SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 40
Descargar para leer sin conexión
1
การพัฒนาเว็บไซต์
ความหมายของเว็บไซต์
อเนก ปิ่นศรี (2552 : 9) กล่าวว่า “เว็บไซต์ หมายถึง แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อ
ประสมต่างๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ เป็นต้น ของแต่ละหน่วยงานบนอินเทอร์เน็ต”
เว็บไซต์สามารถแบ่งได้2ส่วน ได้แก่ (โซนซ่า, 2549 : ไม่ปรากฏหน้า)
1.โฮมเพจ คือข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือหน้าปกของนิตยสาร ดังนั้นโฮมเพจ ควรมีรูปแบบที่
น่าสนใจ สีสันสวยงามมีภาพเคลื่อนไหว และเพลงที่เหมาะสมกับตัวเว็บ แต่เนื่องจากไฟล์เพลงอาจทาให้
โหลดเว็บได้ช้า ดังนั้น ปัจจุบันจึงไม่นิยมใส่เพลง แต่จะใช้ภาพเคลื่อนไหวแทน เพราะเป็นส่วนสาคัญที่จะ
ทาให้ผู้เยี่ยมชมเว็บสนใจในตัวเว็บมากขึ้น ดังภาพที่1
ภาพที่1 ตัวอย่างโฮมเพจของ TOYOTA
ที่มา : http://www.toyota.co.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
2.เว็บเพจ คือรายละเอียดของเว็บแต่ละหน้าต่อๆกันไป เหมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าภายใน
นิตยสารนั่นเอง ในหน้าโฮมเพจจะมีลิงค์เพื่อเชื่อมโยงไปยังหน้านั้นๆด้วย เพื่อความสะดวก รวดเร็ว โยอยู่ใน
รูปแบบไฟล์ HTML ดังภาพที่2
2
ภาพที่2 ตัวอย่างเว็บเพจของ TOYOTA
ที่มา : http://www.toyota.co.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
สรุป เว็บไซต์ หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงผ่านทางไฮเปอร์ลิงค์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้น
เพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ใน www
ความสาคัญของสื่อที่ใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์
สื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ คือ (กระจอกข่าว, 2551 : ไม่ปรากฏหน้า)
1. เพื่อการถ่ายทอดหรือบอกข่าวสารให้แก่ประชาชนได้รับทราบ
2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง
3. เพื่อเป็นการสร้างความนิยมและภาพพจน์ที่ดีขององค์กร
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
1.ความหมายของการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ
วรัท พฤกษากลนันท์ (2548 : ไม่ปรากฎหน้า) กล่าวว่า “การจัดการเรียนผ่านเว็บ มีลักษณะการเรียน
การสอนที่แตกต่างไปจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติที่คุ้นเคยกันดี ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบ
ดั้งเดิมในชั้นเรียนส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เน้นให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนความรู้ให้แก่ผู้เรียนทาให้ผู้เรียนไม่ใฝ่ที่จะ
หาความรู้ เพิ่มเติม
3
การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เว็บช่วยสอนจะมีวิธีการจัดที่แตกต่างไปจากการจัดการเรียนการ
สอนตามปกติ เพราะคุณลักษณะและรูปแบบของเว็บเป็นสื่อที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งแตกต่างไปจาก
การจัดการเรียนการสอนด้วยสื่อแบบอื่น ๆ จึงต้องคานึงถึงการออกแบบระบบการสอนที่สอดคล้องกับ
คุณลักษณะของเว็บ เช่น การสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับครู การสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ที่กระทาได้
แตกต่างไปจากการเรียนการสอนแบบเดิม เช่น การใช้เว็บช่วยสอนสามารถสื่อสารกันได้โดยผ่านเว็บ
โดยตรงในรูปคุยกันในห้องสนทนา(Chat Room) การฝากข้อความบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์หรือกระดาน
ข่าวสาร (Bulletin Board) หรือจะสื่อสารกันโดยผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ก็สามารถกระทาได้
ในระบบนี้ ความเป็นเว็บช่วยสอนจึงไม่ใช่แค่การสร้างเว็บไซต์เนื้อหาวิชาหนึ่งหรือรวบรวมข้อมูลซักเรื่อง
หนึ่งแล้วบอกว่าเป็นเว็บช่วยสอน เว็บช่วยสอนมีความหมายกว้างขวางอันเกิดจากการรวมเอาคุณลักษณะ
ของเว็บ โปรแกรมและเครื่องมือสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ตและการออกแบบระบบการเรียนการสอนเข้า
ด้วยกัน ทาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นอย่างมีความหมายไม่เป็นเพียงแค่แหล่งข้อมูลเท่านั้น (ปรัชญนันท์ นิลสุข
,2543 : 56)
สามารถสรุปหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5 ประการ
ดังนี้ คือ (ครูบ้านนอก, 2552 : ไม่ปรากฏหน้า)
1.1ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อ
สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับ
การเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษา ทั้งยังช่วย
เสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้ง
ซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่านอินเทอร์เน็ตจากผู้สอน ผู้เรียน
เมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ต กลับไปยังอาจารย์ผู้สอน
หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอนสามารถตรวจและให้คะแนนพร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอัน
รวดเร็วหรือในทันทีทันใด
1.2การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความ
ร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียว ทั้งยังสร้าง
ความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด เป็นการพัฒนาการ
แก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับความคิดเห็นของคนอื่นมาประกอบเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด ผู้เรียนที่
เรียนผ่านเว็บแม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่
เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทันทีทันใด เช่น
4
การใช้บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปจนถึงผู้เรียน
ที่เป็นกลุ่มใหญ่
1.3ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยงการกากับ
ให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เองโดยการ
แนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการจัดการ
เรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูล
ได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้
1.4การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถของตน
อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ
สามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่
ละคนจะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้ากันก็ตาม
1.5ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ใฝ่หาความรู้ การเรียน
การสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุกๆคนที่สนใจศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทาง
ไปเรียน ณ ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอน
ผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง 5 ประการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
การเรียนการสอนผ่านเว็บได้มีการดาเนินการอย่างจริงจังทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม ประเทศ
ทางซีกโลกตะวันตก สาหรับวงการการศึกษาในประเทศไทยเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงจากเป็นเพียงผู้รับข้อมูล
และสังเกตการณ์การเรียนการสอนบนเครือข่ายเป็นความพยายามในการจัดการเรียนการสอนและใช้
เครื่องมือบนเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเสริมในชั้นเรียนปกติ และบางมหาวิทยาลัยที่ดาเนินการเรียนการสอน
แบบทางไกลกาลังดาเนินการที่จะสร้างชั้นเรียนเสมือนให้เกิดขึ้นจริง การดาเนินการเรียนการสอนผ่านเว็บมี
รายละเอียดดังต่อไปนี้ (ใจทิพย์ณ สงขลา, 2542 : 67-68)
1.1ความพร้อมของเครื่องมือและทักษะการใช้งานเบื้องต้น ความไม่พร้อมของเครื่องมือและ การ
ขาดทักษะทางเทคนิคที่จาเป็นในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมเป็นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดความ สับสน
และผลทางลบต่อทัศนคติของผู้ใช้ จากการศึกษาการนาเทคโนโลยีเครือข่ายมาใช้พบว่าผู้ใช้ที่ ไม่มีความ
พร้อมทางทักษะการใช้จะพยายามแก้ปัญหาและศึกษาเรื่องของเทคนิค มากกว่าจากัด ความสนใจอยู่ที่เนื้อหา
นอกจากนั้น
5
1.2การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารและผู้ใช้เช่นเดียวกับการนาเทคโนโลยีอื่นเข้าสู่องค์กรต้องอาศัย
การสนับสนุนอย่างจริงจังจากฝ่ายบริหาร ทั้งในการสนับสนุนด้านเครื่องมือและนโยบายส่งเสริมการใช้
เครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การกาหนดการใช้เครื่องมือดังกล่าวจึงไม่สามารถเป็นไป
ในลักษณะแนวดิ่ง (Top down) โดยการกาหนดจากฝ่ายบริหารเพียงฝ่ายเดียว แต่ต้องเป็นการประสานจากทั้ง
สองฝ่ายคือฝ่ายบริหารและผู้ใช้จะต้องมีการประสานจากแนวล่างขึ้นบน ผู้ใช้จะต้องมีทัศนะที่ยอมรับการใช้
สื่อดังกล่าวเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ฝ่ายบริหารสามารถสร้างนโยบายที่กระตุ้นแรงจูงใจของผู้ใช้ เช่น
สร้างแรงจูงใจจากภายในของผู้ใช้ให้รู้สึกถึงความท้าทายและประโยชน์ที่จะได้รับหรือสร้างแรงจูงใจจาก
ภายนอก เช่น สร้างเงื่อนไขผลตอบแทนพิเศษทั้งในรูปนามธรรมและรูปธรรม
1.3การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบตั้งรับ (Passive) โดยพึ่งพิงการป้ อนจาก
ครูผู้สอนมาเป็นพฤติกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กล่าวคือ เป็นผู้เรียน
ที่เรียนรู้วิธีการเรียน (Learning How to learn) เป็นผู้เรียนที่กระตือรือร้นและมีทักษะที่สามารถเลือกรับข้อมูล
วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีระบบนั้น ผู้สอนจะต้องสร้างวุฒิทางการเรียนให้เกิดกับผู้เรียนก่อน
กล่าวคือจะต้องเตรียมการให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการเลือกสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์
ในการเรียนผ่านเครือข่ายทักษะดังกล่าว ได้แก่ ทักษะการอ่านเขียน ทักษะในเชิงภาษา ทักษะในการอภิปราย
และที่จาเป็นคือ ทักษะในการควบคุมตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
1.4บทบาทของผู้สอนในการเรียนการสอนบนเครือข่าย จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่บทบาทที่
เอื้อต่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยในเบื้องต้นจะเป็นบทบาทผู้นาเพื่อสนับสนุนกลุ่มและ
วัฒนธรรมการเรียนรู้บนเครือข่าย ผู้สอนต้องใช้เวลามากไปกว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียนธรรมดา
1.5การสร้างความจาเป็นในการใช้ ผู้สอนที่จะนาการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายมาใช้ควรคานึงถึง
ความจาเป็นและผลประโยชน์ที่ต้องการจากกิจกรรมบนเครือข่าย ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดรูปแบบการใช้ว่า
ผู้สอนเพียงต้องการใช้เครือข่ายเพื่อเสริมการเรียนหรือเป็นการศึกษาทางไกล ผู้สอนต้องสร้างสภาวะให้ผู้ใช้
มีความจาเป็นที่ต้องใช้เช่น การส่งผ่านข้อมูลที่จาเป็นทางการเรียนให้กับผู้ใช้ผ่านทางเครือข่ายหรือสร้าง
แรงจูงใจที่เป็นผลประโยชน์ทางการเรียนให้กับผู้ใช้
1.6ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์ของความเป็นเครือข่ายอย่างสูงสุด
และเหมาะสมวิธีออกแบบการเรียนการสอนควรต้องพัฒนาให้เข้ากับคุณสมบัติความเป็นคอมพิวเตอร์
เครือข่ายซึ่งมีความแตกต่างจากการออกแบบสาหรับโปรแกรมช่วยสอนในคอมพิวเตอร์ทั่วไป
นอกเหนือจากเนื้อหาบทเรียนที่ผู้สร้างเสนอส่งผ่านเครือข่าย ผู้สอนสามารถสร้างการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล
6
อื่นที่สนับสนุนเนื้อหาหลักที่ผู้สอนสร้างเป็นการแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษา ทั้งนี้เนื้อหาและการ
เชื่อมโยง ควรจะต้องปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลาและควรจะต้องมีการจัดกิจกรรมการปฏิสัมพันธ์ให้
ผู้เรียนได้ประโยชน์จากการศึกษาร่วมกับผู้อื่น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้น ผู้สอนและผู้เรียนจะต้อง
มีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้าไว้กับเครื่อง
คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเครือข่าย (File Server) และเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเว็บ (Web
Server) อาจเป็นเป็นการเชื่อมโดยระยะใกล้หรือเชื่อมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการสื่อสารและ
อินเทอร์เน็ต
2.ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ
ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บมีมากมายหลายประการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ
การนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้ (สุริยันต์ เงาะ
เศษ, 2549 :34-35)
2.1 การสอนบนเว็บเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียน
ได้เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต้องการ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางาน หรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียน
สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้การที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่กาหนดไว้
จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดเกี่ยวกับเวลา และสถานที่ศึกษาของผู้เรียนเป็นอย่างดี
2.2การสอนบนเว็บยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ใน
สถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย์ ครูผู้สอน
ซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศก็ตาม
2.3การสอนบนเว็บนี้ ยังช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็น
แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่าง
ต่อเนื่องและตลอดเวลาการสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้รวมทั้งมีทักษะในการ
ตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-cognitive Skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.4การสอนบนเว็บ ช่วยทลายกาแพงของห้องเรียนและเปลี่ยนจากห้องเรียน 4 เหลี่ยมไปสู่โลก
กว้างแห่งการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ
สนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบในความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิดการ
เรียนรู้ตามบริบทในโลกแห่งความเป็นจริง(Contextualization) และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based
Learning) ตามแนวคิดแบบConstructivism
7
2.5การสอนบนเว็บเป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากที่เว็บได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้า
ข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา การสอนบนเว็บช่วย
แก้ปัญหาของข้อจากัดของแหล่งค้นคว้าแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก่ ปัญหาทรัพยากรการศึกษาที่มีอยู่
จากัดและเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและเป็นจานวนมาก รวมทั้งการที่
เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของไฮเปอร์มิเดีย (สื่อหลายมิติ) ซึ่งทาให้การค้นหาทาได้สะดวกและง่ายดาย
กว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม
2.6การสอนบนเว็บจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บที่
เอื้ออานวยให้เกิดการศึกษา ในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา โดยไม่
จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริง ตัวอย่างเช่น การให้ผู้เรียนร่วมมือกันในการทากิจกรรมต่าง ๆ บนเครือข่าย
การให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว้บนเว็บบอร์ดหรือการให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้ามา
พบปะกับผู้เรียนคนอื่น ๆ อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันที่ห้องสนทนา เป็นต้น
2.7การสอนบนเว็บเอื้อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการเปิดปฏิสัมพันธ์นี้อาจทาได้ 2 รูปแบบ คือ
ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกันและ/หรือผู้สอน ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ ซึ่ง
ลักษณะแรกนี้จะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน ส่วนในลักษณะหลังนั้น
จะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้จัดหาไว้ให้แก่ผู้เรียน
2.8การสอนบนเว็บยังเป็นการเปิดโอกาสสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ทั้งใน
และนอกสถาบันจากในประเทศและต่างประเทศทั่วโลก โดยผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาขอข้อมูล
