SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน                และการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละใน         สถานการณ์ต่างๆ สาระการเรียนรู้ : อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และการนำไปใช้ back next home โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง เมนูหลัก แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาบทเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ออกจากบทเรียน โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง เมนูเนื้อหาบทเรียน home อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน สัดส่วน ร้อยละ โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง จุดประสงค์การเรียนรู้ ,[object Object],และเขียนอัตราส่วนได้ home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน อัตราส่วน นิยามให้ a เป็นปริมาณของสิ่งแรกและ b เป็นปริมาณของสิ่งที่สอง  เราเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบ  ปริมาณของสิ่งแรกและสิ่งที่สองด้วย a: bหรือ    (อ่านว่า a ต่อ b)        เรียก a ว่าจำนวนแรก  หรือจำนวนที่หนึ่ง 	เรียก b ว่าจำนวนหลัง  หรือจำนวนที่สอง home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง  จากรูปที่กำหนดให้  เขียนเป็นอัตราส่วนได้ดังนี้ 1.  จำนวนเป็ดต่อจำนวนช้าง  เป็น 7 : 2  หรือ 2.  จำนวนเป็ดต่อจำนวนนก  เป็น 7 : 3 หรือ  3.  จำนวนช้างต่อจำนวนนก  เป็น 2 : 3  หรือ  4.  จำนวนช้างต่อจำนวนเป็ด เป็น 2 : 7 หรือ  home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน อัตรา (rate)  คือ ข้อความแสดงการเปรียบเทียบของ ปริมาณต่างชนิดกัน โดยมีหน่วยกำกับอยู่ เช่น ครู 1 คน  ดูแลนักเรียน 40 คน , ผู้โดยสาร 1 คน เสียค่าโดยสาร  8 บาท , ซื้อผงซักฟอกห่อละ 92  บาท อัตราส่วน (ratio) หมายถึง ความสัมพันธ์ที่แสดงการ เปรียบเทียบจำนวน สิ่งของสองจำนวน หรือปริมาณสองปริมาณ  เช่น อัตราส่วนของจำนวนครูต่อจำนวนนักเรียนเป็น  3 ต่อ 15 หรือ อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนต่อจำนวนครูเป็น  15 ต่อ 3 สามารถเขียนแทนด้วย 3 : 15 หรือ 15 : 3 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ข้อสังเกต ถ้าพิจารณาอัตราส่วนของจำนวนเป็ดต่อจำนวนช้าง  เป็น 7: 2 หมายความว่า  ถ้ามีเป็ด 7 ตัว จะต้องมีช้าง 2  ตัว อัตราส่วนของจำนวนช้างต่อจำนวนเป็ด  เป็น 2 : 7หมายความว่า  ถ้ามีช้าง 2 ตัว จะต้องมีเป็ด 7 ตัวแสดงว่า  2 : 7 และ 7 : 2 มีความหมายต่างกัน  ดังนั้นถ้า a และ b เป็นปริมาณของสิ่งสองสิ่งใดๆ  a : b  b : a  ยกเว้น a = b home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน      ในการเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบสิ่งของ อย่างเดียวกัน แต่ใช้หน่วยต่างกัน เช่น ทอฝันมีเวลาอ่านหนังสือ 8 วัน แต่ปองหวังมีเวลาอ่านหนังสือ 2 สัปดาห์ การเขียน อัตราส่วนเปรียบเทียบจะต้องเขียนหน่วยกำกับไว้ หรือต้อง เปลี่ยนหน่วยของเวลาในการอ่านหนังสือของคนทั้งสองให้เป็น หน่วยเดียวกัน ดังนี้ อัตราส่วนเวลาอ่านหนังสือของทอฝันเป็นวัน ต่อเวลาอ่านหนังสือของปองหวังเป็นสัปดาห์ เป็น 8 : 2  หรือ อัตราส่วนเวลาอ่านหนังสือของทอฝันต่อเวลาอ่านหนังสือของ ปองหวัง เป็น 8 :14  home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่างจงเขียนอัตราและอัตราส่วนแทนข้อความ ที่กำหนดให้ในแต่ละข้อ 1) ชาย 3 คน ทำงานเสร็จใน 5 วันตอบ 	อัตรา 	   3 คน ทำงานเสร็จใน 5 วัน	อัตราส่วน  3 : 52) หมู 1 ตัว มีน้ำหนัก 210 กิโลกรัมตอบ 	อัตรา 	   1 ตัว หนัก 210 กิโลกรัม 	อัตราส่วน  1 : 210 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน 3) สุรีย์ขับรถได้ทาง 75 กิโลเมตรในเวลา 45 นาที ตอบ 	อัตรา 		75 กิโลเมตรใช้เวลา 45 นาที	อัตราส่วน  	75 : 454) สมุด 1 