SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 62
Descargar para leer sin conexión
นาเสนอโดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธี และธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า
ความสงบ ความสุข ความปรารถณาของสังคมไทย
www.elifesara.com
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com
www.kpi.ac.th
2
สงครามไม่ใช่คาตอบสุดท้ายของการแก้ไขปัญหาเขตแดนไทยกับประเทศ
เพื่อนบ้าน
พลเอกเอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
ekkachais@hotmail.com
1
4
5
6
7
คติพจน์ของ- Love Ramon -
•ครู ที่ให้ ชีวิต คือบิดามารดา
•ครู ที่ให้ การศึกษา อยูที่โรงเรียน
•ครู ที่ให้ บทเรียน อยู่ที่ตัวเรา
•การเรียนรู้ที่ดีที่สุด คือการเรียนรู้ จากตัวเราเอง แต่อย่าลืมราลึกและ
ตอบแทนพระคุณครู
เราจะรีบไปไหนกัน ?
•เราเป็นใคร นิสัยเราเป็นอย่างไร จริตแบบไหน นิสัยเราเป็นแบบนี้ตั้งแต่
เมื่อไร ใครเป็นผู้บีบให้เราเป็นแบบนี้ ตัวต้นที่แท้จริงของเราเป็นอย่างไร
เราทิ้งไพ่ดีๆของเราไปเยอะแค่ไหนแล้ว เราเป็นคนเชิงเดี่ยวหรือเปล่า
•ประเมินตนเอง เราได้อะไรบ้าง ตั้งแต่มาทางานที่นี่ มิตรมากขึ้นหรือศัตรู
เครียดหรือสุข ห่างไกลหรือใกล้ฝันของเรา
•การกระทาของเรา ส่งผลกระทบ ต่อใครบ้าง องค์กร ชุมชน สังคม จิตใจ
วัฒนธรรม
สัมผัสของมนุษย์
•ตา เห็นรูป
•หู ได้ยินเรื่อง
•จมูก รับรส
•กาย สัมผัส
•ใจ รับรู้ความนึกคิด
www.kpi.ac.th
Cultural Identity
GERMANY : Engineering Culture1
FRANCE : Chic Culture2
ITALY: Sexy Culture3
AMERICA : Youth Culture4
JAPAN : IT Culture5
6 THAILAND : Human Touch Culture
รักสงบ เคารพอาวุโส เชื่อโชคลางของขลัง เชื่อกฎแห่งกรรม ยอม
ตามผู้มีอานาจ รักเอกราช สุกเอาเผากิน ไม่ยอมให้ใครดูหมิ่น รักถิ่น
และครอบครัว อ่อนน้อมถ่อมตัว ชอบผู้นา ทาสารวย ชอบบันเทิง
(สนุก) เมตตากรุณา ผักชีโรยหน้า ไม่กระตือรือร้น เป็นคนใจกว้าง
ช่างอดช่างทน กตัญญูกตเวที ชอบมีอภิสิทธิ์ จิตใจเอื้ออารี โอน
อ่อนผ่อนตาม มีความเกรงใจ ให้อภัยเสมอ ตามใจต่างชาติ ฉลาด
เลือกงาน ทาการมักเบ่ง เคร่งครัดเคารพแด่พระมหากษัตริย์
•สภาวิจัยแห่งชาติได้ประมวลไว้เป็นร้อยกรองโดยสมบูรณ์
ลักษณะประจาชาติไทย
สังคมไทยวันนี้
ประชาธิปไตยแบบ ไทยๆ
รู้แต่สิทธิ มิรู้หน้าที่
มุ่งเอาแต่ได้ แต่ไม่ยอมให้ใคร
มีความเปราะบางและความตึงเครียด
อุดมการณ์แตกสลาย
ภาพลักษณ์ลบในสายตาต่างชาติ
สิทธิมนุษยชน
13
อาชีพในฝันของเยาวชน
ประเทศ อาชีพ
ไทย แพทย์ ครู ทนายความ พ่อครัว นักธุรกิจ สัตว์แพทย์
สิงคโปร์ ครู แพทย์ นักบิน พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน ศิลปิน
มาเลเซีย แพทย์ นักบิน ตารวจ ทนายความ ครู มีคนจบ ป.ตรีเพียง 23% เป้าหมาย 37%
เป้าหมายผลิตปริญญาเอก 18,000 คนใน 2558
อินโดนีเชีย ระดับปริญาตรีมีเพียง 4.8 ล้านคน ไปต่อต่างประเทศ
เวียตนาม(บริติช เคาน์
ซิล)
ตลาดการศึกษาในอาเซียนกาลังเติบโตแบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะในเวียต นาม ลง
ทุนการศึกษาอย่างมาก ระดับปริญญาโทเติบโต 139% ใน 10 ปี เน้นสาขา การจัดการ
