SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายบุญส่ง สุระเสียง เลขที่ 15
2. นายปฏิพล ชนประเสริฐ เลขที่ 16
3. นางสาวปรมาภรณ์ เขียวอิ่ม เลขที่ 21
4. นางสาวเฉลิมพร สุขเกษม เลขที่ 23
5. นางสาวนภาพร ลีลาส เลขที่ 24
6. นางสาวสุทธาทิพย์ พุ่มทอง เลขที่ 26
7. นางสาวปัทมาพร ลาเภา เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
METHOD คืออะไร
เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา
พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอด
ต่างๆ เหมือนกัน
การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมีวิธีการ
ทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่งย่าม
ก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
โครงสร้างทั่วไปของ METHOD
จากโครงสร้างจะเห็นว่าโปรแกรมหนึ่ง
อาจมีหลาย Class และในหนึ่ง Class จะมี
กี่ Method ก็ได้แต่ใน Class หลัก
(Class ที่มี public นาหน้า) จะต้องมี
main Method เสมอ
ที่มาภาพ : https://boonngeonprapasson.wordpress.com
ประเภทของเมธอด
ประเภทที่ 1 : static method เป็น
เมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการ
สร้างออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น
การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static
method จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ
และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยัง
ผู้ใช้
ประเภทที่ 2 :instance
method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้าง
ขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอดแบบนี้จะไม่มี
คาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อ
จะเรียกใช้method ประเภทนี้
จะต้องมีการสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
ประเภทที่ 3 : constructor
method / constructor คือ
เมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ
ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาส
แล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธ
อดแรก (ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้น
ของการทางาน)
ประเภทที่ 4 : Overloading
method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อ
เดียวกัน แต่มีชนิดของตัวแปรต่างชนิดกัน หรือ
จานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงาน
อาจใช้ชื่องานเดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มี
การส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปร
มาเป็น Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้า
ส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอด
หนึ่ง
ประเภทที่ 5 : Overriding method
คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว
แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่
เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่งอยู่ใน
คลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัว
แปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูกโปรแกรมจะ
ทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ
แนะนาคลาส MATH และเมธอดทางคณิตศาสตร์
การใช้งาน method ที่อยู่ภายใน
Math class จะเป็น Method ที่
เกี่ยวข้องกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง
method เหล่านี้จัดอยู่ในประเภท
“Method ของ Class (Class
Method)” ที่กล่าวมาในข้างต้น ซึ่งแสดง
ตัวอย่างของ method ใน Math Class
ดังภาพ
ตัวอย่างโปรแกรม : การใช้ METHOD
ของ MATH CLASS
OUTPUT:
การส่งค่าอาร์กิวเมนต์ของเมธอด
เราสามารถสร้างเมท็อดที่มีการรับค่าจากผู้เรียกเพื่อ
กาหนดพฤติกรรมการทางานของเมท็อดนั้น ๆ ค่าที่ถูก
ส่งไปนี้เรียกว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) ส่วนเมท็อด
ที่ถูกเรียกจะรับค่าเหล่านี้ผ่านมาทางพารามิเตอร์
(parameter) ซึ่งถูกนิยามไว้ในส่วน
parameter_list ของการประกาศเมท็อด เมท็อดแต่
ละอันสามารถถูกประกาศให้มีพารามิเตอร์ได้ตั้งแต่ศูนย์ตัว
หรือมากกว่า โดยพารามิเตอร์แต่ละตัวจะต้องมีรูปแบบ
ข้อมูลกากับไว้เสมอ และอาร์กิวเมนต์ที่ใช้ในขณะเรียกใช้
งานเมท็อดจะต้องมีรูปแบบข้อมูลที่ตรงกัน
เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ
เป็น method ที่ไม่มีตัวแปร parameter แต่เมื่อสิ้นสุดการทางานของ
method จะทาการ return กลับไปยัง method เมื่อถูกเรียกใช้งาน
ตัวอย่างโปรแกรม : การ return ค่าตัวแปรเพื่อแสดงผลสูตรคูณแม่ 2-3
การส่งค่ากลับแบบบูลีน
เมธอดอีกชนิดหนึ่งที่พบมากในการเขียนโปรแกรมคือ เมธอดที่มีการส่งค่ากลับแบบบูลีน โดยค่าที่ส่งกลับมาจะมีสอง
ค่าเท่านั้น คือ จริง (true) กับเท็จ (false) ซึ่งจะได้คาว่า Boolean ที่ส่วนหัว เมธอดลักษณะนี้มักใช้ในการตรวจสอบ
เงื่อนไขต่างๆ โดยส่งข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบเป็นอาร์กิวเมนต์เข้าไป
ตัวอย่างเช่น : ถ้าหากต้องการตรวจสอบว่าตัวเลขที่กาลังสนใจอยู่ เป็นตัวเลขในช่วง 1 ถึง 100 หรือไม่จะเขียนเมธอดดั้งนี้
ตัวแปรแบบ LOCAL
ตัวแปรที่ประกาศใช้ในเมธอดเรียกว่าตัวแปรแบบท้องถิ่น หรือตัวแปรแบบโลคอล (local
variable) โดยจะใช้ได้เฉพาะสเตตเมนต์ในเมธอดเท่านั้น สเตตเมนต์ต่างๆที่อยู่นอกเมธอดที่
ประกาศตัวแปรนี้จะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรนี้ได้การประการตัวแปรแบบโลคอลนี้ จะทาให้เมธอด
หลายๆเมธอดใช้ชื่อตัวแปรเดียวกันได้
แม้ตัวแปรในเมธอดที่สร้างขึ้นจะมีชื่อเดียวกัน โดยแต่ละเมธอดมีการกาหนดค่าให้กับตัวแปรเป็น
ค่าที่ไม่เท่ากัน ถ้าสังเกตจากผลลัพธ์จะพบว่าตัวแปรทั้งสองไม่เกี่ยวข้องกัน การประกาศตัวแปรแบบโล
คอลนี้ เมื่อเมธอดถูกเรียกใช้มันจะสร้างหน่วยความจาขึ้นมาสาหรับเก็บตัวแปรนั้น แต่เมื่อเมธอด
ทางานเสร็จสิ้นลงหน่วยความจาสาหรับตัวแปรนั้นจะถูกยกเลิกไป
โอเวอร์โหลดเมธอด (OVERLOADING METHOD)
Method ประเภทนี้สามารถรับค่าตัวแปร parameter ได้หลากหลายชนิด
หลักการคือ ต้องสร้าง Method ขึ้นมาใหม่และใช้ชื่อ Method เดียวกัน ถ้าชนิด
ข้อมูลของ Method ต่างกันและชนิดข้อมูลของ parameter ต่างกัน ก็ต้องสร้างชื่อ
method นั้นขึ้นมาใหม่มีประโยชน์ คือ ง่ายต่อการจาชื่อMethod มีข้อเสียคือ ยุ่งยาก
ในเรื่องของค่า Parameter
เมธอด