ต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม
นอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเมื่อเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะเดิม ๆ
2.9การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตน สู่สายตาผู้อื่นอย่างง่ายดาย
ทั้งนี้ไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อนๆ ในชั้นเรียนหากแต่เป็นบุคคลทั่วไปทั่วโลกได้ ดังนั้นจึงถือเป็นการสร้าง
แรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหนึ่งสาหรับผู้เรียน ผู้เรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม่ให้เสีย
ชื่อเสียงตนเองนอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นเพื่อนามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น
2.10การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร ให้ทันสมัยได้อย่าง
สะดวกสบายเนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ( Dynamic ) ดังนั้นผู้สอนสามารถอัพเดตเนื้อหา
หลักสูตรที่ทันสมัยแก่ผู้เรียนได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่
8
เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทาให้เนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิมและเปลี่ยนแปลง
ไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ การสอนบนเว็บสามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย
ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน์ ภาพ 3 มิติ โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบ
ของการนาเสนอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน
ความสาคัญของสีที่มีต่อการออกแบบเว็บไซต์
สีเป็นองค์ประกอบที่มีความละเอียดซับซ้อน และต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการผสมผสานความ
แตกต่างของสี ให้สามารถเข้ากันได้อย่างลงตัว โดยสามารถสรุปความสาคัญในการเลือกใช้สีเพื่อการ
ออกแบบเว็บ ได้ดังนี้ (เสถียร พลวงศ์, 2549 :ไม่ปรากฏหน้า)
1.การดึงดูดความสนใจของผู้เยี่ยมชม เนื่องจากสิ่งแรกที่มองเห็นได้จากเว็บคือ สี ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วย
กาหนดบรรยากาศ และความรู้สึกโดยรวมของเว็บไซต์ ดังภาพที่3
ภาพที่3 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้โทนสีหลักและโทนสีตรงกันข้ามในการนาเสนอข้อมูล
ที่มา : http://www.miniusa.com/#/MINIUSA.COM-m ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556
2.การนาสีมาใช้กับองค์ประกอบต่างๆของเว็บเพจ เนื่องจากในหน้าเว็บมีข้อมูลปริมาณมาก
ผู้ออกแบบมักใช้โทนสีในการจัดกลุ่มข้อมูล เช่น ตัวอักษร รูปภาพ ลิงค์ และพื้นหลัง เป็นต้น เพื่อความ
สะดวกต่อการเข้าใช้งานของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ ดังภาพที่4
9
ภาพที่4 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้โทนสีในการจัดกลุ่มข้อมูล
ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556
3.การเชื่อมโยงองค์ประกอบหน้าเว็บเข้าด้วยกัน ผู้ออกแบบสามารถใช้การไล่ระดับสีหรือโทนสี
เพื่อเชื่อมโยงองค์ประกอบแต่ละส่วนไว้ด้วยกัน ให้หน้าเว็บมรความเป็นเอกภาพได้ ดังภาพที่5
ภาพที่5 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้การไล่ระดับโทนสี
ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556
4.การสร้างอารมณ์และความรู้สึก การเลือกใช้สีแต่ละสี ล้วนมีผลต่อความรู้สึกของผู้เยี่ยมชม
เว็บไซต์ เช่น สีแดงกระตุ้นให้เกดความสนใจ อยากรู้ มีชีวิตชีวา หรือสีดา กระคุ้นให้เกิดความน่าลึกลับ น่า
ค้นหา เป็นต้น
5.การสร้างสัญลักษณ์หรือเป็ นตัวแทนขององค์กร ส่วนใหญ่องค์กรขนาดใหญ่จะมีการสร้าง
สัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนขององค์กร ทั้งนี้อาจอยู่ในรูปแบบเครื่องหมายการค้าหรือสีสันต่างๆ ที่ผู้เยี่ยมชม
เว็บไซต์มองเห็นแล้วทราบทันทีว่าเป็นสัญลักษณ์องค์กรใด โดยใช้สีประจาองค์กรมาใช้ร่วมกับการ
ออกแบบหน้าเว็บ เช่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช สีประจามหาวิทยาลัยคือ สีเขียวกับสีทอง ดังภาพ
ที่6
10
ภาพที่6 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้สีประจาองค์กรร่วมกับการออกแบบองค์ประกอบหน้าเว็บ
ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556
อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้สีในการออกแบบเว็บเพจนั้น หากเลือกใช้สีไม่เหมาะสมอาจสร้างความ
ลาบากในการอ่านหรือรบกวนสายตาผู้เยี่ยมชม รวมทั้งอาจทาให้การสื่อความหมายไม่ถูกต้อง การเลือกใช้สี
ต่างๆนั้น ต้องเข้าใจถึงการแสดงผลของเว็บเพจในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน
รูปแบบของตัวอักษรบนเว็บไซต์
การเลือกชนิดของตัวอักษรเพื่อใช้งานบนเว็บไซต์ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น เนื้อหาที่
ต้องการนาเสนอ การจัดวางองค์ประกอบ การปรับแต่งอัตราส่วน และการจัดสมดุลในเว็บเพจ เป็นต้น ซึ่ง
ต้องหลักศิลปะและการใช้เทคโนโลยีควบคู่กัน เพื่อสร้างความน่าสนใจ กลุ่มตัวอักษรที่นิยมใช้งานบน
เว็บไซต์ สามารถแบ่งออกได้เป็น7กลุ่ม ดังนี้ (สกายเวฟ โซลูชั่นส์, 2550 :ไม่ปรากฏหน้า)
1.กลุ่มตัวอักษรประเภทSerif
เป็นกลุ่มตัวอักษรแบบลายเส้นตกแต่งขนาดเล็กที่เพิ่มขึ้นที่ส่วนปลายของเส้นหลัก คือ มีส่วนของ
ลายเส้นตกแต่งติดกับส่วนต้นและส่วนท้ายของตัวอักษร โดยตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Times New
Roman, Garamond, Georgia, Minion และ Rockwell ซึ่งส่วนใหญ่ตัวอักษรประเภทนี้จะใช้ในส่วนที่เป็น
รายละเอียดเนื้อหา ดังภาพที่7
11
ภาพที่7 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภทSerif
2.กลุ่มตัวอักษรประเภทSans Serif
เป็นกลุ่มอักษรที่ไม่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร โดยตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Arial,
Helvetica, Verdana และUnivers ซึ่งตัวอักษรประเภทนี้ เหมาะที่จะใช้กับหัวข้อหรือตัวอักษรขนาดใหญ่ แต่
ไม่นิยมใช้เป็นตัวเอียง เนื่องจากจะทาให้รูปร่างของตัวอักษรเปลี่ยนแปลงไปมาก ตัวอักษรประเภทนี้ได้รับ
ความนิยมในการออกแบบเป็นอย่างมาก เนื่องจากดูเรียบง่ายและทันสมัย ดังภาพที่8
ภาพที่8 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Sans Serif
3.กลุ่มตัวอักษรประเภทMonospace
เป็นกลุ่มอักษรที่มีลายเส้นตกแต่งขนาดเล็กเพิ่มขึ้นที่ส่วนปลายของเส้นหลัก คือ มีส่วนของ
ลายเส้นติดกับส่วนต้นหรือส่วนท้ายของตัวอักษรเช่นเดียวกันกับกลุ่ม Serif แต่แตกต่างกันที่มีลักษณะของ
ลายเส้นแบบโค้งมน ตัวอักษรอยู่มนกลุ่มนี้ ได้แก่ ตัวอักษรชนิด Monaco และ Courier ดังภาพที่9
12
ภาพที่9 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Monospace
4.กลุ่มตัวอักษรประเภท Cursive
เป็นกลุ่มตัวอักษรที่ไม่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร มีลักษณะโค้งมนทั้งตัวอักษร และดูเป็น
ศิลปะ ตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ตัวอักษรชนิด Comic Sans, Zapf Ghancery และZapfino ไม่นิยมใช้ใน
ส่วนรายละเอียดเนื้อหาของเว็บเพจ แต่อาจใช้ในส่วนของหัวข้อ เพื่อแสดงความโดดเด่น และให้ดุน่าสนใจ
ยิ่งขึ้น ดังภาพที่10
ภาพที่10 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Cursive
5.กลุ่มตัวอักษรประเภท Fantasy
เป็นตัวอักษรที่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร และมีลักษณะคล้ายกับงานศิลปะคล้ายกับกลุ่ม
Cursive เพียงแต่ความอ่อนช้อยจะมีมากกว่า ประกอบด้วยตัวอักษรชนิด Desdemona, Playbll และ
Herculanum ดังภาพที่11
ภาพที่11 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Fantasy
13
6.กลุ่มตัวอักษรประเภท Script
เป็นตัวอักษรที่ประยุกต์มาจากตัวเขียน แต่มีความแตกต่างกันตรงที่มีความประณีต และลักษณะ
การประดิษฐ์ตัวอักษรมีความสวยงามกว่าตัวเขียนทั่วไป และมีการเขียนที่ต่อเนื่องกัน ซึ่งจะให้ความรู้สึกที่
ไม่เป็นทางการ อิสระ เส้นลายของตัวอักษรให้ความสนุกสนาน ไร้กฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว ดังภาพที่12
ภาพที่12 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Script
7.กลุ่มตัวอักษรประเภท Text Letters
หรือเรียกว่า ตัวอาลักษณ์ เป็นตัวอักษรที่มีลักษณะคล้ายกับตัวพิมพ์ เพียงแต่จะสวยงามและ
ประณีตกว่า เหมาะกับงานราชการ เนื่องจากทาให้ดุน่าเชื่อถือ ดังภาพที่13
ภาพที่13 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Text Letters
การวางแผนเพื่อการออกแบบเว็บไซต์
เว็บไซต์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมอย่างมากบนอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้งานเว็บไซต์สามารถตัดสินใจได้ว่า
จะเลือกเยี่ยมชมเว็บไซต์ใดหรือไม่เยี่ยมชมเว็บไซต์ใดได้ตามต้องการ ถ้าผู้ใช้เห็นว่าเว็บไซต์ที่กาลังเยี่ยมชม
อยู่นั้นไม่มีประโยชน์ หรือไม่เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ใช้งานอย่างไร เนื่องจากใช้งานได้ไม่สะดวก ผู้ใช้อาจ
เปลี่ยนไปเยี่ยมชมเว็บไซต์อื่นๆได้ เนื่องจากปัจจุบันมีเว็บไซต์ต่างๆอยู่จานวนมาก และยังมีเว็บไซต์เกิดขึ้น
ใหม่ๆทุกวัน ผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบคุณภาพของเว็บไซต์ต่างๆได้เอง
(ฐิติรัศญาณ์ แก่นเพชร, 2551 : 6-9)
14
เว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานที่สะดวก ย่อมได้รับความสนใจมากกว่า
เว็บไซต์ที่มีความสับสนวุ่นวาย มีข้อมูลมากมายแต่หาสาระสาคัญไม่พบ หรือใช้เวลาในการแสดงผลแต่ละ
หน้านานเกินไป ปัญหาเหล่านี้ล้วนมาจากการออกแบบเว็บไซต์ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้นการออกแบบเว็บไซต์จึง
เป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างเว็บไซต์ให้ประทับใจผู้ใช้ ทาให้ผู้ใช้อยากกลับเข้ามาในเว็บไซต์เดิมอีก
ในอนาคต ซึ่งนอกจากต้องพัฒนาเว็บไซต์ที่ดีมีประโยชน์แล้ว ยังต้องคานึงถึงการแข่งขันกับเว็บไซต์อื่นๆอีก
ด้วย (วนิจศรา อุ่นผา, 2548 : 37)
1.ข้อควรคานึงในการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว แต่เกี่ยวข้อง
ตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้ าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชั่น
การออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี การจัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้อง
คานึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์ด้วย ซึ่งได้แก่ ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์ ขนาด
ของหน้าจอ ความละเอียดของสีในระบบ รวมไปถึงเครื่องมืออานวยความสะดวกในการใช้งาน (plug-in)
ชนิดต่างๆที่ผู้ใช้มีอยู่ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกและพอใจที่จะท่องไปในเว็บไซต์นั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่าง
ในเว็บไซต์ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ล้วนเป็นมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ทั้งสิ้น เว็บไซต์ที่ดู
สวยงามและมีลูกเล่นมากมายนั้น อาจจะไม่นับว่าเป็นการออกแบบที่ดีก็ได้ ถ้าความสวยงามและลูกเล่น
เหล่านั้น ไม่เหมาะสมกับภาพลักษณ์ของเว็บไซต์
ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นเรื่องยากที่จะระบุว่าการออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นเป็นอย่างไร เนื่องจากไม่มี
หลักเกณฑ์แน่นอนที่จะใช้ได้กับทุกเว็บไซต์ แนวทางการออกแบบบางอย่างที่เหมาะสม กับเว็บไซต์หนึ่ง
อาจจะไม่เหมาะสมกับอีกเว็บไซต์หนึ่งก็ได้ ทาให้แนวทางการออกแบบของแต่ละเว็บไซต์นั้น แตกต่างกัน
ไปตามเป้ าหมายและลักษณะของเว็บไซต์นั้น เว็บไซต์บางแห่งอาจต้องการนาเสนอความสนุกสนานหรือ
ความบันเทิง ในขณะที่เว็บไซต์อื่นกลับต้องการนาเสนอเนื้อหาที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือเป็นหลัก ดังนั้นการ
ออกแบบเว็บไซต์โดยรวม ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ (วิราวรรณ ธันธา, 2550 : 35)
1.1ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือ
ภาพที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย ดังภาพที่14
15
ภาพที่14 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เรียบง่าย
ที่มา www.google.com ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
1.2ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดเว็บไซต์ เช่นรูปแบบของกราฟิก ระบบเนวิ
เกชั่นและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ ดังภาพที่15
ภาพที่15 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีความสม่าเสมอ
ที่มา : http://www.livingbykarit.com ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
1.3ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะขององค์กร เพราะรูปแบบของ
เว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการจะต้องดู
น่าเชื่อถือ ดังภาพที่16 เป็นเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของ
มหาวิทยาลัย
16
ภาพที่16 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์
ที่มา : www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
1.4เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและ
ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่
ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ ดังภาพที่17 ซึ่งเป็นเว็บไซต์การเรียนการสอน
ภาพที่17 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์
ที่มา : http://course.stou.ac.th/atutor/content.php?cid=8066 ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
(Atuter ชุดวิชา10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร)
1.5ระบบเนวิเกชั่นที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ
ความหมายร่วมคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการสม่าเสมอ เช่นวางไว้ที่ตาแหน่งเดียวกัน
ของทุกหน้า ดังภาพที่18
17
ภาพที่18 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีระบบเนวิเกชั่นที่ใช้งานง่าย
ที่มา : http://www.qsnce.co.th/default.asp ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
1.6ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบ
ต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่สมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน
ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล ดังภาพที่19
ภาพที่19 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีลักษณะน่าสนใจ
ที่มา : http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/index.html ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
1.7การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเว็บไซต์โดยใช้เบราว์เซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งในการ
เข้าถึงเนื้อหา และสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างกัน
1.8คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ และถูกต้อง บ่งบอก
ถึงคุณภาพ และความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์
1.9ลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมี
ความแน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
18
ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า การออกแบบที่ดี คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับเป้ าหมายและลักษณะของ
เว็บไซต์ โดยคานึงถึงความสะดวกของผู้ใช้เป็นหลัก
2.ขั้นตอนการวางแผนเพื่อการออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ประเภทใด ล้วนแต่มีการวางแผนเพื่อการออกแบบ
เว็บไซต์ที่คล้ายๆกัน ได้แก่ (วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร, 2549 :ไม่ปรากฏหน้า)
2.1การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะมีการกาหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน ผู้
เข้าชมเว็บไซต์ต้องการข้อเท็จจริง เมื่อเข้าชมแล้วจะพยายามค้นหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ต้องการ เว็บไซต์ที่
มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จะทาให้ผู้เข้าชมยอมรับเว็บไซต์โดยง่าย เช่น ข้อมูลเพื่อการศึกษาจะให้ข้อมูลด้าน
การศึกษาอย่างชัดเจน ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมส่วนใหญ่จะเป็นนักศึกษาหรือผู้สนในในการศึกษาหลากหลาย
สาขาวิชา เป็นต้น การกาหนดวัตถุประสงค์เว็บไซต์ที่ชัดเจนก่อนการสร้างเว็บไซต์ จะทาให้ผู้สร้างเว็บไซต์