ธุรกิจ การเงิน การท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศ วิทยาศาสตร์ประยุกต์
วิศวกรรมศาสตร์เรียนมากสุด
ฟิลิปปินส์ สนใจสุขภาพ (แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล การจัดการธุรกิจ การตลาด นิยมต่อ ตป
ท.สาขาวิศวกรรม ศิลปศาสตร์ สถาปัตย์
15
Mahatma Ghandi
•ทุนทางวัฒนธรรม
www.kpi.ac.th
การบินของไทย
• การบินเกิดขึ้นในโลก เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๔๖ ประเทศไทย
ส่งนายทหารไปเรียนวิชาการบิน ตามหลังประเทศ
สหรัฐอเมริกาเพียง ๙ ปี เท่านั้น อเมริกาจัดตั้งหน่วบบิน
ในปี พ.ศ. ๒๔๕๐ กองบินของอิตาลี พ.ศ. ๒๔๕๔
กองบินหลวงอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๕๕
• หลังจากเกิดการบินขึ้นในโลกเพียง ๑๒ ปี ประเทศไทยก็
สามารถสร้างเครื่องบินขึ้นตามแบบต่างประเทศ และ
นามาใช้ในงานราชการได้
A Publication by
www.knowtheprophet.com
16
• ปี ๒๔๗๐ กรมอากาศยานสร้างเครื่องบินขับไล่แบบ 5 ประชาธิปกขึ้นแบบหนึ่ง
A Publication by
www.knowtheprophet.com
17
• เมื่อวันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๔๖๔ พันโท พระพิเศษ
สุรฤทธิ ผู้อานวยการโรงงานกรมอากาศยาน ได้สร้าง
เครื่องบิน นิเออปอรต์ แบบ ๘๑ เป็นเครื่องบินขับไล่
แบบ๘๑ (Nieuport)
A Publication by www.elifesara.com 18
พิธีเปิดสายการผลิต บ.ทอ.๖ ระยะที่ ๑ เป็นเครื่องบินลาดตระเวนทางอากาศ กองทัพอากาศ ในวันพุธที่ ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๗ ณ กรมช่าง
อากาศ บางซื่อ
A Publication by
www.knowtheprophet.com
19
เสือ ๘ ตัวในเอเชียจะ
เปลี่ยนแปลงโลก
จากหนังสือ Megatrend 2000 และ Megatrend Asia ของ John Nibitt
และเจมส์ วูลเฟนซอห์น อดีตประธานธนาคารโลกพูดที่มหาวิทยาลัยนิวเซาท์เวลส์ ซิดนีย์
• ทานายความเจริญของโลกจะไหลกลับมาอยู่ที่ญี่ปุ่น จีน เกาหลี และอาเซียน ปี ๒๐๕๐ เศรษฐกิจของจีนและ
อินเดียจะขยายตัว ๒๒ เท่า ขณะที่ชาติ G7 มีแนวโน้มขยายตัวเพียง ๒.๕ เท่าเท่านั้น
• ธนาคารโลกวิเคราะห์ว่าปี ๒๐๒๕ จีนจะเป็นมหาอานาจทางเศรษฐกิจอันดับ ๑ ของโลก ตามด้วยสหรัฐฯ
อินเดีย และเยอรมนี
• โกลด์แมน แซคส์ วาณิชธนกิจชื่อดังคาดการณ์ว่า ปี ๒๐๕๐ GDP จีนจะขยายตัวจากมูลค่ารวม ๒ เป็น
๔๘.๖ ล้านล้านดอลลาร์
• GDP อินเดียปี ๒๕๓๘ ไม่ถึง ๑ ล้านล้านดอลลาร์ จะขยายสูงขึ้นถึง ๒๗ ล้านล้านดอลลาร์
• สหรัฐฯ GDP จะเพิ่มจาก ๑๓ ล้านล้านดอลลาร์ เป็น ๓๗ ล้านล้านดอลลาร์เท่านั้น ซึ่งน้อยกว่าจีนถึง ๑๐
ล้านล้านดอลลาร์
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
23
บทบัญญัติที่กาหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ
หมวดที่ ๑ Article 2 ข้อ 7
“Nothing contained in the present charter shall
authorize the UN to intervene in matters which
are essentially within the domestic jurisdiction
of any state or shall require the member to
submit such matters to settlement under the
present charter; But this principle shall not
prejudice the application of enforcement
