบคูณหาร
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลมเอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องแผนภูมิวงกลม
 
คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1คณิต ป.6 หน่วยที่1
คณิต ป.6 หน่วยที่1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
บทที่ 6 ความน่าจะเป็น
บทที่ 6 ความน่าจะเป็นบทที่ 6 ความน่าจะเป็น
บทที่ 6 ความน่าจะเป็น
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิต
 
เออาร์Pdf
เออาร์Pdfเออาร์Pdf
เออาร์Pdf
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
แบบฝึกทักษะ เรื่อง รูปเรขาคณิตสามมิติของปริซึม ม.3
 
คณิต ป.6
คณิต ป.6คณิต ป.6
คณิต ป.6
 
เล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณเล่มที่ 1 คูณ
เล่มที่ 1 คูณ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
สรุปสูตร คณิตศาสตร์ ม.2
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็นใบงานที่  1  เรื่อง ความน่าจะเป็น
ใบงานที่ 1 เรื่อง ความน่าจะเป็น
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 
รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1รวมวิชาม.1
รวมวิชาม.1
 

Similar to สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวพัน พัน
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว Somporn Amornwech
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการNoir Black
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1Rung Pj
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟKanchanid Kanmungmee
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวSomporn Amornwech
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันAon Narinchoti
 

Similar to สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว (20)

112
112112
112
 
Real
RealReal
Real
 
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.3 การแก้อสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
Real (1)
Real (1)Real (1)
Real (1)
 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
3.2 การแก้สมการกำลังสองตัวแปรเดียว 
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
Example equapoly
Example equapolyExample equapoly
Example equapoly
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4การแก้อสมการเชิงเส้น4
การแก้อสมการเชิงเส้น4
 
แบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการแบบฝึกทักษะ อสมการ
แบบฝึกทักษะ อสมการ
 
A samakran
A samakranA samakran
A samakran
 
Asamakan1
Asamakan1Asamakan1
Asamakan1
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
 
สื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟสื่อเรื่องกราฟ
สื่อเรื่องกราฟ
 
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
1.4 โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
สมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากันสมบัติการเท่ากัน
สมบัติการเท่ากัน
 

More from kroojaja

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1kroojaja
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันkroojaja
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01kroojaja
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-mergedkroojaja
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558kroojaja
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 

More from kroojaja (20)

ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
 

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว

  • 1. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว รูปทั่วไปของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่มี x เป็นตัวแปร คือ ax + b = 0 เมื่อ a, b เป็นค่าคงตัว และ a  0 ตัวอย่าง สมการต่อไปนี้ทุกสมการเป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว x+7 = 11 18  5x = 8 3(x  5) = 15 8 + a = 2 4y + 6 = 22 การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว คือ การหา คาตอบของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ทาได้ 2 วิธีดังนี้
  • 2. 1. โดยการแทนค่าตัวแปร ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ x + 12 = 25 วิธีทา เนื่องจาก ถ้านา 13 แทนค่าตัวแปรในสมการ จะได้ 13 + 12 = 25 25 = 25 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 13 ตัวอย่าง จงหาคาตอบของสมการ 3(y  1) = 24 วิธีทา เนื่องจาก ถ้านา 3 แทนค่าตัวแปรในสมการ จะได้ 3(9  1) = 24 38 = 24 24 = 24 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 9
  • 3. 2. โดยใช้สมบัติของการเท่ากัน การแก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว โดยใช้สมบัติการ เท่ากันซึ่งได้แก่ สมบัติสมมาตร สมบัติการถ่ายทอด สมบัติการบวกและการคูณ สมบัติสมมาตร ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใดๆ ถ้า a = b แล้ว b= a สมบัติถ่ายทอด ให้ a และ b เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b และ b = c แล้ว a = c สมบัติการบวกของการเท่ากัน ให้ a , b และ c เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว a + c = b + c สมบัติการคูณของการเท่ากัน ให้ a , b และ c เป็นจานวนจริงใด ๆ ถ้า a = b แล้ว ac = bc
  • 4. สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจะมีคาตอบเพียงคาตอบเดียว เช่น 3x + 1 = 10 มี 3 เป็นคาตอบ x3 = 0 มี 9 เป็นคาตอบ ตัวอย่างการแก้สมการ ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3x  2 = 13 วิธีทา 3x  2 = 13 นา 2 มาบวกทั้งสองข้างของสมการ 3x  2 + 2 = 13 + 2 3x = 15 นา 3 มาหารทั้งสองข้างของสมการ 3x = 15 3 3
  • 5. x = 5 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 5 ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 5 ในสมการ 3x  2 = 13 จะได้ 3(5)  2 = 13 15  2 = 13 สมการเป็นจริง ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2x + 1 = วิธีทา 2x + 1 = 2x + 1  1 = 2x = = 9 9 9  1 10 -10 -2 x = 5 ดังนั้น คาตอบของสมการ คือ 5
  • 6. ตรวจคาตอบ แทนค่า x = 5 ในสมการ 2x + 1 = 9 จะได้ 2(5) + 1 = 10 + 1 = 9 = 9 9 9 สมการเป็นจริง ตัวอย่าง จงแก้สมการ 7x + 4  x + 5 = 5x + 12  10 + 2x วิธีทา 7x + 4  x + 5 = 5x + 12  10 + 2x 6x + 9 = 3x + 2 6x + 9 = 3x + 2 6x + 3x = 2 - 9 9x = 7 x = -7 9 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ -7 9
  • 7. ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3a + 3(a  2) = 2(4 + a)  10 วิธีทา 3a + 3(a  2) = 2(4 + a)  10 3a + 3a  6 = 8 + 2a  10 6a  6 = 2a  2 6a – 2a = -2 + 6 4a = 4 a = 1 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 1 ทุกอย่างเริ่มต้นที่ ความคิดอยากรู้.... ทุคณิตต้องหมั่นคิ่ ดและไตร่ตรอง....้.... กอย่างเริ่มต้นที ความคิดอยากรู คณิตต้องหมั่นคิดและไตร่ตรอง....
  • 8. ตัวอย่าง จงแก้สมการ 2y  (5 + วิธีทา 2y  (5 + 4y) = 2y  5 - 4y = -2y  5 = -2y + 6y = 4y = y = 4y) = 2(8  3y) + 9 2(8  3y) + 9 16  6y + 9 6y + 25 25 + 5 30 30 4 2 1 y = 7 =7 4 2 1 ดังนั้น คาตอบของสมการคือ 7 2