More Related Content

What's hot

โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tenseโครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ TenseTata Sisira
 
Microword1.2
Microword1.2Microword1.2
Microword1.2saiparnoo
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6I-tem
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)sutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)MSWORD2010 COMPUTER
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ Chitchanok Khanklaew
 

What's hot (7)

โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tenseโครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
โครงงานคอมพิวเตอร์ Tense
 
Microword1.2
Microword1.2Microword1.2
Microword1.2
 
2558 project
2558 project2558 project
2558 project
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 3 3 การแทรกผังงาน (smart art)
 
หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์ หลักการของไวยากรณ์
หลักการของไวยากรณ์
 

Viewers also liked

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2tyt13
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSarocha Makranit
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาPrawwe Papasson
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาJK133
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาAeew Autaporn
 
Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerAppcodev
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Thanachart Numnonda
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง JavaJanë Janejira
 

Viewers also liked (13)

บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม javaบทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
บทที่ 2 เตรียมตัวให้พร้อมก่อนเขียนโปรแกรม java
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Java2
Java2Java2
Java2
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
Basic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developerBasic java need to know for newbie android developer
Basic java need to know for newbie android developer
 
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
Java Programming: การเขียนโปรแกรมภาษาจาวาเชิงอ็อบเจกต์
 
พื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Javaพื้นฐานการสร้าง Java
พื้นฐานการสร้าง Java
 