มั่นใจได้ว่าเว็บไซต์จะประสบผลสาเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คาถามแรกในการตั้งวัตถุประสงค์
คือ ทาไมต้องการสร้างเว็บไซต์นี้ วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่ของการสร้างเว็บไซต์เพื่อ
2.1.1เพื่อให้บริการ
2.1.2เพื่อขายสินค้า
2.1.3เพื่อแสดงข้อมูลในหัวข้อต่างๆ
2.1.4เพื่อประกาศหรือประชาสัมพันธ์
2.1.5เพื่อแนะนาตัวเอง(เจ้าของเว็บไซต์)
2.1.6เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชน
2.1.7เพื่อเผยแพร่ข่าวสารที่มีความเฉพาะเจาะจง
การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์อาจเป็นเรื่องปกติทั่วไป แต่การสร้างวัตถุประสงค์ให้มี
เอกลักษณ์ที่โดดเด่นเป็นเรื่องยาก เช่น ถ้าจะสร้างเว็บไซต์ให้บริการจะต้องให้ข้อมูลทางการตลาดและ
เนื้อหาส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรเข้าใจหลักการในการกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ในกรณีที่จะให้บริการ
ด้วย ต้องยึดมั่นในวัตถุประสงค์ เช่น บางเว็บไซต์จะมีข้อความบอกพันธกิจของเว็บไซต์หรือหน้าเว็บเพจที่
19
อธิบายวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ บอกว่าเว็บไซต์นี้เกี่ยวกับอะไร มีวัตถุประสงค์อย่างไร คาดว่าผู้เยี่ยมชม
เว็บไซต์จะได้รับอะไรบ้าง สิ่งเหล่านี้เป็นวิธีการที่จะสามารถเชื่อมโยงให้ผุ้เข้าชมเว็บไซต์ได้เข้าใจ
วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ที่สร้างขึ้น เมื่อผู้เยี่ยมชมเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้ใช้แล้วก็จะสามารถตอบข้อสงสัย
ต่างๆได้
2.2การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย ผู้ที่จะออกแบบเว็บไซต์จะต้องคานึงถึงผู้ที่จะเข้าชมเว็บไซต์ว่าเป็น
กลุ่มเป้ าหมายที่สาคัญ ดังนั้นก่อนที่จะออกแบบเว็บไซต์จะต้องวิเคราะห์กลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์ให้ชัดเจน
ว่าต้องการให้ใครมาเยี่ยมชม โดยดูวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ ว่าเว็บไซต์นั้นๆมีการถ่ายทอดอะไรกับผู้เยี่ยม
ชมเว็บไซต์ก็จะทราบว่ากลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์คือกลุ่มใด สิ่งสาคัญที่ผู้ออกแบบเว็บไซต์ต้องตระหนัก
คือการพัฒนาเว็บไซต์ ต้องคานึงว่าใครเป็นผู้อ่านข้อมูลเหล่านี้ ภาพและเสียงที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย
เป็นอย่างไร คาสาคัญที่จะจูงใจกับกลุ่มเป้ าหมายคืออะไร สิ่งเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันกับกลุ่มเป้ าหมาย
ซึ่งมีความสาคัญยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ เพื่อที่จะทาให้กลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์เข้าใจความหมายได้
ตรงกัน หมายความว่าถ้ากลุ่มเป้ าหมายเป็นผู้หญิงแล้วปรากฏว่ามีผู้ชายเข้ามาในเว็บไซต์ อ่านข้อความเหล่านี้
ก็จะไม่เป็นประโยชน์สาหรับผู้ชาย ดังนั้น การออกแบบเว็บไซต์ควรวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของวัตถุประสงค์
ในการออกแบบเว็บไซต์ ก็จะทราบว่า ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ชนิดใด ก็ล้วนจะมีการติดต่อสื่อสารกับผู้ที่เข้าชม
เว็บไซต์ทั้งสิ้น ดังนั้นจึงควรออกแบบในการสื่อสารกับกลุ่มเป้ าหมายไว้ตั้งแต่ตอนเริ่มต้น การออกแบบเว็บ
ไวต์จะประสบผลสาเร็จถ้ามีปฏิสัมพันธ์กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ให้ตรงตามความต้องการของผู้เข้าชม การ
สัมภาษณ์หรือการสารวจผู้เข้าชมเว็บไซต์ จะช่วยให้ผู้ออกแบบเว็บไซต์เข้าใจความต้องการของผู้เข้าชม และ
สามารถนาความต้องการต่างๆเหล่านั้นมาปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้
2.3การวางแผนด้านเนื้อหา การออกแบบเว็บไซต์จะต้องมีการวางแผนให้ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น
เพราะถ้าหากมีการวางแผนด้านเนื้อหาไม่ดี จะทาให้เว็บไซต์ไม่เป็นระเบียบ ส่งผลให้ผู้เข้าชมเว็บไซต์เกิด
ความสับสน การวางแผนด้านเนื้อหาควรตอบคาถามด้านต่างๆให้ได้ เช่น ใครเป็นผุ้รับผิดชอบเนื้อหา มีการ
บันทึกข้อมูลไว้ที่ใด รูปแบบแฟ้ มข้อมูลเป็นแบบใด ควรตั้งชื่อเนื้อหาอย่างไร การติดตามแกะรอยทาได้
อย่างไร สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องตระหนักถึงอย่างมาก หากมองข้ามสิ่งเหล่านี้จะทาให้การจัดการกับ
เนื้อหาจานวนมากที่จะเพิ่มขึ้นในภายหลังนั้นได้ยาก จึงควรวางแผนเนื้อหาต่างๆเป็นลาดับ จัดการ
แฟ้ มข้อมูลอย่างมีตรรกะ เมื่อผู้ออกแบบเว็บไซต์ตัดสินใจให้มีการไหลของข้อมูลก็ควรจัดการให้เป็น
ขั้นตอน โดยต้องมั่นใจว่ามีทิศทางที่ถูกต้อง และตั้งชื่อแฟ้ มให้สอดคล้องกับเนื้อหา ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง
จากนั้นจะเป็นการเก็บแฟ้มต่างๆ
20
การสร้างแผนผังของเนื้อหาจะทาให้เราทราบว่า มีจานวนเว็บเพจที่เกี่ยวข้องปริมาณเท่านั้น หาก
เป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่ มีเว็บเพจจานวนมาก ควรมีการจัดกลุ่มของเนื้อหาทั้งหมดที่ความสัมพันธ์กันเป็น
กลุ่มๆ เช่น การศึกษา กีฬา บันเทิง เป็นต้น ควรทาบัญชีกลุ่มเนื้อหาต่างๆ รวมทั้งเนื้อหาย่อยๆของแต่ละกลุ่ม
ให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด โดยการวาดภาพโครงร่างเนื้อหา ดังภาพที่20 การทาโครงร่างเนื้อหาเช่นนี้ จะ
ช่วยให้ผู้ออกแบบเห็นภาพรวมของการไหลของเนื้อหาและเข้าใจกระบวนการไหลของเนื้อหา ว่าเมื่อเข้าไป
ที่เนื้อหานี้จะพบเนื้อหาย่อยๆอย่างไรบ้าง
ภาพที่20 ตัวอย่างการสร้างแผนผังของเนื้อหา
ที่มา : http://buildinternet.com/2009/10/how-to-plan-a -content-heavy-site/ ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
2.4การวางแผนโครงสร้างของเว็บไซต์ ในที่นี้ขออธิบายตามระบบการจัดการเนื้อหา(Content
Management System : CMS) ในการสร้างและจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ที่ได้ออกแบบไว้ประกอบด้วย การ
สร้างเนื้อหา(creation) การปรับปรุงเนื้อหา(updating) การกระจายเนื้อหา(distribution) การตีพิมพ์เนื้อหา
(publishing) การค้นหาเนื้อหา(discovery) CMS เปิดทางให้ผู้ใช้งานสามารถตีพิมพ์ได้หลายลักษณะ เช่น ข่าว
การประกาศ กรณีศึกษา ประวัติบุคคล บทความ หนังสือพิมพ์ ข้อมูลสินค้า หนังสือรับรอง ลิงค์ที่สาคัญ
แหล่งข้อมูลออนไลน์ รวมทั้งการดาวน์โหลด CMSจะให้สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลเป็นลาดับขั้น โดยCMSมี
คุณลักษณะ ดังนี้
2.1.1สามารถสร้างและบริหารจัดการเว็บเพจได้
2.1.2lมารถควบคุมระบบเนวิเกชั่นและเนื้อหาจานวนมากของเว็บไซต์ได้
2.1.3สามารถให้ผู้ใช้ควบคุมเนื้อหาได้ตามผู้ดูแลระบบวางโครงสร้างให้
2.1.4สามารถบริหารจัดการแผนผังเว็บไซต์และเตรียมการปรับปรุงแก้ไข HTML
21
2.1.5สามารถเขียนกระทู้บนเว็บไซต์และสามารถเขียนความพึงพอใจ จัดหมวดหมู่ของกระทู้ได้
2.1.6มีระบบรักษาความปลอดภัย
2.1.7สามารถลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา
2.1.8สามารถจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ โดยไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับภาษา HTML
2.5การวางแผนการผลิตเว็บเพจ ควรเข้าใจหลักการของเว็บไซต์ก่อนว่า เว็บไซต์เปรียบเสมือน
การไหลของข้อมูล ซึ่งจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้รับข้อมูลอย่างเป็นลาดับ ขั้นตอน ถ้าหากผู้สร้าง
เว็บไซต์ไม่มีการวางแผน เว็บไซต์ก็จะเริ่มต้นไม่ถูก ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นจากตรงไหนดี ที่สาคัญที่สุดคือควร
ออกแบบให้ง่ายที่สุด และรวดเร็วที่สุดสาหรับผู้ใช้งานหรือผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์
2.6การวางแผนระบบเนวิเกชั่น เป็นการนาแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์จากการวางแผนเว็บไซต์ มา
วางแผนระบบเนวิเกชั่น ดังภาพที่21
ภาพที่21 ตัวอย่างการวางแผนระบบเนวิเกชั่น
ที่มา : http://creately.com/examples/website-navigation-plan ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556
ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์และนาเว็บไซต์เข้าสู่ระบบ www ให้บุคคลอื่นเข้ามาเยี่ยมชมได้นั้น
กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์สามารถจาแนกได้3ขั้นตอน ดังนี้ (ประไพ ศรีสะอาด, 2549 : 22-26)
1.การเตรียมการและการวางแผนงาน(pre-production)
22
เปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะชี้นาทางหรือบ่งบอกให้ผู้พัฒนาเว็บไซต์ทราบว่า ควรจะต้องเดินทางไป
ในทิศทางใด ซึ่งขั้นตอนนี้จะประกอบด้วย การเตรียมก่อนการดาเนินการ การวางแผนการดาเนินการ
รวมทั้งการรวบรวมและวิเคราะห์โครงสร้าง
1.1การเตรียมก่อนการดาเนินการ ประกอบด้วย
1.1.1กาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจน ว่าเว็บไซต์
ต้องการนาเสนอสิ่งใด มีวัตถุประสงค์อย่างไร โดยวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์สามารถจาแนกได้หลากหลาย
ประเภท ได้แก่ เว็บไซต์ส่วนบุคคล เว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลสาหรับบริษัท/ห้างร้าน/องค์กรต่างๆ/สถาบัน/
โรงเรียน เว็บไซต์เพื่อการทาธุรกรรมค้าขาย เว็บไซต์เพื่อการโฆษณารายการสินค้า เว็บไซต์เพื่อการศึกษา
ทางไกล เว็บไซต์เพื่อศูนย์รวมและช่องทางนาไปสู่แหล่งข้อมูลอื่น เว็บไซต์เพื่อเป็นศูนย์รวมชุมชนคน
ออนไลน์ และเว็บแอพลิเคชั่นเพื่อการใช้งานเฉพาะทาง ทั้งนี้การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ จะมีผล
ต่อการกาหนดโครงสร้างรูปแบบ รวมถึงหน้าตา และสีสันของเว็บไซต์ด้วย
1.1.2กาหนดชื่อเว็บไซต์ และชื่อยูอาร์แอล
1.1.3กาหนดกลุ่มเป้ าหมายที่จะให้เข้าชมเว็บไซต์ เพื่อจะได้ทราบว่าผู้ที่จะเข้าชมเว็บคือใคร จะ
ได้ดาเนินการออกแบบและดาเนินการจัดทาเว็บไซต์ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการผู้ชมกลุ่มนั้นได้ทาก
ที่สุด
1.1.4ศึกษากลุ่มคู่แข่ง เพื่อจะได้ทราบว่า คู่แข่งของเว็บที่จะพัฒนาคือใคร จะได้ศึกษาแนว
ทางการออกแบบ และการดาเนินดารของคู่แข่ง เพื่อเป็นตัวอย่างหรือแนวทางในการออกแบบและ
ดาเนินการในการจัดทาเว็บไซต์ต่อไป
1.2การวางแผนการดาเนินการ หลังการเตรียมก่อนการดาเนินการ ควรมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า
เพื่อให้การพัฒนาเว็บไซต์มีแนวทางที่ชัดเจน
1.3การรวบรวมและวิเคราะห์โครงสร้าง เป็นขั้นตอนที่ต่อจากการวางแผนการดาเนินการ
เนื่องจากเนื้อหาและข้อมูลเป็นสิ่งที่เชิญชวนให้ผู้อื่นเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ ฉะนั้น ขั้นตอนนี้จึงเป็นการ
23
รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นในการสร้างเว็บเพจตามหัวข้อที่กาหนดไว้ เพื่อจะได้ทราบว่า จาเป็นต้องใช้ข้อมูล
อะไร จากแหล่งใดบ้าง
2.การทางานจริงในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ(on- production) แบ่งได้เป็น2ส่วน คือ
2.1การออกแบบเว็บเพจ นับเป็นขั้นตอนในการออกแบบรูปร่าง โครงสร้างและลักษณะทางด้าน
กราฟิกทางหน้าเว็บเพจ โดยโปรแกรมที่นิยมนามาใช้ในการออกแบบคือ โฟโต้ชอป หรือ ไฟล์เวิร์ก ซึ่งจะ
ช่วยในการสร้างเค้าโครงของหน้าเว็บและองค์ประกอบต่างๆ เช่น ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ รูปไอคอน
ภาพเคลื่อนไหว แบรนเนอร์โฆษณา เป็นต้น
สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงในการออกแบบและคานึงถึงในการสร้างเว็บเพจ คือวัตถุประสงค์ในการ
จัดทาเว็บไซต์ และเป้ าหมายของกลุ่มผู้เข้าชม เว็บเบราว์เซอร์ที่ใช้แสดงผลเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ทาการ
กาหนดรูปแบบและลักษณะเว็บเพจ ได้แก่ ขนาดของหน้าเว็บเพจ และลักษณะการวางองค์ประกอบของ
เว็บไซต์ให้สวยงามและแสดงผลได้เร็ว รวมทั้ง ควรกาหนดและวางโครงร่างของเว็บเพจ ทั้งในส่วนของ
จานวนเว็บเพจ และเนื้อหาในแต่ละเว็บเพจ เป็นแผนผังเว็บไซต์ออกมาบนกระดาษ
2.2การพัฒนาเว็บเพจ หลังจากออกแบบโครงร่างของเว็บเพจและแต่ละหน้าเว็บเพจแล้ว ขั้นตอน
ต่อไปคือ การดาเนินการสร้างเว็บเพจ ซึ่งรวมถึงการจัดหาองค์ประกอบที่ต้องนามาใช้ เช่น สื่อมัลติมีเดีย
ภาพกราฟิก แบบฟอร์มต่างๆ และการสร้างไฟล์รูปภาพ/เสียง ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ซึ่งต้องคานึงถึงรูปแบบ
ของไฟล์ที่นามาใช้และสอดคล้องกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาด้วย จากนั้นนาภาพและเสียงมาเก็บไว้ใน
ไดเร็กทอรี่หรือโฟลเดอร์ที่กาหนดไว้แล้วนาข้อมูลทั้งหมดที่รวบรวมไว้จากที่กล่าวมาข้างต้น มาสร้างเป็น
เว็บไซต์ด้วยภาษา HTML หรือเครื่องมือในการสร้างเว็บเพจอื่นตามแนวคิดที่ได้ออกแบบไว้แล้ว ซึ่งรวมถึง
การเขียนโปรแกรมสคริปต์ในการใช้งานด้วย
3.การสรุปงานเพื่อส่งมอบ(post- production) ประกอบด้วย
3.1การทดสอบและปรับปรุงเว็บไซต์ หมายถึง การทดสอบเว็บเพจที่สร้างขึ้นแบบออฟไลน์ โดย
ยังไม่ได้มีการนาเว็บไซต์เข้าสู่อินเทอร์เน็ต แต่ก็สามารถแสดงผลได้เหมือนจริงผ่านเว็บเบราว์เซอร์ เช่น ใช้
โปรแกรมอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ ตรวจสอบตัวอย่างเว็บเพจหน้าต่างๆที่สร้างไว้ เช่น ขนาดตัวอักษร
ขนาดรูปภาพ เสียง การใช้สี ตาราง เป็นต้น ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมกับทาการแก้ไขปรับปรุงจน
เป็นที่น่าพอใจ
24
3.2การเผยแพร่เว็บไซต์ เมื่อทดสอบเว็บไซต์จนสมบูรณ์แล้ว ขั้นตอนในการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์
คือ การเผยแพร่ให้คนทั่วไปได้รู้จัก หรือเรียกว่าการนาเว็บไซต์ขึ้นเซิร์ฟเวอร์ หรือการอัพโหลด ซึ่งเป็นการ
ถ่ายโอนเว็บเพจและส่วนประกอบอื่น เช่น ไฟล์ภาพ ไฟล์เพลงประกอบ เป็นต้น ไปฝากไว้ที่โฮสต์ โดย
เจ้าของเว็บอาจต้องจดทะเบียนโดเมนเนม และเช่าพื้นที่โฮสต์จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Internet Service
Provider : ISP) รายใดรายหนึ่ง เมื่อเลือกโฮสต์ได้แล้ว ขั้นต่อไปก็เป็นการถ่ายโอนเว็บเพจไปฝากไว้ที่โฮสต์
ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ซอฟต์แวร์ถ่ายโอนข้อมูลเป็นเครื่องมือ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เรียกว่า ซอฟต์แวร์เอฟทีพี
ไคลเอนด์(FTP client) ผู้พัฒนาก็สามารถนาเว็บเพจอัพโหลดขึ้นสู่อินเทอร์เน็ตและประชาสัมพันธ์ให้คน
ทั่วไปได้รู้จักได้ ซึ่งการทาให้คนทั่วไปรับรู้และใช้บริการเว็บไซต์ได้มากนั้น จาเป็ นต้องมีการ
ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและใช้ระยะเวลาพอสมควร ซึ่งอาจทาโดยมีป้ ายโฆษณาประชาสัมพันธ์
ออนไลน์ในหน้าเว็บไซต์อื่นๆ หรือการแลกเปลี่ยนป้ ายโฆษณาระหว่างกัน การโฆษณาผ่านเครื่องมือค้นหา
การโฆษณาผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การตลาดแบบไวรัล ซึ่งคล้ายกับกลยุทธ์การบอกแบบปากต่อปาก
หากแต่เป็นการประชาสัมพันธ์โดยสื่อประเภทเครือข่ายสังคมที่มีอยู่ และควรมีการเก็บสถิติของผู้เข้าชมด้วย
ก็สามารถทาให้ประเมินได้ว่า เว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นนั้นได้รับความสนใจมากน้อยเพียงใด
3.3การบารุงรักษาเว็บไซต์ เป็นการปรับปรุงเนื้อหา ภาพประกอบ หรือการปรับปรุงเว็บไซต์ให้
เป็นปัจจุบัน ซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญ เพราะในโลกอินเทอร์เน็ตมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอยู่
ตลอดเวลา ผู้เข้าชมเว็บมักใช้เวลาในการค้นหาและเปิ ดผ่านเว็บไซต์ต่างๆอย่างรวดเร็ว หากพบว่าเว็บไซต์ที่
ผู้สร้างนาเสนอไม่ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือมีข้อมูลใหม่ๆเพิ่มขึ้นเลย ผู้เข้าชมเว็บก็อาจลดจานวน
ลงเรื่อยๆ จนกลายเป็นเว็บที่ไม่มีคนเข้ามาเยี่ยมชมเลยหรือเป็นเว็บที่ตายแล้ว
ดังนั้น การปรับปรุงเว็บไซต์อยู่เสมอ โดยมีการเพิ่มข้อมูลข่าวสารใหม่ๆอยู่เป็นประจา ก็จะทาให้
เว็บไซต์ทันสมัย มีผู้ชมเข้าชมเป็นประจาและมากขึ้น จนพัฒนาเป็นเว็บไซต์ยอดนิยมได้ในที่สุด
การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์
1.ความหมายของโครงสร้างเว็บไซต์
ประสาน จันทะคาม(2552 :12) กล่าวว่า “การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการ
จัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจ
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานChamp Wachwittayakhang
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Royphim Namsongwong
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5siriyakorn saratho
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ StoryboardKrongkaew kumpet
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานSirilag Maknaka
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 