measures under chapter 7”
www.kpi.ac.th
กระบวนการสันติภาพ
กับปัญหาความขัดแย้งภายในประเทศ
ปัญหาความขัดแย้งภายในชาติใดชาติหนึ่งอาจมีสาเหตุ
จากเงื่อนไขหนึ่งหรือหลายประการประกอบกัน
• ความไม่เป็นธรรมในสังคม
• ความแตกต่างทางเชื้อชาติ ศาสนา เผ่าพันธุ์
• การรักษาการปกครองของรัฐ
• กฎหมายหรือองค์กรบังคับใช้กฎหมาย อ่อนแอ
• ภูมิรัฐศาสตร์ที่ไม่เอื้ออานวยให้อานาจการปกครองของรัฐบาลกลางสถาปนาครอบคลุมพื้นที่
อย่างเต็มประสิทธิภาพ
www.kpi.ac.th
ตัวชี้วัดความมั่งคั่ง
เงินออมในธนาคาร
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์
ที่ดิน
การกระจายการถือครองที่ดิน พ.ศ.๒๕๔๙ พบว่า ร้อยละ ๔๒ ของเกษตรกรมีที่ดิน ๑๐
ไร่หรือน้อยกว่า หรือไม่มีที่ดินเลย ซึ่งนับว่าเป็นสัดส่วนที่สูงมาก
www.kpi.ac.th
สถิติโดยธนาคารแห่งประเทศไทย(มิถุนายน ๕๒) : ๔๒%ของเงินฝากทั้ง
ประเทศถูกถือโดย ๗๐,๐๐๐ บัญชี กระจุกตัวอยู่ในมือคนกลุ่มเล็ก ๆ
หุ้นในตลาดหลักทรัพย์ : ระหว่างปี ๒๕๓๘ ถึง ๒๕๔๗ พบว่า ๑๑
ตระกูลผลัดกันเป็นเจ้าของหุ้นที่มีมูลค่าสูงสุด ๕อันดับแรก
The World Competitiveness Scoreboard 2011
• Hong Kong
• USA
• Singapore
• Sweden
• Switzerland
• Taiwan
• Canada
• Qatar
• Australia
• Luxembourg
Germany
Denmark
Norway
Netherlands
Finland
Malaysia
Israel
Austria
China
UK
Global Peace Index
1 Iceland
2 New Zealand
3 Japan
4 Denmark
5 Czech Republic
6 Austria
7 Finland
8 Canada
9 Norway
10 Slovenia
1
Corruption Perceptions Index 2010
1 Denmark
2 New Zealand
3 Singapore
4 Finland
5 Sweden
6 Canada
7 Netherland
8 Australia
9 Switzerland
10 Norway
Peace Country
www.kpi.ac.th,www.thaipoliticsgove
rnment.org 1
Indicator
• Internal Peace 60%
• External Peace 40%
• การรับรู้จากความผิดทางอาญาในสังคม 4
• จานวนเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยภายในและตารวจต่อ 100,000 คน 3
• จานวนคดีฆาตกรรมต่อ 100,000 คน 4
• จานวนประชากรตะรางต่อ 100,000 คน 3
• ความง่ายดายในการเข้าถึงอาวุธทาลายล้างน้อย 3
• ระดับของความขัดแย้งที่จัด (ภายใน) 5
• โอกาสในการสาธิตการใช้ความรุนแรง 3
• ระดับของอาชญากรรมรุนแรง 4
• ความไม่แน่นอนทางการเมือง 4
• ระดับของการทาลายสิทธิมนุษยชน (หวาดกลัวการเมือง) 4
• ปริมาณของการถ่ายโอนจากอาวุธธรรมดาที่สาคัญเป็นผู้รับ (นาเข้า) ต่อ 100,000 คน 1
Indicator
• ที่มีศักยภาพสาหรับการก่อการร้าย 1
• จานวนผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้ง (ภายใน) 5
• ค่าใช้จ่ายทางทหารเป็นร้อยละ 2 ของ GDP
• เงินทุนสาหรับการสหประชาชาติ 2 ภารกิจรักษาสันติภาพ
• จานวนรวมของอาวุธหนักต่อ 100,000 คน 3
• ปริมาณการเคลื่อนย้ายอาวุธในการจัดจาหน่าย ต่อ 100,000 คน 3
• ความสามารถในการทหาร / 2 ความซับซ้อน
• จานวนคนพลัดถิ่นเป็นเปอร์เซ็นต์ของประชากร 4
• ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน 5
• จานวนของความขัดแย้งทั้งภายในและภายนอกต่อสู้: 2003-08 5