Similar to เมธอด

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมkengza3999
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศInfinity861
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขwann555
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
Chapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มChapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มTa'Tatpong Nonyaso
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความsutham lrp
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความMSWORD2010 COMPUTER
 

Similar to เมธอด (8)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุขเรื่อง  การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
เรื่อง การดำรงชีวิตอย่างมีความสุข
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
Chapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่มChapter 3 งานกลุ่ม
Chapter 3 งานกลุ่ม
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความงานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
งานนำเสนอ หน่วยที่ 4 เรื่องที่ 2 2 การแทรกกล่องข้อความ
 

More from Sutthathip Jane

เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1
เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1
เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1Sutthathip Jane
 
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swann
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swannโดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swann
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swannSutthathip Jane
 
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Wordแสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร WordSutthathip Jane
 
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft word
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft wordวิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft word
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft wordSutthathip Jane
 
การทำหัวข้อกระดาษ
การทำหัวข้อกระดาษการทำหัวข้อกระดาษ
การทำหัวข้อกระดาษSutthathip Jane
 
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003Sutthathip Jane
 
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsApple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsSutthathip Jane
 
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsApple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsSutthathip Jane
 
วิธีการสร้างผลงาน Animation
วิธีการสร้างผลงาน Animationวิธีการสร้างผลงาน Animation
วิธีการสร้างผลงาน AnimationSutthathip Jane
 
งานคร ทรงศ กด__
งานคร ทรงศ กด__งานคร ทรงศ กด__
งานคร ทรงศ กด__Sutthathip Jane
 

More from Sutthathip Jane (16)

เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1
เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1
เครื่องซักผ้าอัจฉริยะ 1
 
เมธอด
เมธอดเมธอด
เมธอด
 
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swann
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swannโดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swann
โดรนจิ๋ว กล้องแจ๋ว-ของเล่นใหม่ล่าสุดจากทาง-Xtreem-swann
 
Sensor wake
Sensor wakeSensor wake
Sensor wake
 
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Wordแสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
แสดงหมายเลขบรรทัดในเอกสาร Word
 
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft word
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft wordวิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft word
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Microsoft word
 
การทำหัวข้อกระดาษ
การทำหัวข้อกระดาษการทำหัวข้อกระดาษ
การทำหัวข้อกระดาษ
 
‡ Remove background
‡ Remove background‡ Remove background
‡ Remove background
 
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003
วิธีการบันทึกลายน้ำในเอกสาร Ms word 2003
 
Mind
MindMind
Mind
 
It
ItIt
It
 
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsApple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
 
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beatsApple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
Apple ทุ่มเกือบแสนล้าน ซื้อกิจการ beats
 
At
AtAt
At
 
วิธีการสร้างผลงาน Animation
วิธีการสร้างผลงาน Animationวิธีการสร้างผลงาน Animation
วิธีการสร้างผลงาน Animation
 