  • 9. ตัวอย่าง จงแก้สมการ 3 – 2x  5 + x = 1 6 3 2 วิธีทา นา ค.ร.น. 6 ไปคูณทั้งสองข้างของสมการ 6( 3 – 2x )  6( 5 + x ) = 6( 1 ) 6 3 2 3  2x  2(5 + x) 3  2x  10  2x 4x  7 4x x ดังนั้น คาตอบของสมการคือ -5 2 = = = = = 3 3 3 10 10 -4 = -5 2
  • 10. โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว พิจารณาโจทย์ปัญหาต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม โจทย์ปัญหา สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2 มีค่าเท่ากับ 9 จงหาจานวนนั้น (1) โจทย์ต้องการทราบอะไร (2) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบควรทาอย่างไร (3) โจทย์กาหนดอะไรมาให้บ้าง (4) สิ่งที่โจทย์ต้องการทราบกับสิ่งที่โจทย์กาหนดให้เกี่ยวข้องกันอย่างไร (5) สร้างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวจากความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนด ได้อย่างไร แนวตอบ (1) โจทย์ต้องการทราบจานวนจานวนหนึ่ง (2) สมมติตัวแปรหนึ่งตัวแทนสิ่งที่ต้องการทราบ ในที่นี้ให้เป็น x
  • 11. (3) สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2 มีค่าเท่ากับ 9 (4) สามเท่าของผลต่างของจานวนจานวนหนึ่งกับ 2 มีค่าเท่ากับ 9 (5) 3(x2) = 9 วิธีการแก้สมการหาคาตอบ 3(x2) = 9 3x  6 = 9 3x  6 + 6 = 3x = 3x = 3 x = ดังนั้นจานวนนั้นคือ 5 9+6 15 15 3 5
  • 12. หลักในการแก้โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวมีดังนี้ 1. อ่านโจทย์ปัญหาให้เข้าใจและวิเคราะห์โจทย์เพื่อหาว่า โจทย์กาหนด อะไรมาให้ และโจทย์ต้องการทราบอะไร 2. กาหนดตัวแปรหนึ่งตัวแทนสิ่งที่โจทย์ให้หาหรือแทนสิ่งที่เกี่ยวข้อง กับที่โจทย์ต้องการทราบ 3. สร้างสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวตามความสัมพันธ์ที่โจทย์กาหนดให้ 4. แก้สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 5. วิเคราะห์คาตอบของสมการ เพื่อหาคาตอบโจทย์ปัญหา 6. ตรวจคาตอบ ตัวอย่าง จงหาจานวนคี่บวกสามจานวนเรียงกัน (เช่น 1,3,5) เมื่อผลบวกของจานวนทั้งสามเป็น 39 วิธีทา กาหนดให้ จานวนคี่จานวนแรกเป็น x จานวนที่สองเป็น x + 2 จานวนที่สามเป็น x + 4
  • 13. เนื่องจากผลบวกของของจานวนคี่บวกสามจานวนเรียงกันเป็น 39 จะได้ x + (x + 2) + (x + 4) = 39 3x + 6 = 39 3x = 33 x = 11 จานวนแรก คือ 11 จานวนที่สอง คือ 11 + 2 = 13 จานวนที่สาม คือ 11 + 4 = 15 ดังนั้นจานวนคี่ทั้งสามจานวนคือ 11 , 13 และ 15 โจทย์สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวที่ซับซ้อน ในกรณีที่โจทย์มีความซับซ้อน การเปลี่ยนโจทย์ปัญหาที่อยู่ในรูป ภาษาให้อยู่ในรูปของรูปภาพ จะช่วยให้มองเห็นลู่ทางในการแก้ปัญหา ง่ายขึ้น
  • 14. ตัวอย่าง สี่เหลี่ยมผืนผ้ารูปหนึ่งมีด้านยาวยาวกว่าสองเท่าของด้านกว้าง อยู่ 3 เมตร และความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้มีค่าเท่ากับ 36 เมตร จงหาความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมนี้ วิธีทา ให้ด้านกว้างยาว x เมตร และด้านยาวยาว 2x + 3 เมตร เนื่องจากความยาวรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมรูปนี้มีค่าเท่ากับ 36 เมตร จะได้ว่า x + x + (2x + 3) + (2x + 3) = 36
  • 15. 6x + 6 = 36 6x = 30 x = 5 ดังนั้นความกว้างของรูปสี่เหลี่ยมยาว 5 เมตร ตอบ 5 เมตร ตัวอย่าง อารียามีเงินเป็นครึ่งหนึ่งของน้าทิพย์ และน้าทิพย์มีเงิน เป็นสามเท่าของมยุรี ทั้งสามคนมีเงินรวมกัน 110 บาท แต่ละคน มีเงินเท่าใด วิธีทา ให้อารียามีเงิน x บาท อารียามีเงินเป็นครึ่งหนึ่งของน้าทิพย์ น้าทิพย์มีเงินเป็น 2x บาท น้าทิพย์มีเงินเป็นสามเท่าของมยุรี มยุรีมีเงิน (2x) 1 = 2x บาท 3 3 ทั้งสามคนมีเงินรวมกัน 110 บาท ดังนั้น x + 2x + 2x = 110 3