La actualidad más candente (20)

บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
บทที่ 3 บทที่ 4 และบทที่ 5
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
03 บทที่ 3-วิธีดำเนินงานโครงงาน
 
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
การเขียนสตอรี่บอร์ด (Storyboard)
 
การทำ Storyboard
การทำ  Storyboardการทำ  Storyboard
การทำ Storyboard
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงานสรุปผลการดำเนินโครงงาน
สรุปผลการดำเนินโครงงาน
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Destacado

ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์Bank Sangsudta
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลNawanan Theera-Ampornpunt
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ JoomlaJatupon Panjoi
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไรkrudaojar
 
ความหมายของ CMS
ความหมายของ CMSความหมายของ CMS
ความหมายของ CMSwirat pimpa
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไรwirat pimpa
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 

Destacado (9)

ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
ทฤษฎีการออกแบบเว็บไซต์
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล (June 9, 2016)
 
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาลระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
คู่มือ Joomla
คู่มือ Joomlaคู่มือ Joomla
คู่มือ Joomla
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
 
ความหมายของ CMS
ความหมายของ CMSความหมายของ CMS
ความหมายของ CMS
 
Joomla คืออะไร
Joomla คืออะไรJoomla คืออะไร
Joomla คืออะไร
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 

Más de Ta'May Pimkanok

ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1Ta'May Pimkanok
 
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
เว็บไซต์
เว็บไซต์เว็บไซต์
เว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์Ced9 การออกแบบเว็บไซต์
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์Ta'May Pimkanok
 

Más de Ta'May Pimkanok (7)

ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์1
 
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
ความรู้การออกแบบเว็บไซต์
 
เว็บไซต์
เว็บไซต์เว็บไซต์
เว็บไซต์
 
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์Ced9 การออกแบบเว็บไซต์
Ced9 การออกแบบเว็บไซต์
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 
วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์วิเคราะห์เว็บไซต์
วิเคราะห์เว็บไซต์
 
การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์การออกแบบเว็บไซต์
การออกแบบเว็บไซต์
 