งานคร ทรงศ กด__
งานคร ทรงศ กด__งานคร ทรงศ กด__
งานคร ทรงศ กด__
 

เมธอด

  • 1. สมาชิกในกลุ่ม 1. นายบุญส่ง สุระเสียง เลขที่ 15 2. นายปฏิพล ชนประเสริฐ เลขที่ 16 3. นางสาวปรมาภรณ์ เขียวอิ่ม เลขที่ 21 4. นางสาวเฉลิมพร สุขเกษม เลขที่ 23 5. นางสาวนภาพร ลีลาส เลขที่ 24 6. นางสาวสุทธาทิพย์ พุ่มทอง เลขที่ 26 7. นางสาวปัทมาพร ลาเภา เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3
  • 2.
  • 3. METHOD คืออะไร เมธอด (Method) คือ ความสามารถในการทางานของออบเจ็กต์ มันถูกสร้างขึ้นมา พร้อมกับการสร้างออบเจ็กต์ ซึ่งออบเจ็กต์ที่สร้างจากคลาสเดียวกันก็จะมีรายการของเมธอด ต่างๆ เหมือนกัน การที่ออบเจ็กต์มีเมธอดจะช่วยให้ผู้ใช้งาน ไม่ต้องกังวล หรือไม่ต้องสนใจว่า จะมีวิธีการ ทางานภายในเมธอดเป็นอย่างไร สนใจเพียงแค่ใช้งานอย่างไร ช่วยให้เมธอดที่มีไม่ถูกยุ่งย่าม ก้าวก่ายโดยไม่จาเป็น
  • 4. โครงสร้างทั่วไปของ METHOD จากโครงสร้างจะเห็นว่าโปรแกรมหนึ่ง อาจมีหลาย Class และในหนึ่ง Class จะมี กี่ Method ก็ได้แต่ใน Class หลัก (Class ที่มี public นาหน้า) จะต้องมี main Method เสมอ ที่มาภาพ : https://boonngeonprapasson.wordpress.com
  • 5. ประเภทของเมธอด ประเภทที่ 1 : static method เป็น เมธอดที่เรียกใช้ตัวแปรได้ทันที ไม่ต้องมีการ สร้างออบเจ็กต์ขึ้นมาเพื่อเรียกใช้ตัวแปร เช่น การคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง static method จะรับค่าที่ผู้ใช้ต้องการคานวณ และทาการคานวณ แล้วส่งผลลัพธ์กลับไปยัง ผู้ใช้
  • 6. ประเภทที่ 2 :instance method เป็นเมธอดทั่วๆ ไปที่สร้าง ขึ้นมาใช้กันบ่อยๆ เมธอดแบบนี้จะไม่มี คาว่า static อยู่ข้างหน้าตัวแปร เมื่อ จะเรียกใช้method ประเภทนี้ จะต้องมีการสร้างออบเจ็กต์ขึ้นมา
  • 7. ประเภทที่ 3 : constructor method / constructor คือ เมธอดที่มีชื่อเดียวกับคลาส ซึ่งเมื่อ ออบเจ็กต์ใดๆ ถูกสร้างขึ้นมาจากคลาส แล้ว เมธอดนี้จะเริ่มทางานทันทีเป็นเมธ อดแรก (ปกติมักจะใช้กาหนดค่าเริ่มต้น ของการทางาน)
  • 8. ประเภทที่ 4 : Overloading method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อ เดียวกัน แต่มีชนิดของตัวแปรต่างชนิดกัน หรือ จานวนอาร์กิวเมนต์ไม่เท่ากัน เพราะงานบางงาน อาจใช้ชื่องานเดียวกัน แต่ต้องมีการแยกแยะว่า มี การส่งค่าตัวแปรชนิดใดมา เช่น ถ้าส่งค่าตัวแปร มาเป็น Integer ก็ให้ทางานในเมธอดหนึ่ง ถ้า ส่งมาเป็น String ก็ให้ทางานในอีกเมธอด หนึ่ง
  • 9. ประเภทที่ 5 : Overriding method คือ เมธอดหลายเมธอดที่มีชื่อเดียวกัน ชนิดของตัว แปรเหมือนกัน แต่เขียนโปรแกรมในลักษณะที่ เมธอดหนึ่งอยู่ในคลาสแม่ อีกเมธอดหนึ่งอยู่ใน คลาสลูก ซึ่งเมื่อมีเมธอดชื่อซ้ากัน รับค่าของตัว แปรเหมือนกันปรากฏในคลาสลูกโปรแกรมจะ ทางานตามคาสั่งในคลาสลูกโดยอัตโนมัติ