โหล ราคา 108 บาท ตอบ 	อัตรา 		 1 โหล ราคา 108 บาท	อัตราส่วน  	 1 : 1085) รถยนต์แต่ละคันบรรทุกปลาได้ 1,500 กิโลกรัมตอบ 	อัตรา 		 1 คันบรรทุกได้ 1,500 กิโลกรัม 	อัตราส่วน  	 1 : 1,500 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 1   จงเขียนอัตรา และอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้ 1. เงาะ 5 กิโลกรัม ราคา 50 บาท 2. ดินสอ 5 แท่ง ราคา 30 บาท 3. หัวใจเต้น 80 ครั้ง ในเวลา 1 นาที 4. ระยะทางในแผนผัง 1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 100 กิโลเมตร 5. กระดาษ 5 แผ่น สำหรับนักเรียน 7 คน ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1   1.ตอบ อัตรา 	5 กิโลกรัม ราคา 50 บาท	  อัตราส่วน  	5 : 502.ตอบ อัตรา 	5 แท่ง ราคา 30 บาท	  อัตราส่วน  	5 : 30 3.ตอบ อัตรา 	80 ครั้งในเวลา 1 นาที	  อัตราส่วน  	80 : 1 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 (ต่อ)  4.ตอบ อัตรา    1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 100 กิโลเมตร	  อัตราส่วน  1 : 1005.ตอบ อัตรา     5 แผ่น สำหรับนักเรียน 7 คน	  อัตราส่วน  5 : 7 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน การเขียนอัตราส่วนของปริมาณสองปริมาณ ที่มีหน่วยเหมือนกัน 	อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบของปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยเดียวกัน และมีความชัดเจนว่าเป็น หน่วยของสิ่งใด เช่น น้ำหนัก ปริมาตร เราไม่นิยมเขียนหน่วย กำกับไว้ ตัวอย่าง  แป้งมัน 2 กิโลกรัม กับ น้ำตาลทราย 3 กิโลกรัม เนื่องจากมีหน่วยเป็นกิโลกรัมเหมือนกัน การเขียนอัตราส่วนจึงไม่ต้องมีหน่วยกำกับไว้ ดังนี้ อัตราส่วนของแป้งมัน ต่อ น้ำตาลทราย เป็น 2 : 3 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง  ช้าง 3 ตัว กับ ม้า 5 ตัว เนื่องจากมีหน่วยเป็นตัวเหมือนกัน การเขียนอัตราส่วนจึงไม่ต้องมีหน่วยกำกับไว้ ดังนี้ อัตราส่วนของช้าง ต่อ ม้า เป็น 3 : 5 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 2   ให้พิจารณาอัตราส่วนการทำขนมกลีบลำดวนแล้วตอบคำถาม อัตราส่วนการทำขนมกลีบลำดวน 		แป้งสาลีอเนกประสงค์ 600 กรัม 		เกลือป่น 3 กรัม 		น้ำตาลไอซิ่ง 280 กรัม 		ผงฟู 7 กรัม 		น้ำมันถั่วเหลือง 260 กรัม home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน 1. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง = 3 : 280 2. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 260 : 7 3. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 280 : 3 4. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 600 5. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 280 : 260 6. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 3 7. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 280 8. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 3 : 600 ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน 	         เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2  1. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง 2. อัตราส่วนปริมาณน้ำมันถั่วเหลือง ต่อ ปริมาณผงฟู 3. อัตราส่วนปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง ต่อ ปริมาณเกลือป่น 4. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณแป้งสาลีอเนกประสงค์ 5. อัตราส่วนปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง ต่อ ปริมาณน้ำมันถั่วเหลือง 6. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณเกลือป่น 7. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง 8. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณแป้งสาลีอเนกประสงค์ home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน การเขียนอัตราส่วนของปริมาณสองปริมาณ ที่มีหน่วยต่างกัน 	อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยต่างกันเราจะเขียนหน่วยกำกับไว้ ตัวอย่าง แม่ซื้อไข่ไก่มา 10 ฟอง ราคา 33 บาท เขียนอัตราส่วนได้ดังนี้ อัตราส่วนจำนวนไข่ไก่ เป็นฟอง ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 10 : 33 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง พลพลขายเสื้อไป 6 ตัว ราคา 1,500 บาท เขียนอัตราส่วนได้ดังนี้ อัตราส่วนจำนวนเสื้อเป็นตัว ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 6 : 1,500 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 3 ให้พิจารณาอัตราส่วนการทำพันช์น้ำดอกอัญชันแล้วตอบคำถาม พันช์น้ำดอกอัญชัน ส่วนผสม	1. น้ำโซดาแช่เย็น 1 ขวด	2. น้ำดอกอัญชัน ครึ่งถ้วย	3. น้ำเชื่อม 6 ช้อนโต๊ะ		4. น้ำผึ้ง 4 ช้อนโต๊ะ	5. น้ำมะนาว สองในสามถ้วย 		 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน 1. อัตราส่วนน้ำโซดาเป็นขวด ต่อ น้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย= 1 :1/2 2. …………………………………………. ต่อ …………………………………. 	= 2/3 : 6 3. …………………………………………. ต่อ ………………………………….  = 4 : 1 4. …………………………………………. ต่อ ………………………………….  = 4 : 6 5. …………………………………………. ต่อ ………………………………….  = 1/2 : 3/2 ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน 	       เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3  1. อัตราส่วนน้ำโซดาเป็นขวด ต่อ น้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย 2. อัตราส่วนน้ำมะนาวเป็นถ้วย ต่อ น้ำเชื่อมเป็นช้อนโต๊ะ 3. อัตราส่วนน้ำผึ้งเป็นช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำโซดาเป็นขวด 4. อัตราส่วนน้ำผึ้งเป็นช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำเชื่อมเป็นช้อนโต๊ะ 5. อัตราส่วนน้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย ต่อน้ำมะนาวเป็นถ้วย  home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน มาตราส่วน  เป็นการนำอัตราส่วนมาใช้ประโยชน์  เนื่องจาก การเขียนรูปแผนที่ แผนผัง ฯลฯ  นั้น เราไม่สามารถเขียนให้ ใหญ่เท่าของจริงได้  เราจึงต้องเขียนรูปเป็นแบบย่อส่วน ให้เหมือนของจริงโดยการใช้มาตราส่วน และเขียนมาตราส่วนที่ใช้นั้น กำกับไว้ด้วยเพื่อให้สามารถบอกขนาดที่แท้จริงได้ถูกต้องตัวอย่าง1:50  หมายความว่า  ถ้าความยาวในแผนผังเป็น  1 เซนติเมตร ความยาวจริงจะเป็น 50 เซนติเมตร 	 1 ซม. :4 ม. หมายความว่า ถ้าความยาวในแผนผังเป็น   1 เซนติเมตร ความยาวจริงจะเป็น 4 เมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง  จงหาขนาดแผนผังที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ซึ่งมีขนาดกว้าง  625  เมตร  ยาว  750  เมตร  โดยใช้มาตราส่วน  1  เซนติเมตร  :  125  เมตร วิธีทำจากมาตราส่วน  1  เซนติเมตร  :  125  เมตร 	 ความกว้างจริง  625  เมตร จะได้ความกว้างบนแผนผัง  =      = 5เซนติเมตร 	 ความยาวจริง  750  เมตร  จะได้ความยาวบนแผนผัง   =      = 6เซนติเมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 4   จงหาระยะทางจริงจากโจทย์ที่กำหนดต่อไปนี้ 1. ระยะในแผนที่ 1 เซนติเมตร แทนระยะทางจริง 10 กิโลเมตร  ถ้าบ้านของนักเรียนคนหนึ่งถึงโรงเรียน มีระยะห่างในแผนที่  2.8 เซนติเมตร ระยะทางจริงจะเป็นเท่าใด  2. ระยะในแผนผัง 1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 5 เมตร  ถ้าวัดระยะห่างของโต๊ะเรียนสองโต๊ะในแผนผังได้ 1.4 เซนติเมตรระยะทางจริงจะเป็นเท่าใด  ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน  เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 4             1.    28 กิโลเมตร           2.     7 เมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ  บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง

More Related Content

What's hot

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนพิทักษ์ ทวี
 
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนothanatoso
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์krookay2012
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณพิทักษ์ ทวี
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันsawed kodnara
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลsawed kodnara
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)ประพันธ์ เวารัมย์
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นsawed kodnara
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังApichaya Savetvijit
 
ความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ความน่าจะเป็นเบื้องต้นความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ความน่าจะเป็นเบื้องต้นsawed kodnara
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1Tangkwa Dong
 

What's hot (20)

ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวนชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
ชุดที่ 5 อัตราส่วนของจำนวนหลาย ๆ จำนวน
 
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวนอัตราส่วนหลายๆจำนวน
อัตราส่วนหลายๆจำนวน
 
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วนชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
ชุดที่ 1 ความหมายของอัตราส่วน
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วนชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
ชุดที่ 8 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับสัดส่วน
 
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหารชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
ชุดที่ 3 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการหาร
 
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
ชุดที่ 2 การเขียนอัตราส่วนให้เท่ากันโดยใช้หลักการคูณ
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวันบทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
บทที่ 2 ร้อยละในชีวิตประจำวัน
 
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูลทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
ทบทวนก่อนสอบสถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล
 
Learning management plan 4
Learning management plan 4Learning management plan 4
Learning management plan 4
 
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)
แนวข้อสอบใช้สอบท้องถิ่นหรือ ก.พ. และหน่วยงานต่างๆ (เล่มที่ 1/ 3)
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.นบทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
บทที่ 1 ห.ร.ม และ ค.ร.น
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ความน่าจะเป็นเบื้องต้นความน่าจะเป็นเบื้องต้น
ความน่าจะเป็นเบื้องต้น
 
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
หน่วยที่2 ระบบจำนวนเต็ม ม.1
 
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
เตรียมสอบ ภาค ก.เล่มที่ 1
 
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
ข้อสอบ O-net-คณิต-ป.3-ชุด-1
 

Viewers also liked

ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละmakotosuwan
 
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1benz127
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละChanissata Rakkhuamsue
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่thnaporn999
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนInmylove Nupad
 

Viewers also liked (6)

ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง อัตราส่วน ลัดส่วนและร้อยละ
 
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.1
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
Brands math
Brands mathBrands math
Brands math
 
การใช้แผนที่
การใช้แผนที่การใช้แผนที่
การใช้แผนที่
 
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
 

Similar to อัตราส่วนและร้อยละ

สัดส่วน
สัดส่วนสัดส่วน
สัดส่วนkroojaja
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่  1   ใบงานที่  1
ใบงานที่ 1 makotosuwan
 
แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01kroojaja
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนKanlayaratKotaboot
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วนmakotosuwan
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ8752584
 
ปริศนา
ปริศนาปริศนา
ปริศนาstpcr7
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละApirak Potpipit
 

Similar to อัตราส่วนและร้อยละ (9)

สัดส่วน
สัดส่วนสัดส่วน
สัดส่วน
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่  1   ใบงานที่  1
ใบงานที่ 1
 
แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01แบบฝึกหัด01
แบบฝึกหัด01
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 1 การเปรียบเทียบเศษส่วน
 
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วนชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1  เรื่อง อัตราส่วน
ชุดฝึกเสริมทักษะคณิตศาสตร์ชุดที่ 1 เรื่อง อัตราส่วน
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
ม2
ม2ม2
ม2
 
ปริศนา
ปริศนาปริศนา
ปริศนา
 
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
1.ความสัมพันธ์ของเศษส่วน ทศนิยมและร้อยละ
 

More from kroojaja

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2kroojaja
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1kroojaja
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)kroojaja
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)kroojaja
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์kroojaja
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันkroojaja
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01kroojaja
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-mergedkroojaja
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558kroojaja
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560kroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตkroojaja
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 

More from kroojaja (20)

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 2
 
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
ปริภูมิเวกเตอร์ในR ตอนที่ 1
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)ตัวกำหนด(Determinant)
ตัวกำหนด(Determinant)
 
การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์การดำเนินการบนเมทริกซ์
การดำเนินการบนเมทริกซ์
 
ระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสันระบบสมการเชิงเสัน
ระบบสมการเชิงเสัน
 
01real
01real01real
01real
 
Best practice01
Best practice01Best practice01
Best practice01
 
001 converted-merged
001 converted-merged001 converted-merged
001 converted-merged
 
Equal
EqualEqual
Equal
 
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
ข้อสอบกลางวิชาคณิตศาสตร์ ม.2 ฉบับที่ 3 ปี 2558
 
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
เอกสารทบทวนก่อนสอบปลายภาค 60
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560ทบทวนกลางภาค1 2560
ทบทวนกลางภาค1 2560
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิตคู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
คู่มือเยาวชนเรื่องกาชาดและความรู้เพื่อชีวิต
 
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์เกี่ยวกับอัตราส่วนและร้อยละ
 