การพัฒนาเว็บไซต์

  • 1. 1 การพัฒนาเว็บไซต์ ความหมายของเว็บไซต์ อเนก ปิ่นศรี (2552 : 9) กล่าวว่า “เว็บไซต์ หมายถึง แหล่งที่เก็บรวบรวมข้อมูลเอกสารและสื่อ ประสมต่างๆ เช่น ภาพ เสียง ข้อความ เป็นต้น ของแต่ละหน่วยงานบนอินเทอร์เน็ต” เว็บไซต์สามารถแบ่งได้2ส่วน ได้แก่ (โซนซ่า, 2549 : ไม่ปรากฏหน้า) 1.โฮมเพจ คือข้อมูลหน้าแรกของเว็บไซต์ หรือหน้าปกของนิตยสาร ดังนั้นโฮมเพจ ควรมีรูปแบบที่ น่าสนใจ สีสันสวยงามมีภาพเคลื่อนไหว และเพลงที่เหมาะสมกับตัวเว็บ แต่เนื่องจากไฟล์เพลงอาจทาให้ โหลดเว็บได้ช้า ดังนั้น ปัจจุบันจึงไม่นิยมใส่เพลง แต่จะใช้ภาพเคลื่อนไหวแทน เพราะเป็นส่วนสาคัญที่จะ ทาให้ผู้เยี่ยมชมเว็บสนใจในตัวเว็บมากขึ้น ดังภาพที่1 ภาพที่1 ตัวอย่างโฮมเพจของ TOYOTA ที่มา : http://www.toyota.co.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 2.เว็บเพจ คือรายละเอียดของเว็บแต่ละหน้าต่อๆกันไป เหมือนหน้ากระดาษแต่ละหน้าภายใน นิตยสารนั่นเอง ในหน้าโฮมเพจจะมีลิงค์เพื่อเชื่อมโยงไปยังหน้านั้นๆด้วย เพื่อความสะดวก รวดเร็ว โยอยู่ใน รูปแบบไฟล์ HTML ดังภาพที่2
  • 2. 2 ภาพที่2 ตัวอย่างเว็บเพจของ TOYOTA ที่มา : http://www.toyota.co.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 สรุป เว็บไซต์ หมายถึง หน้าเว็บเพจหลายหน้า ซึ่งเชื่อมโยงผ่านทางไฮเปอร์ลิงค์ ส่วนใหญ่จัดทาขึ้น เพื่อนาเสนอข้อมูลผ่านคอมพิวเตอร์ โดยถูกจัดเก็บไว้ใน www ความสาคัญของสื่อที่ใช้เพื่อการประชาสัมพันธ์ สื่อที่ใช้ในการประชาสัมพันธ์มีความสาคัญ คือ (กระจอกข่าว, 2551 : ไม่ปรากฏหน้า) 1. เพื่อการถ่ายทอดหรือบอกข่าวสารให้แก่ประชาชนได้รับทราบ 2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง 3. เพื่อเป็นการสร้างความนิยมและภาพพจน์ที่ดีขององค์กร การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ 1.ความหมายของการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ วรัท พฤกษากลนันท์ (2548 : ไม่ปรากฎหน้า) กล่าวว่า “การจัดการเรียนผ่านเว็บ มีลักษณะการเรียน การสอนที่แตกต่างไปจากการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติที่คุ้นเคยกันดี ซึ่งการจัดการเรียนการสอนแบบ ดั้งเดิมในชั้นเรียนส่วนใหญ่จะมีลักษณะที่เน้นให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนความรู้ให้แก่ผู้เรียนทาให้ผู้เรียนไม่ใฝ่ที่จะ หาความรู้ เพิ่มเติม
  • 3. 3 การจัดการเรียนการสอนโดยการใช้เว็บช่วยสอนจะมีวิธีการจัดที่แตกต่างไปจากการจัดการเรียนการ สอนตามปกติ เพราะคุณลักษณะและรูปแบบของเว็บเป็นสื่อที่มีลักษณะเฉพาะของตนเอง ซึ่งแตกต่างไปจาก การจัดการเรียนการสอนด้วยสื่อแบบอื่น ๆ จึงต้องคานึงถึงการออกแบบระบบการสอนที่สอดคล้องกับ คุณลักษณะของเว็บ เช่น การสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับครู การสื่อสารระหว่างผู้เรียนกับผู้เรียน ที่กระทาได้ แตกต่างไปจากการเรียนการสอนแบบเดิม เช่น การใช้เว็บช่วยสอนสามารถสื่อสารกันได้โดยผ่านเว็บ โดยตรงในรูปคุยกันในห้องสนทนา(Chat Room) การฝากข้อความบนกระดานอิเล็กทรอนิกส์หรือกระดาน ข่าวสาร (Bulletin Board) หรือจะสื่อสารกันโดยผ่านไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (e-mail) ก็สามารถกระทาได้ ในระบบนี้ ความเป็นเว็บช่วยสอนจึงไม่ใช่แค่การสร้างเว็บไซต์เนื้อหาวิชาหนึ่งหรือรวบรวมข้อมูลซักเรื่อง หนึ่งแล้วบอกว่าเป็นเว็บช่วยสอน เว็บช่วยสอนมีความหมายกว้างขวางอันเกิดจากการรวมเอาคุณลักษณะ ของเว็บ โปรแกรมและเครื่องมือสื่อสารในระบบอินเทอร์เน็ตและการออกแบบระบบการเรียนการสอนเข้า ด้วยกัน ทาให้เกิดการเรียนรู้ขึ้นอย่างมีความหมายไม่เป็นเพียงแค่แหล่งข้อมูลเท่านั้น (ปรัชญนันท์ นิลสุข ,2543 : 56) สามารถสรุปหลักการพื้นฐานของการจัดการเรียนการสอนกับการเรียนการสอนผ่านเว็บ 5 ประการ ดังนี้ คือ (ครูบ้านนอก, 2552 : ไม่ปรากฏหน้า) 1.1ในการจัดการเรียนการสอนโดยทั่วไปแล้ว ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนและผู้สอนสามารถติดต่อ สื่อสารกันได้ตลอดเวลา การติดต่อระหว่างผู้เรียนและผู้สอนมีส่วนสาคัญในการสร้างความกระตือรือร้นกับ การเรียนการสอน โดยผู้สอนสามารถให้ความช่วยเหลือผู้เรียนได้ตลอดเวลาในขณะกาลังศึกษา ทั้งยังช่วย เสริมสร้างความคิดและความเข้าใจ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บสามารถสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมทั้ง ซักถามข้อข้องใจกับผู้สอนได้โดยทันทีทันใด เช่น การมอบหมายงานส่งผ่านอินเทอร์เน็ตจากผู้สอน ผู้เรียน เมื่อได้รับมอบหมายก็จะสามารถทางานที่ได้รับมอบหมายและส่งผ่านอินเทอร์เน็ต กลับไปยังอาจารย์ผู้สอน หลังจากนั้นอาจารย์ผู้สอนสามารถตรวจและให้คะแนนพร้อมทั้งส่งผลย้อนกลับไปยังผู้เรียนได้ในเวลาอัน รวดเร็วหรือในทันทีทันใด 1.2การจัดการเรียนการสอนควรสนับสนุนให้มีการพัฒนาความร่วมมือระหว่างผู้เรียน ความ ร่วมมือระหว่างกลุ่มผู้เรียนจะช่วยพัฒนาความคิดความเข้าใจได้ดีกว่าการทางานคนเดียว ทั้งยังสร้าง ความสัมพันธ์เป็นทีมโดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด เป็นการพัฒนาการ แก้ไขปัญหาการเรียนรู้และการยอมรับความคิดเห็นของคนอื่นมาประกอบเพื่อหาแนวทางที่ดีที่สุด ผู้เรียนที่ เรียนผ่านเว็บแม้ว่าจะเรียนจากคอมพิวเตอร์ที่อยู่กันคนละที่ แต่ด้วยความสามารถของเครือข่ายอินเทอร์เน็ตที่ เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกไว้ด้วยกัน ทาให้ผู้เรียนสามารถติดต่อสื่อสารกันได้ทันทีทันใด เช่น
  • 4. 4 การใช้บริการสนทนาแบบออนไลน์ที่สนับสนุนให้ผู้เรียนติดต่อสื่อสารกันได้ตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปจนถึงผู้เรียน ที่เป็นกลุ่มใหญ่ 1.3ควรสนับสนุนให้ผู้เรียนรู้จักแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง (Active Learners) หลีกเลี่ยงการกากับ ให้ผู้สอนเป็นผู้ป้ อนข้อมูลหรือคาตอบ ผู้เรียนควรเป็นผู้ขวนขวายใฝ่หาข้อมูลองค์ความรู้ต่างๆ เองโดยการ แนะนาของผู้สอน เป็นที่ทราบดีอยู่แล้วว่าอินเทอร์เน็ตเป็นแหล่งข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ดังนั้นการจัดการ เรียนการสอนผ่านเว็บนี้ จะช่วยให้ผู้เรียนสามารถหาข้อมูลได้ด้วยความสะดวกและรวดเร็ว ทั้งยังหาข้อมูล ได้จากแหล่งข้อมูลทั่วโลกเป็นการสร้างความกระตือรือร้นในการใฝ่หาความรู้ 1.4การให้ผลย้อนกลับแก่ผู้เรียนโดยทันทีทันใดช่วยให้ผู้เรียนได้ทราบถึงความสามารถของตน อีกทั้งยังช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับแนวทางวิธีการหรือพฤติกรรมให้ถูกต้องได้ ผู้เรียนที่เรียนผ่านเว็บ สามารถได้รับผลย้อนกลับจากทั้งผู้สอนเองหรือแม้กระทั่งจากผู้เรียนคนอื่นๆ ได้ทันทีทันใด แม้ว่าผู้เรียนแต่ ละคนจะไม่ได้นั่งเรียนในชั้นเรียนแบบเผชิญหน้ากันก็ตาม 1.5ควรสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่ไม่มีขีดจากัด สาหรับบุคคลที่ใฝ่หาความรู้ การเรียน การสอนผ่านเว็บเป็นการขยายโอกาสให้กับทุกๆคนที่สนใจศึกษา เนื่องจากผู้เรียนไม่จาเป็นจะต้องเดินทาง ไปเรียน ณ ที่ใดที่หนึ่ง ผู้ที่สนใจสามารถเรียนได้ด้วยตนเองในเวลาที่สะดวก จะเห็นได้ว่าการเรียนการสอน ผ่านเว็บนี้มีคุณลักษณะที่ช่วยสนับสนุนหลักพื้นฐานการจัดการเรียนการสอนทั้ง 5 ประการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ การเรียนการสอนผ่านเว็บได้มีการดาเนินการอย่างจริงจังทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม ประเทศ ทางซีกโลกตะวันตก สาหรับวงการการศึกษาในประเทศไทยเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงจากเป็นเพียงผู้รับข้อมูล และสังเกตการณ์การเรียนการสอนบนเครือข่ายเป็นความพยายามในการจัดการเรียนการสอนและใช้ เครื่องมือบนเครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเสริมในชั้นเรียนปกติ และบางมหาวิทยาลัยที่ดาเนินการเรียนการสอน แบบทางไกลกาลังดาเนินการที่จะสร้างชั้นเรียนเสมือนให้เกิดขึ้นจริง การดาเนินการเรียนการสอนผ่านเว็บมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ (ใจทิพย์ณ สงขลา, 2542 : 67-68) 1.1ความพร้อมของเครื่องมือและทักษะการใช้งานเบื้องต้น ความไม่พร้อมของเครื่องมือและ การ ขาดทักษะทางเทคนิคที่จาเป็นในการใช้เครื่องมือหรือโปรแกรมเป็นสาเหตุสาคัญที่ก่อให้เกิดความ สับสน และผลทางลบต่อทัศนคติของผู้ใช้ จากการศึกษาการนาเทคโนโลยีเครือข่ายมาใช้พบว่าผู้ใช้ที่ ไม่มีความ พร้อมทางทักษะการใช้จะพยายามแก้ปัญหาและศึกษาเรื่องของเทคนิค มากกว่าจากัด ความสนใจอยู่ที่เนื้อหา นอกจากนั้น
  • 5. 5 1.2การสนับสนุนจากฝ่ายบริหารและผู้ใช้เช่นเดียวกับการนาเทคโนโลยีอื่นเข้าสู่องค์กรต้องอาศัย การสนับสนุนอย่างจริงจังจากฝ่ายบริหาร ทั้งในการสนับสนุนด้านเครื่องมือและนโยบายส่งเสริมการใช้ เครือข่ายเวิลด์ไวด์เว็บเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา การกาหนดการใช้เครื่องมือดังกล่าวจึงไม่สามารถเป็นไป ในลักษณะแนวดิ่ง (Top down) โดยการกาหนดจากฝ่ายบริหารเพียงฝ่ายเดียว แต่ต้องเป็นการประสานจากทั้ง สองฝ่ายคือฝ่ายบริหารและผู้ใช้จะต้องมีการประสานจากแนวล่างขึ้นบน ผู้ใช้จะต้องมีทัศนะที่ยอมรับการใช้ สื่อดังกล่าวเพื่อประโยชน์ทางการศึกษา ฝ่ายบริหารสามารถสร้างนโยบายที่กระตุ้นแรงจูงใจของผู้ใช้ เช่น สร้างแรงจูงใจจากภายในของผู้ใช้ให้รู้สึกถึงความท้าทายและประโยชน์ที่จะได้รับหรือสร้างแรงจูงใจจาก ภายนอก เช่น สร้างเงื่อนไขผลตอบแทนพิเศษทั้งในรูปนามธรรมและรูปธรรม 1.3การเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เรียนจากการเรียนรู้แบบตั้งรับ (Passive) โดยพึ่งพิงการป้ อนจาก ครูผู้สอนมาเป็นพฤติกรรมการเรียนที่สอดคล้องกับการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง กล่าวคือ เป็นผู้เรียน ที่เรียนรู้วิธีการเรียน (Learning How to learn) เป็นผู้เรียนที่กระตือรือร้นและมีทักษะที่สามารถเลือกรับข้อมูล วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูลได้อย่างมีระบบนั้น ผู้สอนจะต้องสร้างวุฒิทางการเรียนให้เกิดกับผู้เรียนก่อน กล่าวคือจะต้องเตรียมการให้ผู้เรียนพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็นต่อการเลือกสรร วิเคราะห์และสังเคราะห์ ในการเรียนผ่านเครือข่ายทักษะดังกล่าว ได้แก่ ทักษะการอ่านเขียน ทักษะในเชิงภาษา ทักษะในการอภิปราย และที่จาเป็นคือ ทักษะในการควบคุมตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง 1.4บทบาทของผู้สอนในการเรียนการสอนบนเครือข่าย จะต้องมีการเปลี่ยนแปลงไปสู่บทบาทที่ เอื้อต่อการเรียนการสอนที่ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง โดยในเบื้องต้นจะเป็นบทบาทผู้นาเพื่อสนับสนุนกลุ่มและ วัฒนธรรมการเรียนรู้บนเครือข่าย ผู้สอนต้องใช้เวลามากไปกว่าการเรียนการสอนในชั้นเรียนธรรมดา 1.5การสร้างความจาเป็นในการใช้ ผู้สอนที่จะนาการเรียนการสอนผ่านเครือข่ายมาใช้ควรคานึงถึง ความจาเป็นและผลประโยชน์ที่ต้องการจากกิจกรรมบนเครือข่าย ซึ่งจะเป็นตัวกาหนดรูปแบบการใช้ว่า ผู้สอนเพียงต้องการใช้เครือข่ายเพื่อเสริมการเรียนหรือเป็นการศึกษาทางไกล ผู้สอนต้องสร้างสภาวะให้ผู้ใช้ มีความจาเป็นที่ต้องใช้เช่น การส่งผ่านข้อมูลที่จาเป็นทางการเรียนให้กับผู้ใช้ผ่านทางเครือข่ายหรือสร้าง แรงจูงใจที่เป็นผลประโยชน์ทางการเรียนให้กับผู้ใช้ 1.6ผู้สอนต้องออกแบบการเรียนการสอนและใช้ประโยชน์ของความเป็นเครือข่ายอย่างสูงสุด และเหมาะสมวิธีออกแบบการเรียนการสอนควรต้องพัฒนาให้เข้ากับคุณสมบัติความเป็นคอมพิวเตอร์ เครือข่ายซึ่งมีความแตกต่างจากการออกแบบสาหรับโปรแกรมช่วยสอนในคอมพิวเตอร์ทั่วไป นอกเหนือจากเนื้อหาบทเรียนที่ผู้สร้างเสนอส่งผ่านเครือข่าย ผู้สอนสามารถสร้างการเชื่อมโยงแหล่งข้อมูล