  • 16. 3x + 6x + 2x = 330 11x = 330 x = 30 ดังนั้น สาวิตรีมีเงิน 30 บาท , ปรีดามีเงิน 2(30) = 60 บาท ยาใจมีเงิน 20 บาท โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราเร็ว ระยะทาง เวลา สามารถหาคาตอบของปัญหาได้โดยใช้ความรู้เกี่ยวกับสมการ ความเกี่ยวข้องระหว่างระยะทาง อัตราเร็วและเวลา กาหนดได้ด้วย สมการดังนี้ S = rt
  • 17. เมื่อ S แทนระยะทาง r แทนอัตราเร็ว t แทนเวลา เราจะใช้สมการ S = rt เพื่อหาค่าของตัวแปรหนึ่ง เมื่อทราบค่าของตัวแปรอีกสองตัว อัตราเร็วที่กล่าวถึงจะหมายถึง อัตราเร็วเฉลี่ย ตัวอย่าง นายบุญเกื้อเดินทางได้ระยะทาง 680 กิโลเมตร ในช่วงแรกเขาเดินทางโดยรถยนต์ด้วยอัตราเร็ว 80 กิโลเมตร/ชั่วโมง และช่วงหลังเขาเดินทางโดยรถไฟด้วยอัตราเร็ว 72 กิโลเมตร/ชั่วโมง ถ้าเขาใช้เวลาในการเดินทางทั้งสิ้น 9 ชั่วโมง จงหาว่าเขาเดินทางโดยรถยนต์และรถไฟอย่างละกี่กิโลเมตร วิธีทา สมมติว่านายบุญเกื้อเดินทางโดยรถยนต์ใช้เวลา x ชั่วโมง ดังนั้น เขาจะเดินทางโดยรถไฟใช้เวลา 9  x ชั่วโมง เดินทางโดยรถยนต์ x ชั่วโมง ด้วยอัตราเร็ว 80 กม./ชม.
  • 18. จะเดินทางได้ ระยะทาง 80x กม. เดินทางโดยรถไฟ 9  x ชม. ด้วยอัตราเร็ว 72 กม./ชม. จะเดินทางได้ระยะทาง 72(9  x) กม. เนื่องจาก นายบุญเกื้อเดินทางได้ระยะทาง 680 กม. ดังนั้น 80x + 72 (9  x) = 680 80x + 648  72x = 680 8x + 648 = 680 8x = 32 x = 4 นั่นคือ เขาเดินทางโดยรถยนต์ใช้เวลา 4 ชม. ได้ระยะทาง 80  4 = 320 กม. และ เขาเดินทางโดยรถไฟใช้เวลา 9 4 = 5 ชม. ได้ระยะทาง 72  5 = 360 กม. ตอบ เดินทางโดยรถยนต์ 320 กม. และรถไฟ 360 กม.
  • 19. แบบฝึกทักษะสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว 1. ข้อใดเป็นไม่ใช่ประโยคภาษา ก. นายแดงทานาได้ข้าวเปลือก 13 เกวียน ข. จานวนจานวนหนึ่งมีค่าน้อยกว่ายี่สิบสาม ค. สามเท่าของเลขจานวนหนึ่งบวกกับ 3 มีค่าไม่ถึง 15 ง. เศษสองส่วนสามของเงินสมใจมีค่าเท่ากับหนึ่งพันห้าร้อยบาท 2. ประโยคสัญลักษณ์ในข้อใดเป็นสมการ ก.5x + 3 < 15 ข.a + 2a  13 ค.x + 10 = 10 ง. + x  7 > 1 3. สมการในข้อใดสมมูลกับสมการ x + 1 = 3 ก.x + 3 = 3(x + 2) ข.x  2 = 2(x  2) ค.3(x + 5) = 4(5 + x) ง. 2(x  5) = 3(x + 5)
  • 20. 4. สมการในข้อใดต่อไปนี้มีคาตอบเป็นชุดเดียวกัน (1) 3x + 2 = 5 (2) x5 = 4 (3) 2(x  2) = 2x ก. ข้อ (1) และ (2) ข. ข้อ (1) และ (3) ค. ข้อ (2) และ (3) ง. ข้อ (1), (2) และ (3) 5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ก. 2x + 3y  1 = 0 ข. 6x + 1 =  3x  2 ค. 3x2  2xy + 5 = 0 ง. 3a + a2  1 = 0 6. คาตอบของสมการ 6x  8  3x = 2x + 12  x คือข้อใดเท่าใด ก. 20 ข. 10 ค. 5 ง. 2
  • 21. 7. ข้อใดเป็นคาตอบของสมการ 2(7x + 2) = 5(4x  1) ก. 1.5 ข. 0.5 ค. 1.5 ง. 2.5 8. ถ้า 2 เป็นคาตอบของสมการ X + k = X แล้ว k มีค่าเท่ากับข้อใด 3 2 ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 9. “โก้อายุแก่กว่าเก๋ 4 ปี ก้อยมีอายุเป็นครึ่งหนึ่งของโก้และเก๋รวมกัน ถ้าโก้และก้อยมีอายุรวมกันเป็น 40 ปี จงหาอายุของโก้ เก๋และก้อย” เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ในข้อใด ก. x + (x + 4) = 40 ข. x + (x + 2) = 40 ค. (x + 4) + (x+2) = 40 ง. x + (x + 2) + (x + 4) = 40 10. มีส้มอยู่ 99 ผล แบ่งออกเป็นสองกองโดยให้ 4 ของกองเล็กเท่ากับ 5 2 ของกองใหญ่ ส้มกองใหญ่มีกี่ผล 3 ก. 55 ผล ข. 54 ผล ค. 53 ผล ง. 52 ผล
  • 22. เฉลย 1. ก 2. ค 3. ข 4. ง 5. ข 6. ข 7. ค 8. ก 9. ง 10. ข