  • 10. แนะนาคลาส MATH และเมธอดทางคณิตศาสตร์ การใช้งาน method ที่อยู่ภายใน Math class จะเป็น Method ที่ เกี่ยวข้องกับการคานวณทางคณิตศาสตร์ ซึ่ง method เหล่านี้จัดอยู่ในประเภท “Method ของ Class (Class Method)” ที่กล่าวมาในข้างต้น ซึ่งแสดง ตัวอย่างของ method ใน Math Class ดังภาพ
  • 12. การส่งค่าอาร์กิวเมนต์ของเมธอด เราสามารถสร้างเมท็อดที่มีการรับค่าจากผู้เรียกเพื่อ กาหนดพฤติกรรมการทางานของเมท็อดนั้น ๆ ค่าที่ถูก ส่งไปนี้เรียกว่า อาร์กิวเมนต์ (argument) ส่วนเมท็อด ที่ถูกเรียกจะรับค่าเหล่านี้ผ่านมาทางพารามิเตอร์ (parameter) ซึ่งถูกนิยามไว้ในส่วน parameter_list ของการประกาศเมท็อด เมท็อดแต่ ละอันสามารถถูกประกาศให้มีพารามิเตอร์ได้ตั้งแต่ศูนย์ตัว หรือมากกว่า โดยพารามิเตอร์แต่ละตัวจะต้องมีรูปแบบ ข้อมูลกากับไว้เสมอ และอาร์กิวเมนต์ที่ใช้ในขณะเรียกใช้ งานเมท็อดจะต้องมีรูปแบบข้อมูลที่ตรงกัน
  • 13. เมธอดที่มีการส่งค่ากลับ เป็น method ที่ไม่มีตัวแปร parameter แต่เมื่อสิ้นสุดการทางานของ method จะทาการ return กลับไปยัง method เมื่อถูกเรียกใช้งาน ตัวอย่างโปรแกรม : การ return ค่าตัวแปรเพื่อแสดงผลสูตรคูณแม่ 2-3
  • 14. การส่งค่ากลับแบบบูลีน เมธอดอีกชนิดหนึ่งที่พบมากในการเขียนโปรแกรมคือ เมธอดที่มีการส่งค่ากลับแบบบูลีน โดยค่าที่ส่งกลับมาจะมีสอง ค่าเท่านั้น คือ จริง (true) กับเท็จ (false) ซึ่งจะได้คาว่า Boolean ที่ส่วนหัว เมธอดลักษณะนี้มักใช้ในการตรวจสอบ เงื่อนไขต่างๆ โดยส่งข้อมูลที่ต้องการตรวจสอบเป็นอาร์กิวเมนต์เข้าไป ตัวอย่างเช่น : ถ้าหากต้องการตรวจสอบว่าตัวเลขที่กาลังสนใจอยู่ เป็นตัวเลขในช่วง 1 ถึง 100 หรือไม่จะเขียนเมธอดดั้งนี้
  • 15. ตัวแปรแบบ LOCAL ตัวแปรที่ประกาศใช้ในเมธอดเรียกว่าตัวแปรแบบท้องถิ่น หรือตัวแปรแบบโลคอล (local variable) โดยจะใช้ได้เฉพาะสเตตเมนต์ในเมธอดเท่านั้น สเตตเมนต์ต่างๆที่อยู่นอกเมธอดที่ ประกาศตัวแปรนี้จะไม่สามารถเรียกใช้ตัวแปรนี้ได้การประการตัวแปรแบบโลคอลนี้ จะทาให้เมธอด หลายๆเมธอดใช้ชื่อตัวแปรเดียวกันได้ แม้ตัวแปรในเมธอดที่สร้างขึ้นจะมีชื่อเดียวกัน โดยแต่ละเมธอดมีการกาหนดค่าให้กับตัวแปรเป็น ค่าที่ไม่เท่ากัน ถ้าสังเกตจากผลลัพธ์จะพบว่าตัวแปรทั้งสองไม่เกี่ยวข้องกัน การประกาศตัวแปรแบบโล คอลนี้ เมื่อเมธอดถูกเรียกใช้มันจะสร้างหน่วยความจาขึ้นมาสาหรับเก็บตัวแปรนั้น แต่เมื่อเมธอด ทางานเสร็จสิ้นลงหน่วยความจาสาหรับตัวแปรนั้นจะถูกยกเลิกไป
  • 16. โอเวอร์โหลดเมธอด (OVERLOADING METHOD) Method ประเภทนี้สามารถรับค่าตัวแปร parameter ได้หลากหลายชนิด หลักการคือ ต้องสร้าง Method ขึ้นมาใหม่และใช้ชื่อ Method เดียวกัน ถ้าชนิด ข้อมูลของ Method ต่างกันและชนิดข้อมูลของ parameter ต่างกัน ก็ต้องสร้างชื่อ method นั้นขึ้นมาใหม่มีประโยชน์ คือ ง่ายต่อการจาชื่อMethod มีข้อเสียคือ ยุ่งยาก ในเรื่องของค่า Parameter