  • 6. 6 อื่นที่สนับสนุนเนื้อหาหลักที่ผู้สอนสร้างเป็นการแนะแนวทางให้ผู้เรียนได้ศึกษา ทั้งนี้เนื้อหาและการ เชื่อมโยง ควรจะต้องปรับปรุงให้ทันสมัยตลอดเวลาและควรจะต้องมีการจัดกิจกรรมการปฏิสัมพันธ์ให้ ผู้เรียนได้ประโยชน์จากการศึกษาร่วมกับผู้อื่น การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บนั้น ผู้สอนและผู้เรียนจะต้อง มีปฏิสัมพันธ์กันโดยผ่านระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ของผู้เรียนเข้าไว้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเครือข่าย (File Server) และเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการเว็บ (Web Server) อาจเป็นเป็นการเชื่อมโดยระยะใกล้หรือเชื่อมโยงระยะไกลผ่านทางระบบการสื่อสารและ อินเทอร์เน็ต 2.ประโยชน์การเรียนการสอนผ่านเว็บ ประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บมีมากมายหลายประการ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของ การนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน ซึ่งประโยชน์ของการเรียนการสอนผ่านเว็บไว้ดังนี้ (สุริยันต์ เงาะ เศษ, 2549 :34-35) 2.1 การสอนบนเว็บเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนที่อยู่ห่างไกล หรือไม่มีเวลาในการมาเข้าชั้นเรียน ได้เรียนในเวลาและสถานที่ ๆ ต้องการ ซึ่งอาจเป็นที่บ้าน ที่ทางาน หรือสถานศึกษาใกล้เคียงที่ผู้เรียน สามารถเข้าไปใช้บริการทางอินเทอร์เน็ตได้การที่ผู้เรียนไม่จาเป็นต้องเดินทางมายังสถานศึกษาที่กาหนดไว้ จึงสามารถช่วยแก้ปัญหาในด้านของข้อจากัดเกี่ยวกับเวลา และสถานที่ศึกษาของผู้เรียนเป็นอย่างดี 2.2การสอนบนเว็บยังเป็นการส่งเสริมให้เกิดความเท่าเทียมกันทางการศึกษา ผู้เรียนที่ศึกษาอยู่ใน สถาบันการศึกษาในภูมิภาคหรือในประเทศหนึ่งสามารถที่จะศึกษา ถกเถียง อภิปราย กับอาจารย์ ครูผู้สอน ซึ่งสอนอยู่ที่สถาบันการศึกษาในนครหลวงหรือในต่างประเทศก็ตาม 2.3การสอนบนเว็บนี้ ยังช่วยส่งเสริมแนวคิดในเรื่องของการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื่องจากเว็บเป็น แหล่งความรู้ที่เปิดกว้างให้ผู้ที่ต้องการศึกษาในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง สามารถเข้ามาค้นคว้าหาความรู้ได้อย่าง ต่อเนื่องและตลอดเวลาการสอนบนเว็บ สามารถตอบสนองต่อผู้เรียนที่มีความใฝ่รู้รวมทั้งมีทักษะในการ ตรวจสอบการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Meta-cognitive Skills) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2.4การสอนบนเว็บ ช่วยทลายกาแพงของห้องเรียนและเปลี่ยนจากห้องเรียน 4 เหลี่ยมไปสู่โลก กว้างแห่งการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลต่างๆได้อย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ สนับสนุนสิ่งแวดล้อมทางการเรียนที่เชื่อมโยงสิ่งที่เรียนกับปัญหาที่พบในความเป็นจริง โดยเน้นให้เกิดการ เรียนรู้ตามบริบทในโลกแห่งความเป็นจริง(Contextualization) และการเรียนรู้จากปัญหา (Problem-based Learning) ตามแนวคิดแบบConstructivism
  • 7. 7 2.5การสอนบนเว็บเป็นวิธีการเรียนการสอนที่มีศักยภาพ เนื่องจากที่เว็บได้กลายเป็นแหล่งค้นคว้า ข้อมูลทางวิชาการรูปแบบใหม่ครอบคลุมสารสนเทศทั่วโลกโดยไม่จากัดภาษา การสอนบนเว็บช่วย แก้ปัญหาของข้อจากัดของแหล่งค้นคว้าแบบเดิมจากห้องสมุดอันได้แก่ ปัญหาทรัพยากรการศึกษาที่มีอยู่ จากัดและเวลาที่ใช้ในการค้นหาข้อมูล เนื่องจากเว็บมีข้อมูลที่หลากหลายและเป็นจานวนมาก รวมทั้งการที่ เว็บใช้การเชื่อมโยงในลักษณะของไฮเปอร์มิเดีย (สื่อหลายมิติ) ซึ่งทาให้การค้นหาทาได้สะดวกและง่ายดาย กว่าการค้นหาข้อมูลแบบเดิม 2.6การสอนบนเว็บจะช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ที่กระตือรือร้น ทั้งนี้เนื่องจากคุณลักษณะของเว็บที่ เอื้ออานวยให้เกิดการศึกษา ในลักษณะที่ผู้เรียนถูกกระตุ้นให้แสดงความคิดเห็นได้อยู่ตลอดเวลา โดยไม่ จาเป็นต้องเปิดเผยตัวตนที่แท้จริง ตัวอย่างเช่น การให้ผู้เรียนร่วมมือกันในการทากิจกรรมต่าง ๆ บนเครือข่าย การให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็นและแสดงไว้บนเว็บบอร์ดหรือการให้ผู้เรียนมีโอกาสเข้ามา พบปะกับผู้เรียนคนอื่น ๆ อาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญในเวลาเดียวกันที่ห้องสนทนา เป็นต้น 2.7การสอนบนเว็บเอื้อให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ซึ่งการเปิดปฏิสัมพันธ์นี้อาจทาได้ 2 รูปแบบ คือ ปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนด้วยกันและ/หรือผู้สอน ปฏิสัมพันธ์กับบทเรียนในเนื้อหาหรือสื่อการสอนบนเว็บ ซึ่ง ลักษณะแรกนี้จะอยู่ในรูปของการเข้าไปพูดคุย พบปะ แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นกัน ส่วนในลักษณะหลังนั้น จะอยู่ในรูปแบบของการเรียนการสอน แบบฝึกหัดหรือแบบทดสอบที่ผู้สอนได้จัดหาไว้ให้แก่ผู้เรียน 2.8การสอนบนเว็บยังเป็นการเปิดโอกาสสาหรับผู้เรียนในการเข้าถึงผู้เชี่ยวชาญสาขาต่าง ๆ ทั้งใน และนอกสถาบันจากในประเทศและต่างประเทศทั่วโลก โดยผู้เรียนสามารถติดต่อสอบถามปัญหาขอข้อมูล ต่าง ๆ ที่ต้องการศึกษาจากผู้เชี่ยวชาญจริงโดยตรงซึ่งไม่สามารถทาได้ในการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ยังประหยัดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเมื่อเปรียบเทียบกับการติดต่อสื่อสารในลักษณะเดิม ๆ 2.9การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานของตน สู่สายตาผู้อื่นอย่างง่ายดาย ทั้งนี้ไม่ได้จากัดเฉพาะเพื่อนๆ ในชั้นเรียนหากแต่เป็นบุคคลทั่วไปทั่วโลกได้ ดังนั้นจึงถือเป็นการสร้าง แรงจูงใจภายนอกในการเรียนอย่างหนึ่งสาหรับผู้เรียน ผู้เรียนจะพยายามผลิตผลงานที่ดีเพื่อไม่ให้เสีย ชื่อเสียงตนเองนอกจากนี้ผู้เรียนยังมีโอกาสได้เห็นผลงานของผู้อื่นเพื่อนามาพัฒนางานของตนเองให้ดียิ่งขึ้น 2.10การสอนบนเว็บเปิดโอกาสให้ผู้สอนสามารถปรับปรุงเนื้อหาหลักสูตร ให้ทันสมัยได้อย่าง สะดวกสบายเนื่องจากข้อมูลบนเว็บมีลักษณะเป็นพลวัตร ( Dynamic ) ดังนั้นผู้สอนสามารถอัพเดตเนื้อหา หลักสูตรที่ทันสมัยแก่ผู้เรียนได้ตลอดเวลา นอกจากนี้การให้ผู้เรียนได้สื่อสารและแสดงความคิดเห็นที่
  • 8. 8 เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ทาให้เนื้อหาการเรียนมีความยืดหยุ่นมากกว่าการเรียนการสอนแบบเดิมและเปลี่ยนแปลง ไปตามความต้องการของผู้เรียนเป็นสาคัญ การสอนบนเว็บสามารถนาเสนอเนื้อหาในรูปของมัลติมีเดีย ได้แก่ ข้อความ ภาพนิ่ง เสียง ภาพเคลื่อนไหว วีดีทัศน์ ภาพ 3 มิติ โดยผู้สอนและผู้เรียนสามารถเลือกรูปแบบ ของการนาเสนอเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดทางการเรียน ความสาคัญของสีที่มีต่อการออกแบบเว็บไซต์ สีเป็นองค์ประกอบที่มีความละเอียดซับซ้อน และต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในการผสมผสานความ แตกต่างของสี ให้สามารถเข้ากันได้อย่างลงตัว โดยสามารถสรุปความสาคัญในการเลือกใช้สีเพื่อการ ออกแบบเว็บ ได้ดังนี้ (เสถียร พลวงศ์, 2549 :ไม่ปรากฏหน้า) 1.การดึงดูดความสนใจของผู้เยี่ยมชม เนื่องจากสิ่งแรกที่มองเห็นได้จากเว็บคือ สี ซึ่งเป็นสิ่งที่ช่วย กาหนดบรรยากาศ และความรู้สึกโดยรวมของเว็บไซต์ ดังภาพที่3 ภาพที่3 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้โทนสีหลักและโทนสีตรงกันข้ามในการนาเสนอข้อมูล ที่มา : http://www.miniusa.com/#/MINIUSA.COM-m ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556 2.การนาสีมาใช้กับองค์ประกอบต่างๆของเว็บเพจ เนื่องจากในหน้าเว็บมีข้อมูลปริมาณมาก ผู้ออกแบบมักใช้โทนสีในการจัดกลุ่มข้อมูล เช่น ตัวอักษร รูปภาพ ลิงค์ และพื้นหลัง เป็นต้น เพื่อความ สะดวกต่อการเข้าใช้งานของผู้เยี่ยมชมเว็บไซต์ ดังภาพที่4
  • 9. 9 ภาพที่4 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้โทนสีในการจัดกลุ่มข้อมูล ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556 3.การเชื่อมโยงองค์ประกอบหน้าเว็บเข้าด้วยกัน ผู้ออกแบบสามารถใช้การไล่ระดับสีหรือโทนสี เพื่อเชื่อมโยงองค์ประกอบแต่ละส่วนไว้ด้วยกัน ให้หน้าเว็บมรความเป็นเอกภาพได้ ดังภาพที่5 ภาพที่5 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้การไล่ระดับโทนสี ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556 4.การสร้างอารมณ์และความรู้สึก การเลือกใช้สีแต่ละสี ล้วนมีผลต่อความรู้สึกของผู้เยี่ยมชม เว็บไซต์ เช่น สีแดงกระตุ้นให้เกดความสนใจ อยากรู้ มีชีวิตชีวา หรือสีดา กระคุ้นให้เกิดความน่าลึกลับ น่า ค้นหา เป็นต้น 5.การสร้างสัญลักษณ์หรือเป็ นตัวแทนขององค์กร ส่วนใหญ่องค์กรขนาดใหญ่จะมีการสร้าง สัญลักษณ์ที่เป็นตัวแทนขององค์กร ทั้งนี้อาจอยู่ในรูปแบบเครื่องหมายการค้าหรือสีสันต่างๆ ที่ผู้เยี่ยมชม เว็บไซต์มองเห็นแล้วทราบทันทีว่าเป็นสัญลักษณ์องค์กรใด โดยใช้สีประจาองค์กรมาใช้ร่วมกับการ ออกแบบหน้าเว็บ เช่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมมาธิราช สีประจามหาวิทยาลัยคือ สีเขียวกับสีทอง ดังภาพ ที่6
  • 10. 10 ภาพที่6 เว็บไซต์ที่ออกแบบโดยใช้สีประจาองค์กรร่วมกับการออกแบบองค์ประกอบหน้าเว็บ ที่มา : http://www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2556 อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้สีในการออกแบบเว็บเพจนั้น หากเลือกใช้สีไม่เหมาะสมอาจสร้างความ ลาบากในการอ่านหรือรบกวนสายตาผู้เยี่ยมชม รวมทั้งอาจทาให้การสื่อความหมายไม่ถูกต้อง การเลือกใช้สี ต่างๆนั้น ต้องเข้าใจถึงการแสดงผลของเว็บเพจในสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกัน รูปแบบของตัวอักษรบนเว็บไซต์ การเลือกชนิดของตัวอักษรเพื่อใช้งานบนเว็บไซต์ ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น เนื้อหาที่ ต้องการนาเสนอ การจัดวางองค์ประกอบ การปรับแต่งอัตราส่วน และการจัดสมดุลในเว็บเพจ เป็นต้น ซึ่ง ต้องหลักศิลปะและการใช้เทคโนโลยีควบคู่กัน เพื่อสร้างความน่าสนใจ กลุ่มตัวอักษรที่นิยมใช้งานบน เว็บไซต์ สามารถแบ่งออกได้เป็น7กลุ่ม ดังนี้ (สกายเวฟ โซลูชั่นส์, 2550 :ไม่ปรากฏหน้า) 1.กลุ่มตัวอักษรประเภทSerif เป็นกลุ่มตัวอักษรแบบลายเส้นตกแต่งขนาดเล็กที่เพิ่มขึ้นที่ส่วนปลายของเส้นหลัก คือ มีส่วนของ ลายเส้นตกแต่งติดกับส่วนต้นและส่วนท้ายของตัวอักษร โดยตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Times New Roman, Garamond, Georgia, Minion และ Rockwell ซึ่งส่วนใหญ่ตัวอักษรประเภทนี้จะใช้ในส่วนที่เป็น รายละเอียดเนื้อหา ดังภาพที่7
  • 11. 11 ภาพที่7 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภทSerif 2.กลุ่มตัวอักษรประเภทSans Serif เป็นกลุ่มอักษรที่ไม่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร โดยตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ Arial, Helvetica, Verdana และUnivers ซึ่งตัวอักษรประเภทนี้ เหมาะที่จะใช้กับหัวข้อหรือตัวอักษรขนาดใหญ่ แต่ ไม่นิยมใช้เป็นตัวเอียง เนื่องจากจะทาให้รูปร่างของตัวอักษรเปลี่ยนแปลงไปมาก ตัวอักษรประเภทนี้ได้รับ ความนิยมในการออกแบบเป็นอย่างมาก เนื่องจากดูเรียบง่ายและทันสมัย ดังภาพที่8 ภาพที่8 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Sans Serif 3.กลุ่มตัวอักษรประเภทMonospace เป็นกลุ่มอักษรที่มีลายเส้นตกแต่งขนาดเล็กเพิ่มขึ้นที่ส่วนปลายของเส้นหลัก คือ มีส่วนของ ลายเส้นติดกับส่วนต้นหรือส่วนท้ายของตัวอักษรเช่นเดียวกันกับกลุ่ม Serif แต่แตกต่างกันที่มีลักษณะของ ลายเส้นแบบโค้งมน ตัวอักษรอยู่มนกลุ่มนี้ ได้แก่ ตัวอักษรชนิด Monaco และ Courier ดังภาพที่9
  • 12. 12 ภาพที่9 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Monospace 4.กลุ่มตัวอักษรประเภท Cursive เป็นกลุ่มตัวอักษรที่ไม่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร มีลักษณะโค้งมนทั้งตัวอักษร และดูเป็น ศิลปะ ตัวอักษรที่อยู่ในกลุ่มนี้ ได้แก่ ตัวอักษรชนิด Comic Sans, Zapf Ghancery และZapfino ไม่นิยมใช้ใน ส่วนรายละเอียดเนื้อหาของเว็บเพจ แต่อาจใช้ในส่วนของหัวข้อ เพื่อแสดงความโดดเด่น และให้ดุน่าสนใจ ยิ่งขึ้น ดังภาพที่10 ภาพที่10 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Cursive 5.กลุ่มตัวอักษรประเภท Fantasy เป็นตัวอักษรที่มีลายเส้นตกแต่งติดอยู่กับตัวอักษร และมีลักษณะคล้ายกับงานศิลปะคล้ายกับกลุ่ม Cursive เพียงแต่ความอ่อนช้อยจะมีมากกว่า ประกอบด้วยตัวอักษรชนิด Desdemona, Playbll และ Herculanum ดังภาพที่11 ภาพที่11 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Fantasy