อัตราส่วนและร้อยละ

  • 1.
  • 2. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้ สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ มาตรฐาน ค 1.1 : เข้าใจถึงความหลากหลายของการแสดงจำนวน และการใช้จำนวนในชีวิตจริง ตัวชี้วัด : ใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วน สัดส่วน และร้อยละใน สถานการณ์ต่างๆ สาระการเรียนรู้ : อัตราส่วน สัดส่วน ร้อยละ และการนำไปใช้ back next home โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 3. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เมนูหลัก แบบทดสอบก่อนเรียน เนื้อหาบทเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ออกจากบทเรียน โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 4. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง เมนูเนื้อหาบทเรียน home อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน อัตราส่วนของจำนวนหลายๆจำนวน สัดส่วน ร้อยละ โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 5.
  • 6. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน อัตราส่วน นิยามให้ a เป็นปริมาณของสิ่งแรกและ b เป็นปริมาณของสิ่งที่สอง เราเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบ ปริมาณของสิ่งแรกและสิ่งที่สองด้วย a: bหรือ (อ่านว่า a ต่อ b) เรียก a ว่าจำนวนแรก หรือจำนวนที่หนึ่ง เรียก b ว่าจำนวนหลัง หรือจำนวนที่สอง home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 7. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง จากรูปที่กำหนดให้ เขียนเป็นอัตราส่วนได้ดังนี้ 1. จำนวนเป็ดต่อจำนวนช้าง เป็น 7 : 2 หรือ 2. จำนวนเป็ดต่อจำนวนนก เป็น 7 : 3 หรือ 3. จำนวนช้างต่อจำนวนนก เป็น 2 : 3 หรือ 4. จำนวนช้างต่อจำนวนเป็ด เป็น 2 : 7 หรือ home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 8. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน อัตรา (rate) คือ ข้อความแสดงการเปรียบเทียบของ ปริมาณต่างชนิดกัน โดยมีหน่วยกำกับอยู่ เช่น ครู 1 คน ดูแลนักเรียน 40 คน , ผู้โดยสาร 1 คน เสียค่าโดยสาร 8 บาท , ซื้อผงซักฟอกห่อละ 92 บาท อัตราส่วน (ratio) หมายถึง ความสัมพันธ์ที่แสดงการ เปรียบเทียบจำนวน สิ่งของสองจำนวน หรือปริมาณสองปริมาณ เช่น อัตราส่วนของจำนวนครูต่อจำนวนนักเรียนเป็น 3 ต่อ 15 หรือ อัตราส่วนของจำนวนนักเรียนต่อจำนวนครูเป็น 15 ต่อ 3 สามารถเขียนแทนด้วย 3 : 15 หรือ 15 : 3 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 9. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ข้อสังเกต ถ้าพิจารณาอัตราส่วนของจำนวนเป็ดต่อจำนวนช้าง เป็น 7: 2 หมายความว่า ถ้ามีเป็ด 7 ตัว จะต้องมีช้าง 2 ตัว อัตราส่วนของจำนวนช้างต่อจำนวนเป็ด เป็น 2 : 7หมายความว่า ถ้ามีช้าง 2 ตัว จะต้องมีเป็ด 7 ตัวแสดงว่า 2 : 7 และ 7 : 2 มีความหมายต่างกัน ดังนั้นถ้า a และ b เป็นปริมาณของสิ่งสองสิ่งใดๆ a : b  b : a ยกเว้น a = b home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 10. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ในการเขียนอัตราส่วนแสดงการเปรียบเทียบสิ่งของ อย่างเดียวกัน แต่ใช้หน่วยต่างกัน เช่น ทอฝันมีเวลาอ่านหนังสือ 8 วัน แต่ปองหวังมีเวลาอ่านหนังสือ 2 สัปดาห์ การเขียน อัตราส่วนเปรียบเทียบจะต้องเขียนหน่วยกำกับไว้ หรือต้อง เปลี่ยนหน่วยของเวลาในการอ่านหนังสือของคนทั้งสองให้เป็น หน่วยเดียวกัน ดังนี้ อัตราส่วนเวลาอ่านหนังสือของทอฝันเป็นวัน ต่อเวลาอ่านหนังสือของปองหวังเป็นสัปดาห์ เป็น 8 : 2 หรือ อัตราส่วนเวลาอ่านหนังสือของทอฝันต่อเวลาอ่านหนังสือของ ปองหวัง เป็น 8 :14 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 11. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่างจงเขียนอัตราและอัตราส่วนแทนข้อความ ที่กำหนดให้ในแต่ละข้อ 1) ชาย 3 คน ทำงานเสร็จใน 5 วันตอบ อัตรา 3 คน ทำงานเสร็จใน 5 วัน อัตราส่วน 3 : 52) หมู 1 ตัว มีน้ำหนัก 210 กิโลกรัมตอบ อัตรา 1 ตัว หนัก 210 กิโลกรัม อัตราส่วน 1 : 210 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 12. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน 3) สุรีย์ขับรถได้ทาง 75 กิโลเมตรในเวลา 45 นาที ตอบ อัตรา 75 กิโลเมตรใช้เวลา 45 นาที อัตราส่วน 75 : 454) สมุด 1 โหล ราคา 108 บาท ตอบ อัตรา 1 โหล ราคา 108 บาท อัตราส่วน 1 : 1085) รถยนต์แต่ละคันบรรทุกปลาได้ 1,500 กิโลกรัมตอบ อัตรา 1 คันบรรทุกได้ 1,500 กิโลกรัม อัตราส่วน 1 : 1,500 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 13. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 1   จงเขียนอัตรา และอัตราส่วนจากข้อความต่อไปนี้ 1. เงาะ 5 กิโลกรัม ราคา 50 บาท 2. ดินสอ 5 แท่ง ราคา 30 บาท 3. หัวใจเต้น 80 ครั้ง ในเวลา 1 นาที 4. ระยะทางในแผนผัง 1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 100 กิโลเมตร 5. กระดาษ 5 แผ่น สำหรับนักเรียน 7 คน ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 14. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1   1.ตอบ อัตรา 5 กิโลกรัม ราคา 50 บาท อัตราส่วน 5 : 502.ตอบ อัตรา 5 แท่ง ราคา 30 บาท อัตราส่วน 5 : 30 3.ตอบ อัตรา 80 ครั้งในเวลา 1 นาที อัตราส่วน 80 : 1 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 15. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 1 (ต่อ)  4.ตอบ อัตรา 1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 100 กิโลเมตร อัตราส่วน 1 : 1005.ตอบ อัตรา 5 แผ่น สำหรับนักเรียน 7 คน อัตราส่วน 5 : 7 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 16. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน การเขียนอัตราส่วนของปริมาณสองปริมาณ ที่มีหน่วยเหมือนกัน อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบของปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยเดียวกัน และมีความชัดเจนว่าเป็น หน่วยของสิ่งใด เช่น น้ำหนัก ปริมาตร เราไม่นิยมเขียนหน่วย กำกับไว้ ตัวอย่าง แป้งมัน 2 กิโลกรัม กับ น้ำตาลทราย 3 กิโลกรัม เนื่องจากมีหน่วยเป็นกิโลกรัมเหมือนกัน การเขียนอัตราส่วนจึงไม่ต้องมีหน่วยกำกับไว้ ดังนี้ อัตราส่วนของแป้งมัน ต่อ น้ำตาลทราย เป็น 2 : 3 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 17. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง ช้าง 3 ตัว กับ ม้า 5 ตัว เนื่องจากมีหน่วยเป็นตัวเหมือนกัน การเขียนอัตราส่วนจึงไม่ต้องมีหน่วยกำกับไว้ ดังนี้ อัตราส่วนของช้าง ต่อ ม้า เป็น 3 : 5 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 18. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 2   ให้พิจารณาอัตราส่วนการทำขนมกลีบลำดวนแล้วตอบคำถาม อัตราส่วนการทำขนมกลีบลำดวน แป้งสาลีอเนกประสงค์ 600 กรัม เกลือป่น 3 กรัม น้ำตาลไอซิ่ง 280 กรัม ผงฟู 7 กรัม น้ำมันถั่วเหลือง 260 กรัม home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 19. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน 1. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง = 3 : 280 2. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 260 : 7 3. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 280 : 3 4. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 600 5. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 280 : 260 6. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 3 7. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 7 : 280 8. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 3 : 600 ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 20. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 2  1. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง 2. อัตราส่วนปริมาณน้ำมันถั่วเหลือง ต่อ ปริมาณผงฟู 3. อัตราส่วนปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง ต่อ ปริมาณเกลือป่น 4. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณแป้งสาลีอเนกประสงค์ 5. อัตราส่วนปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง ต่อ ปริมาณน้ำมันถั่วเหลือง 6. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณเกลือป่น 7. อัตราส่วนปริมาณผงฟู ต่อ ปริมาณน้ำตาลไอซิ่ง 8. อัตราส่วนปริมาณเกลือป่น ต่อ ปริมาณแป้งสาลีอเนกประสงค์ home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 21. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน การเขียนอัตราส่วนของปริมาณสองปริมาณ ที่มีหน่วยต่างกัน อัตราส่วนที่แสดงการเปรียบเทียบปริมาณสองปริมาณที่มีหน่วยต่างกันเราจะเขียนหน่วยกำกับไว้ ตัวอย่าง แม่ซื้อไข่ไก่มา 10 ฟอง ราคา 33 บาท เขียนอัตราส่วนได้ดังนี้ อัตราส่วนจำนวนไข่ไก่ เป็นฟอง ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 10 : 33 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 22. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง พลพลขายเสื้อไป 6 ตัว ราคา 1,500 บาท เขียนอัตราส่วนได้ดังนี้ อัตราส่วนจำนวนเสื้อเป็นตัว ต่อ ราคาเป็นบาท เป็น 6 : 1,500 home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 23. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 3 ให้พิจารณาอัตราส่วนการทำพันช์น้ำดอกอัญชันแล้วตอบคำถาม พันช์น้ำดอกอัญชัน ส่วนผสม 1. น้ำโซดาแช่เย็น 1 ขวด 2. น้ำดอกอัญชัน ครึ่งถ้วย 3. น้ำเชื่อม 6 ช้อนโต๊ะ 4. น้ำผึ้ง 4 ช้อนโต๊ะ 5. น้ำมะนาว สองในสามถ้วย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 24. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน 1. อัตราส่วนน้ำโซดาเป็นขวด ต่อ น้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย= 1 :1/2 2. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 2/3 : 6 3. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 4 : 1 4. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 4 : 6 5. …………………………………………. ต่อ …………………………………. = 1/2 : 3/2 ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 25. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 3  1. อัตราส่วนน้ำโซดาเป็นขวด ต่อ น้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย 2. อัตราส่วนน้ำมะนาวเป็นถ้วย ต่อ น้ำเชื่อมเป็นช้อนโต๊ะ 3. อัตราส่วนน้ำผึ้งเป็นช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำโซดาเป็นขวด 4. อัตราส่วนน้ำผึ้งเป็นช้อนโต๊ะ ต่อ น้ำเชื่อมเป็นช้อนโต๊ะ 5. อัตราส่วนน้ำดอกอัญชันเป็นถ้วย ต่อน้ำมะนาวเป็นถ้วย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 26. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน มาตราส่วน เป็นการนำอัตราส่วนมาใช้ประโยชน์ เนื่องจาก การเขียนรูปแผนที่ แผนผัง ฯลฯ นั้น เราไม่สามารถเขียนให้ ใหญ่เท่าของจริงได้ เราจึงต้องเขียนรูปเป็นแบบย่อส่วน ให้เหมือนของจริงโดยการใช้มาตราส่วน และเขียนมาตราส่วนที่ใช้นั้น กำกับไว้ด้วยเพื่อให้สามารถบอกขนาดที่แท้จริงได้ถูกต้องตัวอย่าง1:50 หมายความว่า ถ้าความยาวในแผนผังเป็น 1 เซนติเมตร ความยาวจริงจะเป็น 50 เซนติเมตร 1 ซม. :4 ม. หมายความว่า ถ้าความยาวในแผนผังเป็น 1 เซนติเมตร ความยาวจริงจะเป็น 4 เมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 27. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน ตัวอย่าง จงหาขนาดแผนผังที่ดินรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีขนาดกว้าง 625 เมตร ยาว 750 เมตร โดยใช้มาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 125 เมตร วิธีทำจากมาตราส่วน 1 เซนติเมตร : 125 เมตร ความกว้างจริง 625 เมตร จะได้ความกว้างบนแผนผัง = = 5เซนติเมตร ความยาวจริง 750 เมตร จะได้ความยาวบนแผนผัง = = 6เซนติเมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 28. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน แบบฝึกหัดที่ 4   จงหาระยะทางจริงจากโจทย์ที่กำหนดต่อไปนี้ 1. ระยะในแผนที่ 1 เซนติเมตร แทนระยะทางจริง 10 กิโลเมตร ถ้าบ้านของนักเรียนคนหนึ่งถึงโรงเรียน มีระยะห่างในแผนที่ 2.8 เซนติเมตร ระยะทางจริงจะเป็นเท่าใด 2. ระยะในแผนผัง 1 เซนติเมตร แทนความยาวจริง 5 เมตร ถ้าวัดระยะห่างของโต๊ะเรียนสองโต๊ะในแผนผังได้ 1.4 เซนติเมตรระยะทางจริงจะเป็นเท่าใด ตรวจดูเฉลย home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง
  • 29. อัตราส่วนและร้อยละ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง อัตราส่วน เฉลยแบบฝึกหัดที่ 4   1. 28 กิโลเมตร 2. 7 เมตร home back next โดย นางสาวจารุวรรณ บุญชลาลัย โรงเรียนสิเกาประชาผดุงวิทย์ จังหวัดตรัง