  • 13. 13 6.กลุ่มตัวอักษรประเภท Script เป็นตัวอักษรที่ประยุกต์มาจากตัวเขียน แต่มีความแตกต่างกันตรงที่มีความประณีต และลักษณะ การประดิษฐ์ตัวอักษรมีความสวยงามกว่าตัวเขียนทั่วไป และมีการเขียนที่ต่อเนื่องกัน ซึ่งจะให้ความรู้สึกที่ ไม่เป็นทางการ อิสระ เส้นลายของตัวอักษรให้ความสนุกสนาน ไร้กฎเกณฑ์ที่แน่นอนตายตัว ดังภาพที่12 ภาพที่12 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Script 7.กลุ่มตัวอักษรประเภท Text Letters หรือเรียกว่า ตัวอาลักษณ์ เป็นตัวอักษรที่มีลักษณะคล้ายกับตัวพิมพ์ เพียงแต่จะสวยงามและ ประณีตกว่า เหมาะกับงานราชการ เนื่องจากทาให้ดุน่าเชื่อถือ ดังภาพที่13 ภาพที่13 ตัวอย่างกลุ่มตัวอักษรประเภท Text Letters การวางแผนเพื่อการออกแบบเว็บไซต์ เว็บไซต์เป็นสื่อที่ได้รับความนิยมอย่างมากบนอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้งานเว็บไซต์สามารถตัดสินใจได้ว่า จะเลือกเยี่ยมชมเว็บไซต์ใดหรือไม่เยี่ยมชมเว็บไซต์ใดได้ตามต้องการ ถ้าผู้ใช้เห็นว่าเว็บไซต์ที่กาลังเยี่ยมชม อยู่นั้นไม่มีประโยชน์ หรือไม่เข้าใจว่าเว็บไซต์นี้ใช้งานอย่างไร เนื่องจากใช้งานได้ไม่สะดวก ผู้ใช้อาจ เปลี่ยนไปเยี่ยมชมเว็บไซต์อื่นๆได้ เนื่องจากปัจจุบันมีเว็บไซต์ต่างๆอยู่จานวนมาก และยังมีเว็บไซต์เกิดขึ้น ใหม่ๆทุกวัน ผู้ใช้จึงมีทางเลือกมากขึ้น และสามารถเปรียบเทียบคุณภาพของเว็บไซต์ต่างๆได้เอง (ฐิติรัศญาณ์ แก่นเพชร, 2551 : 6-9)
  • 14. 14 เว็บไซต์ที่ได้รับการออกแบบอย่างสวยงาม มีการใช้งานที่สะดวก ย่อมได้รับความสนใจมากกว่า เว็บไซต์ที่มีความสับสนวุ่นวาย มีข้อมูลมากมายแต่หาสาระสาคัญไม่พบ หรือใช้เวลาในการแสดงผลแต่ละ หน้านานเกินไป ปัญหาเหล่านี้ล้วนมาจากการออกแบบเว็บไซต์ไม่ดีทั้งสิ้น ดังนั้นการออกแบบเว็บไซต์จึง เป็นกระบวนการสาคัญในการสร้างเว็บไซต์ให้ประทับใจผู้ใช้ ทาให้ผู้ใช้อยากกลับเข้ามาในเว็บไซต์เดิมอีก ในอนาคต ซึ่งนอกจากต้องพัฒนาเว็บไซต์ที่ดีมีประโยชน์แล้ว ยังต้องคานึงถึงการแข่งขันกับเว็บไซต์อื่นๆอีก ด้วย (วนิจศรา อุ่นผา, 2548 : 37) 1.ข้อควรคานึงในการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์นั้นไม่ได้หมายถึงลักษณะหน้าตาของเว็บไซต์เพียงอย่างเดียว แต่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่การเริ่มต้นกาหนดเป้ าหมายของเว็บไซต์ ระบุกลุ่มผู้ใช้ การจัดระบบข้อมูล การสร้างระบบเนวิเกชั่น การออกแบบหน้าเว็บ รวมไปถึงการใช้กราฟิก การเลือกใช้สี การจัดรูปแบบตัวอักษร นอกจากนั้นยังต้อง คานึงถึงความแตกต่างของสื่อกลางในการแสดงผลเว็บไซต์ด้วย ซึ่งได้แก่ ชนิดและรุ่นของบราวเซอร์ ขนาด ของหน้าจอ ความละเอียดของสีในระบบ รวมไปถึงเครื่องมืออานวยความสะดวกในการใช้งาน (plug-in) ชนิดต่างๆที่ผู้ใช้มีอยู่ เพื่อให้ผู้ใช้เกิดความสะดวกและพอใจที่จะท่องไปในเว็บไซต์นั้น ดังนั้นทุกสิ่งทุกอย่าง ในเว็บไซต์ทั้งที่มองเห็นและมองไม่เห็น ล้วนเป็นมาจากกระบวนการออกแบบเว็บไซต์ทั้งสิ้น เว็บไซต์ที่ดู สวยงามและมีลูกเล่นมากมายนั้น อาจจะไม่นับว่าเป็นการออกแบบที่ดีก็ได้ ถ้าความสวยงามและลูกเล่น เหล่านั้น ไม่เหมาะสมกับภาพลักษณ์ของเว็บไซต์ ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นเรื่องยากที่จะระบุว่าการออกแบบเว็บไซต์ที่ดีนั้นเป็นอย่างไร เนื่องจากไม่มี หลักเกณฑ์แน่นอนที่จะใช้ได้กับทุกเว็บไซต์ แนวทางการออกแบบบางอย่างที่เหมาะสม กับเว็บไซต์หนึ่ง อาจจะไม่เหมาะสมกับอีกเว็บไซต์หนึ่งก็ได้ ทาให้แนวทางการออกแบบของแต่ละเว็บไซต์นั้น แตกต่างกัน ไปตามเป้ าหมายและลักษณะของเว็บไซต์นั้น เว็บไซต์บางแห่งอาจต้องการนาเสนอความสนุกสนานหรือ ความบันเทิง ในขณะที่เว็บไซต์อื่นกลับต้องการนาเสนอเนื้อหาที่ถูกต้อง น่าเชื่อถือเป็นหลัก ดังนั้นการ ออกแบบเว็บไซต์โดยรวม ควรคานึงถึงสิ่งต่อไปนี้ (วิราวรรณ ธันธา, 2550 : 35) 1.1ความเรียบง่าย ได้แก่ มีรูปแบบที่เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน และใช้งานได้สะดวก ไม่มีกราฟิกหรือ ภาพที่เคลื่อนไหวอยู่ตลอดเวลา ชนิดและสีของตัวอักษรไม่มากจนเกินไปทาให้วุ่นวาย ดังภาพที่14
  • 15. 15 ภาพที่14 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่เรียบง่าย ที่มา www.google.com ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 1.2ความสม่าเสมอ ได้แก่ ใช้รูปแบบเดียวกันตลอดเว็บไซต์ เช่นรูปแบบของกราฟิก ระบบเนวิ เกชั่นและโทนสี ควรมีความคล้ายคลึงกันตลอดทั้งเว็บไซต์ ดังภาพที่15 ภาพที่15 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีความสม่าเสมอ ที่มา : http://www.livingbykarit.com ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 1.3ความเป็นเอกลักษณ์ การออกแบบเว็บไซต์ควรคานึงถึงลักษณะขององค์กร เพราะรูปแบบของ เว็บไซต์จะสะท้อนถึงเอกลักษณ์และลักษณะขององค์กรนั้นๆ เช่น ถ้าเป็นเว็บไซต์ของทางราชการจะต้องดู น่าเชื่อถือ ดังภาพที่16 เป็นเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ซึ่งแสดงถึงความเป็นเอกลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย
  • 16. 16 ภาพที่16 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีความเป็นเอกลักษณ์ ที่มา : www.stou.ac.th ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 1.4เนื้อหาที่มีประโยชน์ เนื้อหาเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุดในเว็บไซต์ ดังนั้นควรจัดเตรียมเนื้อหาและ ข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการให้ถูกต้อง และสมบูรณ์ มีการปรับปรุงและเพิ่มเติมให้ทันเหตุการณ์อยู่เสมอ เนื้อหาไม่ ควรซ้ากับเว็บไซต์อื่น จึงจะดึงดูดความสนใจ ดังภาพที่17 ซึ่งเป็นเว็บไซต์การเรียนการสอน ภาพที่17 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาที่เป็นประโยชน์ ที่มา : http://course.stou.ac.th/atutor/content.php?cid=8066 ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 (Atuter ชุดวิชา10111 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร) 1.5ระบบเนวิเกชั่นที่ใช้งานง่าย ต้องออกแบบให้ผู้ใช้เข้าใจง่ายและใช้งานสะดวก ใช้กราฟิกที่สื่อ ความหมายร่วมคาอธิบายที่ชัดเจน มีรูปแบบและลาดับของรายการสม่าเสมอ เช่นวางไว้ที่ตาแหน่งเดียวกัน ของทุกหน้า ดังภาพที่18
  • 17. 17 ภาพที่18 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีระบบเนวิเกชั่นที่ใช้งานง่าย ที่มา : http://www.qsnce.co.th/default.asp ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 1.6ลักษณะที่น่าสนใจ หน้าตาของเว็บไซต์จะต้องมีความสัมพันธ์กับคุณภาพขององค์ประกอบ ต่างๆ เช่น คุณภาพของกราฟิกที่สมบูรณ์ การใช้สี การใช้ตัวอักษรที่อ่านง่าย สบายตา การใช้โทนสีที่เข้ากัน ลักษณะหน้าตาที่น่าสนใจนั้นขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล ดังภาพที่19 ภาพที่19 ตัวอย่างเว็บไซต์ที่มีลักษณะน่าสนใจ ที่มา : http://www.mcot.net/cfcustom/cache_page/index.html ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 1.7การใช้งานอย่างไม่จากัด ผู้ใช้สามารถเข้าถึงเว็บไซต์โดยใช้เบราว์เซอร์ชนิดใดชนิดหนึ่งในการ เข้าถึงเนื้อหา และสามารถแสดงผลได้ทุกระบบปฏิบัติการและความละเอียดหน้าจอต่างกัน 1.8คุณภาพในการออกแบบ การออกแบบและเรียบเรียงเนื้อหาอย่างรอบคอบ และถูกต้อง บ่งบอก ถึงคุณภาพ และความน่าเชื่อถือของเว็บไซต์ 1.9ลิงค์ต่างๆจะต้องเชื่อมโยงไปยังหน้าที่มีอยู่จริงและถูกต้อง ระบบการต่างๆในเว็บไซต์จะต้องมี ความแน่นอน และทาหน้าที่ได้อย่างถูกต้อง
  • 18. 18 ดังนั้น อาจสรุปได้ว่า การออกแบบที่ดี คือ การออกแบบให้เหมาะสมกับเป้ าหมายและลักษณะของ เว็บไซต์ โดยคานึงถึงความสะดวกของผู้ใช้เป็นหลัก 2.ขั้นตอนการวางแผนเพื่อการออกแบบเว็บไซต์ การออกแบบเว็บไซต์ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ประเภทใด ล้วนแต่มีการวางแผนเพื่อการออกแบบ เว็บไซต์ที่คล้ายๆกัน ได้แก่ (วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร, 2549 :ไม่ปรากฏหน้า) 2.1การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ เว็บไซต์ส่วนใหญ่จะมีการกาหนดวัตถุประสงค์ชัดเจน ผู้ เข้าชมเว็บไซต์ต้องการข้อเท็จจริง เมื่อเข้าชมแล้วจะพยายามค้นหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ต้องการ เว็บไซต์ที่ มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน จะทาให้ผู้เข้าชมยอมรับเว็บไซต์โดยง่าย เช่น ข้อมูลเพื่อการศึกษาจะให้ข้อมูลด้าน การศึกษาอย่างชัดเจน ผู้ที่เข้ามาเยี่ยมชมส่วนใหญ่จะเป็นนักศึกษาหรือผู้สนในในการศึกษาหลากหลาย สาขาวิชา เป็นต้น การกาหนดวัตถุประสงค์เว็บไซต์ที่ชัดเจนก่อนการสร้างเว็บไซต์ จะทาให้ผู้สร้างเว็บไซต์ มั่นใจได้ว่าเว็บไซต์จะประสบผลสาเร็จตรงตามวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ คาถามแรกในการตั้งวัตถุประสงค์ คือ ทาไมต้องการสร้างเว็บไซต์นี้ วัตถุประสงค์ส่วนใหญ่ของการสร้างเว็บไซต์เพื่อ 2.1.1เพื่อให้บริการ 2.1.2เพื่อขายสินค้า 2.1.3เพื่อแสดงข้อมูลในหัวข้อต่างๆ 2.1.4เพื่อประกาศหรือประชาสัมพันธ์ 2.1.5เพื่อแนะนาตัวเอง(เจ้าของเว็บไซต์) 2.1.6เพื่อสร้างเครือข่ายชุมชน 2.1.7เพื่อเผยแพร่ข่าวสารที่มีความเฉพาะเจาะจง การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์อาจเป็นเรื่องปกติทั่วไป แต่การสร้างวัตถุประสงค์ให้มี เอกลักษณ์ที่โดดเด่นเป็นเรื่องยาก เช่น ถ้าจะสร้างเว็บไซต์ให้บริการจะต้องให้ข้อมูลทางการตลาดและ เนื้อหาส่วนที่เกี่ยวข้อง ควรเข้าใจหลักการในการกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ในกรณีที่จะให้บริการ ด้วย ต้องยึดมั่นในวัตถุประสงค์ เช่น บางเว็บไซต์จะมีข้อความบอกพันธกิจของเว็บไซต์หรือหน้าเว็บเพจที่
  • 19. 19 อธิบายวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ บอกว่าเว็บไซต์นี้เกี่ยวกับอะไร มีวัตถุประสงค์อย่างไร คาดว่าผู้เยี่ยมชม เว็บไซต์จะได้รับอะไรบ้าง สิ่งเหล่านี้เป็นวิธีการที่จะสามารถเชื่อมโยงให้ผุ้เข้าชมเว็บไซต์ได้เข้าใจ วัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ที่สร้างขึ้น เมื่อผู้เยี่ยมชมเข้าใจวัตถุประสงค์ของผู้ใช้แล้วก็จะสามารถตอบข้อสงสัย ต่างๆได้ 2.2การกาหนดกลุ่มเป้ าหมาย ผู้ที่จะออกแบบเว็บไซต์จะต้องคานึงถึงผู้ที่จะเข้าชมเว็บไซต์ว่าเป็น กลุ่มเป้ าหมายที่สาคัญ ดังนั้นก่อนที่จะออกแบบเว็บไซต์จะต้องวิเคราะห์กลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์ให้ชัดเจน ว่าต้องการให้ใครมาเยี่ยมชม โดยดูวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ ว่าเว็บไซต์นั้นๆมีการถ่ายทอดอะไรกับผู้เยี่ยม ชมเว็บไซต์ก็จะทราบว่ากลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์คือกลุ่มใด สิ่งสาคัญที่ผู้ออกแบบเว็บไซต์ต้องตระหนัก คือการพัฒนาเว็บไซต์ ต้องคานึงว่าใครเป็นผู้อ่านข้อมูลเหล่านี้ ภาพและเสียงที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้ าหมาย เป็นอย่างไร คาสาคัญที่จะจูงใจกับกลุ่มเป้ าหมายคืออะไร สิ่งเหล่านี้จะมีความสัมพันธ์กันกับกลุ่มเป้ าหมาย ซึ่งมีความสาคัญยิ่งในการออกแบบเว็บไซต์ เพื่อที่จะทาให้กลุ่มเป้ าหมายของเว็บไซต์เข้าใจความหมายได้ ตรงกัน หมายความว่าถ้ากลุ่มเป้ าหมายเป็นผู้หญิงแล้วปรากฏว่ามีผู้ชายเข้ามาในเว็บไซต์ อ่านข้อความเหล่านี้ ก็จะไม่เป็นประโยชน์สาหรับผู้ชาย ดังนั้น การออกแบบเว็บไซต์ควรวิเคราะห์ข้อดี ข้อเสียของวัตถุประสงค์ ในการออกแบบเว็บไซต์ ก็จะทราบว่า ไม่ว่าจะเป็นเว็บไซต์ชนิดใด ก็ล้วนจะมีการติดต่อสื่อสารกับผู้ที่เข้าชม เว็บไซต์ทั้งสิ้น ดังนั้นจึงควรออกแบบในการสื่อสารกับกลุ่มเป้ าหมายไว้ตั้งแต่ตอนเริ่มต้น การออกแบบเว็บ ไวต์จะประสบผลสาเร็จถ้ามีปฏิสัมพันธ์กับผู้เข้าชมเว็บไซต์ให้ตรงตามความต้องการของผู้เข้าชม การ สัมภาษณ์หรือการสารวจผู้เข้าชมเว็บไซต์ จะช่วยให้ผู้ออกแบบเว็บไซต์เข้าใจความต้องการของผู้เข้าชม และ สามารถนาความต้องการต่างๆเหล่านั้นมาปรับปรุงและพัฒนาเว็บไซต์ได้ 2.3การวางแผนด้านเนื้อหา การออกแบบเว็บไซต์จะต้องมีการวางแผนให้ชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น เพราะถ้าหากมีการวางแผนด้านเนื้อหาไม่ดี จะทาให้เว็บไซต์ไม่เป็นระเบียบ ส่งผลให้ผู้เข้าชมเว็บไซต์เกิด ความสับสน การวางแผนด้านเนื้อหาควรตอบคาถามด้านต่างๆให้ได้ เช่น ใครเป็นผุ้รับผิดชอบเนื้อหา มีการ บันทึกข้อมูลไว้ที่ใด รูปแบบแฟ้ มข้อมูลเป็นแบบใด ควรตั้งชื่อเนื้อหาอย่างไร การติดตามแกะรอยทาได้ อย่างไร สิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งจาเป็นที่จะต้องตระหนักถึงอย่างมาก หากมองข้ามสิ่งเหล่านี้จะทาให้การจัดการกับ เนื้อหาจานวนมากที่จะเพิ่มขึ้นในภายหลังนั้นได้ยาก จึงควรวางแผนเนื้อหาต่างๆเป็นลาดับ จัดการ แฟ้ มข้อมูลอย่างมีตรรกะ เมื่อผู้ออกแบบเว็บไซต์ตัดสินใจให้มีการไหลของข้อมูลก็ควรจัดการให้เป็น ขั้นตอน โดยต้องมั่นใจว่ามีทิศทางที่ถูกต้อง และตั้งชื่อแฟ้ มให้สอดคล้องกับเนื้อหา ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่ง จากนั้นจะเป็นการเก็บแฟ้มต่างๆ
  • 20. 20 การสร้างแผนผังของเนื้อหาจะทาให้เราทราบว่า มีจานวนเว็บเพจที่เกี่ยวข้องปริมาณเท่านั้น หาก เป็นเว็บไซต์ขนาดใหญ่ มีเว็บเพจจานวนมาก ควรมีการจัดกลุ่มของเนื้อหาทั้งหมดที่ความสัมพันธ์กันเป็น กลุ่มๆ เช่น การศึกษา กีฬา บันเทิง เป็นต้น ควรทาบัญชีกลุ่มเนื้อหาต่างๆ รวมทั้งเนื้อหาย่อยๆของแต่ละกลุ่ม ให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด โดยการวาดภาพโครงร่างเนื้อหา ดังภาพที่20 การทาโครงร่างเนื้อหาเช่นนี้ จะ ช่วยให้ผู้ออกแบบเห็นภาพรวมของการไหลของเนื้อหาและเข้าใจกระบวนการไหลของเนื้อหา ว่าเมื่อเข้าไป ที่เนื้อหานี้จะพบเนื้อหาย่อยๆอย่างไรบ้าง ภาพที่20 ตัวอย่างการสร้างแผนผังของเนื้อหา ที่มา : http://buildinternet.com/2009/10/how-to-plan-a -content-heavy-site/ ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 2.4การวางแผนโครงสร้างของเว็บไซต์ ในที่นี้ขออธิบายตามระบบการจัดการเนื้อหา(Content Management System : CMS) ในการสร้างและจัดการเนื้อหาของเว็บไซต์ที่ได้ออกแบบไว้ประกอบด้วย การ สร้างเนื้อหา(creation) การปรับปรุงเนื้อหา(updating) การกระจายเนื้อหา(distribution) การตีพิมพ์เนื้อหา (publishing) การค้นหาเนื้อหา(discovery) CMS เปิดทางให้ผู้ใช้งานสามารถตีพิมพ์ได้หลายลักษณะ เช่น ข่าว การประกาศ กรณีศึกษา ประวัติบุคคล บทความ หนังสือพิมพ์ ข้อมูลสินค้า หนังสือรับรอง ลิงค์ที่สาคัญ แหล่งข้อมูลออนไลน์ รวมทั้งการดาวน์โหลด CMSจะให้สิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลเป็นลาดับขั้น โดยCMSมี คุณลักษณะ ดังนี้ 2.1.1สามารถสร้างและบริหารจัดการเว็บเพจได้ 2.1.2lมารถควบคุมระบบเนวิเกชั่นและเนื้อหาจานวนมากของเว็บไซต์ได้ 2.1.3สามารถให้ผู้ใช้ควบคุมเนื้อหาได้ตามผู้ดูแลระบบวางโครงสร้างให้ 2.1.4สามารถบริหารจัดการแผนผังเว็บไซต์และเตรียมการปรับปรุงแก้ไข HTML
  • 21. 21 2.1.5สามารถเขียนกระทู้บนเว็บไซต์และสามารถเขียนความพึงพอใจ จัดหมวดหมู่ของกระทู้ได้ 2.1.6มีระบบรักษาความปลอดภัย 2.1.7สามารถลดความซ้าซ้อนของเนื้อหา 2.1.8สามารถจัดการเนื้อหาบนเว็บไซต์ โดยไม่ต้องมีความรู้เกี่ยวกับภาษา HTML 2.5การวางแผนการผลิตเว็บเพจ ควรเข้าใจหลักการของเว็บไซต์ก่อนว่า เว็บไซต์เปรียบเสมือน การไหลของข้อมูล ซึ่งจะทาให้ผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้รับข้อมูลอย่างเป็นลาดับ ขั้นตอน ถ้าหากผู้สร้าง เว็บไซต์ไม่มีการวางแผน เว็บไซต์ก็จะเริ่มต้นไม่ถูก ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นจากตรงไหนดี ที่สาคัญที่สุดคือควร ออกแบบให้ง่ายที่สุด และรวดเร็วที่สุดสาหรับผู้ใช้งานหรือผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ 2.6การวางแผนระบบเนวิเกชั่น เป็นการนาแผนผังโครงสร้างเว็บไซต์จากการวางแผนเว็บไซต์ มา วางแผนระบบเนวิเกชั่น ดังภาพที่21 ภาพที่21 ตัวอย่างการวางแผนระบบเนวิเกชั่น ที่มา : http://creately.com/examples/website-navigation-plan ค้นเมื่อวันที่14 มิถุนายน 2556 ขั้นตอนการพัฒนาเว็บไซต์ การพัฒนาเว็บไซต์และนาเว็บไซต์เข้าสู่ระบบ www ให้บุคคลอื่นเข้ามาเยี่ยมชมได้นั้น กระบวนการพัฒนาเว็บไซต์สามารถจาแนกได้3ขั้นตอน ดังนี้ (ประไพ ศรีสะอาด, 2549 : 22-26) 1.การเตรียมการและการวางแผนงาน(pre-production)
  • 22. 22 เปรียบเสมือนเข็มทิศที่จะชี้นาทางหรือบ่งบอกให้ผู้พัฒนาเว็บไซต์ทราบว่า ควรจะต้องเดินทางไป ในทิศทางใด ซึ่งขั้นตอนนี้จะประกอบด้วย การเตรียมก่อนการดาเนินการ การวางแผนการดาเนินการ รวมทั้งการรวบรวมและวิเคราะห์โครงสร้าง 1.1การเตรียมก่อนการดาเนินการ ประกอบด้วย 1.1.1กาหนดวัตถุประสงค์และเป้ าหมายของเว็บไซต์ เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจน ว่าเว็บไซต์ ต้องการนาเสนอสิ่งใด มีวัตถุประสงค์อย่างไร โดยวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์สามารถจาแนกได้หลากหลาย ประเภท ได้แก่ เว็บไซต์ส่วนบุคคล เว็บไซต์เผยแพร่ข้อมูลสาหรับบริษัท/ห้างร้าน/องค์กรต่างๆ/สถาบัน/ โรงเรียน เว็บไซต์เพื่อการทาธุรกรรมค้าขาย เว็บไซต์เพื่อการโฆษณารายการสินค้า เว็บไซต์เพื่อการศึกษา ทางไกล เว็บไซต์เพื่อศูนย์รวมและช่องทางนาไปสู่แหล่งข้อมูลอื่น เว็บไซต์เพื่อเป็นศูนย์รวมชุมชนคน ออนไลน์ และเว็บแอพลิเคชั่นเพื่อการใช้งานเฉพาะทาง ทั้งนี้การกาหนดวัตถุประสงค์ของเว็บไซต์ จะมีผล ต่อการกาหนดโครงสร้างรูปแบบ รวมถึงหน้าตา และสีสันของเว็บไซต์ด้วย 1.1.2กาหนดชื่อเว็บไซต์ และชื่อยูอาร์แอล 1.1.3กาหนดกลุ่มเป้ าหมายที่จะให้เข้าชมเว็บไซต์ เพื่อจะได้ทราบว่าผู้ที่จะเข้าชมเว็บคือใคร จะ ได้ดาเนินการออกแบบและดาเนินการจัดทาเว็บไซต์ เพื่อให้ตอบสนองความต้องการผู้ชมกลุ่มนั้นได้ทาก ที่สุด 1.1.4ศึกษากลุ่มคู่แข่ง เพื่อจะได้ทราบว่า คู่แข่งของเว็บที่จะพัฒนาคือใคร จะได้ศึกษาแนว ทางการออกแบบ และการดาเนินดารของคู่แข่ง เพื่อเป็นตัวอย่างหรือแนวทางในการออกแบบและ ดาเนินการในการจัดทาเว็บไซต์ต่อไป 1.2การวางแผนการดาเนินการ หลังการเตรียมก่อนการดาเนินการ ควรมีการวางแผนไว้ล่วงหน้า เพื่อให้การพัฒนาเว็บไซต์มีแนวทางที่ชัดเจน 1.3การรวบรวมและวิเคราะห์โครงสร้าง เป็นขั้นตอนที่ต่อจากการวางแผนการดาเนินการ เนื่องจากเนื้อหาและข้อมูลเป็นสิ่งที่เชิญชวนให้ผู้อื่นเข้ามาเยี่ยมชมเว็บไซต์ ฉะนั้น ขั้นตอนนี้จึงเป็นการ
  • 23. 23 รวบรวมข้อมูลที่จาเป็นในการสร้างเว็บเพจตามหัวข้อที่กาหนดไว้ เพื่อจะได้ทราบว่า จาเป็นต้องใช้ข้อมูล อะไร จากแหล่งใดบ้าง 2.การทางานจริงในการออกแบบและพัฒนาเว็บเพจ(on- production) แบ่งได้เป็น2ส่วน คือ 2.1การออกแบบเว็บเพจ นับเป็นขั้นตอนในการออกแบบรูปร่าง โครงสร้างและลักษณะทางด้าน กราฟิกทางหน้าเว็บเพจ โดยโปรแกรมที่นิยมนามาใช้ในการออกแบบคือ โฟโต้ชอป หรือ ไฟล์เวิร์ก ซึ่งจะ ช่วยในการสร้างเค้าโครงของหน้าเว็บและองค์ประกอบต่างๆ เช่น ชื่อเว็บไซต์ โลโก้ รูปไอคอน ภาพเคลื่อนไหว แบรนเนอร์โฆษณา เป็นต้น สิ่งสาคัญที่ต้องคานึงถึงในการออกแบบและคานึงถึงในการสร้างเว็บเพจ คือวัตถุประสงค์ในการ จัดทาเว็บไซต์ และเป้ าหมายของกลุ่มผู้เข้าชม เว็บเบราว์เซอร์ที่ใช้แสดงผลเว็บไซต์ เพื่อที่จะได้ทาการ กาหนดรูปแบบและลักษณะเว็บเพจ ได้แก่ ขนาดของหน้าเว็บเพจ และลักษณะการวางองค์ประกอบของ เว็บไซต์ให้สวยงามและแสดงผลได้เร็ว รวมทั้ง ควรกาหนดและวางโครงร่างของเว็บเพจ ทั้งในส่วนของ จานวนเว็บเพจ และเนื้อหาในแต่ละเว็บเพจ เป็นแผนผังเว็บไซต์ออกมาบนกระดาษ 2.2การพัฒนาเว็บเพจ หลังจากออกแบบโครงร่างของเว็บเพจและแต่ละหน้าเว็บเพจแล้ว ขั้นตอน ต่อไปคือ การดาเนินการสร้างเว็บเพจ ซึ่งรวมถึงการจัดหาองค์ประกอบที่ต้องนามาใช้ เช่น สื่อมัลติมีเดีย ภาพกราฟิก แบบฟอร์มต่างๆ และการสร้างไฟล์รูปภาพ/เสียง ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ซึ่งต้องคานึงถึงรูปแบบ ของไฟล์ที่นามาใช้และสอดคล้องกับซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการพัฒนาด้วย จากนั้นนาภาพและเสียงมาเก็บไว้ใน ไดเร็กทอรี่หรือโฟลเดอร์ที่กาหนดไว้แล้วนาข้อมูลทั้งหมดที่รวบรวมไว้จากที่กล่าวมาข้างต้น มาสร้างเป็น เว็บไซต์ด้วยภาษา HTML หรือเครื่องมือในการสร้างเว็บเพจอื่นตามแนวคิดที่ได้ออกแบบไว้แล้ว ซึ่งรวมถึง การเขียนโปรแกรมสคริปต์ในการใช้งานด้วย 3.การสรุปงานเพื่อส่งมอบ(post- production) ประกอบด้วย 3.1การทดสอบและปรับปรุงเว็บไซต์ หมายถึง การทดสอบเว็บเพจที่สร้างขึ้นแบบออฟไลน์ โดย ยังไม่ได้มีการนาเว็บไซต์เข้าสู่อินเทอร์เน็ต แต่ก็สามารถแสดงผลได้เหมือนจริงผ่านเว็บเบราว์เซอร์ เช่น ใช้ โปรแกรมอินเทอร์เน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ ตรวจสอบตัวอย่างเว็บเพจหน้าต่างๆที่สร้างไว้ เช่น ขนาดตัวอักษร ขนาดรูปภาพ เสียง การใช้สี ตาราง เป็นต้น ว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ พร้อมกับทาการแก้ไขปรับปรุงจน เป็นที่น่าพอใจ
  • 24. 24 3.2การเผยแพร่เว็บไซต์ เมื่อทดสอบเว็บไซต์จนสมบูรณ์แล้ว ขั้นตอนในการเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ คือ การเผยแพร่ให้คนทั่วไปได้รู้จัก หรือเรียกว่าการนาเว็บไซต์ขึ้นเซิร์ฟเวอร์ หรือการอัพโหลด ซึ่งเป็นการ ถ่ายโอนเว็บเพจและส่วนประกอบอื่น เช่น ไฟล์ภาพ ไฟล์เพลงประกอบ เป็นต้น ไปฝากไว้ที่โฮสต์ โดย เจ้าของเว็บอาจต้องจดทะเบียนโดเมนเนม และเช่าพื้นที่โฮสต์จากผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต(Internet Service Provider : ISP) รายใดรายหนึ่ง เมื่อเลือกโฮสต์ได้แล้ว ขั้นต่อไปก็เป็นการถ่ายโอนเว็บเพจไปฝากไว้ที่โฮสต์ ซึ่งโดยทั่วไปจะใช้ซอฟต์แวร์ถ่ายโอนข้อมูลเป็นเครื่องมือ ซอฟต์แวร์ประเภทนี้ เรียกว่า ซอฟต์แวร์เอฟทีพี ไคลเอนด์(FTP client) ผู้พัฒนาก็สามารถนาเว็บเพจอัพโหลดขึ้นสู่อินเทอร์เน็ตและประชาสัมพันธ์ให้คน ทั่วไปได้รู้จักได้ ซึ่งการทาให้คนทั่วไปรับรู้และใช้บริการเว็บไซต์ได้มากนั้น จาเป็ นต้องมีการ ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องและใช้ระยะเวลาพอสมควร ซึ่งอาจทาโดยมีป้ ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ ออนไลน์ในหน้าเว็บไซต์อื่นๆ หรือการแลกเปลี่ยนป้ ายโฆษณาระหว่างกัน การโฆษณาผ่านเครื่องมือค้นหา การโฆษณาผ่านจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การตลาดแบบไวรัล ซึ่งคล้ายกับกลยุทธ์การบอกแบบปากต่อปาก หากแต่เป็นการประชาสัมพันธ์โดยสื่อประเภทเครือข่ายสังคมที่มีอยู่ และควรมีการเก็บสถิติของผู้เข้าชมด้วย ก็สามารถทาให้ประเมินได้ว่า เว็บไซต์ที่พัฒนาขึ้นนั้นได้รับความสนใจมากน้อยเพียงใด 3.3การบารุงรักษาเว็บไซต์ เป็นการปรับปรุงเนื้อหา ภาพประกอบ หรือการปรับปรุงเว็บไซต์ให้ เป็นปัจจุบัน ซึ่งถือเป็นขั้นตอนที่สาคัญ เพราะในโลกอินเทอร์เน็ตมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วอยู่ ตลอดเวลา ผู้เข้าชมเว็บมักใช้เวลาในการค้นหาและเปิ ดผ่านเว็บไซต์ต่างๆอย่างรวดเร็ว หากพบว่าเว็บไซต์ที่ ผู้สร้างนาเสนอไม่ได้มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือมีข้อมูลใหม่ๆเพิ่มขึ้นเลย ผู้เข้าชมเว็บก็อาจลดจานวน ลงเรื่อยๆ จนกลายเป็นเว็บที่ไม่มีคนเข้ามาเยี่ยมชมเลยหรือเป็นเว็บที่ตายแล้ว ดังนั้น การปรับปรุงเว็บไซต์อยู่เสมอ โดยมีการเพิ่มข้อมูลข่าวสารใหม่ๆอยู่เป็นประจา ก็จะทาให้ เว็บไซต์ทันสมัย มีผู้ชมเข้าชมเป็นประจาและมากขึ้น จนพัฒนาเป็นเว็บไซต์ยอดนิยมได้ในที่สุด การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ 1.ความหมายของโครงสร้างเว็บไซต์ ประสาน จันทะคาม(2552 :12) กล่าวว่า “การออกแบบโครงสร้างเว็บไซต์ คือ การวางแผนการ จัดลาดับ เนื้อหาสาระของเว็บไซต์ ออกเป็นหมวดหมู่ เพื่อจัดทาเป็นโครงสร้างในการจัดวางหน้าเว็บเพจ