• จานวนโดยประมาณของการเสียชีวิตจากความขัดแย้งที่จัด (ภายนอก) 5
1
Rank Country Score
1 Iceland 1.148
2 New Zealand 1.279
3 Japan 1.287
4 Denmark 1.289
5 Czech Republic 1.320
6 Austria 1.337
7 Finland 1.352
8 Canada 1.355
9 Norway 1.356
10 Slovenia 1.358
11 Ireland 1.370
12 Qatar 1.398
13 Sweden 1.401
14 Belgium 1.413
15 Germany 1.416
16 Switzerland 1.421
17 Portugal 1.453
18 Australia 1.455
19 Malaysia 1.467
20 Hungary 1.495
21 Uruguay 1.521
22 Poland 1.545
23 Slovakia 1.576
24 Singapore 1.585
25 Netherlands 1.628
1
Rank Country Score
26 United Kingdom 1.631
27 Taiwan 1.638
28 Spain 1.641
29 Kuwait 1.667
30 Vietnam 1.670
31 Costa Rica 1.681
32 Laos 1.687
33 United Arab Emirates 1.690
34 Bhutan 1.693
35 Botswana 1.695
36 France 1.697
37 Croatia 1.699
38 Chile 1.710
39 Malawi 1.740
40 Romania 1.742
41 Oman 1.743
42 Ghana 1.752
43 Lithuania 1.760
44 Tunisia 1.765
45 Italy 1.775
46 Latvia 1.793
47 Estonia 1.798
48 Mozambique 1.809
49 Panama 1.812
50 South Korea 1.829
51 Burkina Faso 1.832
52 Zambia 1.833
Rank Country Score
53 Bulgaria 1.845
54 Namibia 1.850
55 Argentina 1.852
56 Tanzania 1.858
57 Mongolia 1.880
58 Morocco 1.887
59 Moldova 1.892
60 Bosnia and Hercegovina 1.893
61 Sierra Leone 1.904
62 The Gambia 1.910
63 Albania 1.912
64 Jordan 1.918
65 Greece 1.947
66 Paraguay 1.954
67 Cuba 1.964
68 Indonesia 1.979
69 Ukraine 1.995
69 Swaziland 1.995
71 Cyprus 2.013
72 Nicaragua 2.021
73 Egypt 2.023
74 Brazil 2.040
75 Equatorial Guinea 2.041
76 Bolivia 2.045
77 Senegal 2.047
78 Macedonia 2.048
79 Trinidad and Tobago 2.051
80 China 2.054
81 Gabon 2.059
82 United States of America 2.063
Rank Country Score
83 Bangladesh 2.070
84 Serbia 2.071
85 Peru 2.077
86 Cameroon 2.104
87 Angola 2.109
88 Guyana 2.112
89 Montenegro 2 .113
90 Ecuador 2.116
91 Dominican Republic 2.125
92 Guinea 2.126
93 Kazakhstan 2.137
94 Papua New Guinea 2.139
95 Nepal 2.152
96 Liberia 2.159
96 Uganda 2.159
98 Congo (Brazzaville) 2.165
99 Rwanda 2.185
100 Mali 2.188
101 Saudi Arabia 2.192
102 El Salvador 2.215
103 Tajikistan 2.225
104 Eritrea 2.227
105 Madagascar 2.239
106 Jamaica 2.244
107 Thailand 2.247 1
Rank Country Score
108 Turkmenistan 2.248
109 Armenia 2.260
109 Uzbekistan 2.260
111 Kenya 2.276
112 Belarus 2.283
113 Haiti 2.288
114 Kyrgyz Republic 2.296
115 Cambodia 2.301
116 Syria 2.322
117 Honduras 2.327
119 Iran 2.356
119 Niger 2.356
121 Mexico 2.362
122 Azerbaijan 2.379
123 Bahrain 2.398
124 Venezuela 2.403
125 Guatemala 2.405
126 Sri Lanka 2.407
127 Turkey 2.411
128 Cote d’ Ivoire 2.417
129 Algeria 2.423
130 Mauritania 2.425
131 Ethiopia 2.468
132 Burundi 2.532
133 Myanmar 2.538
134 Georgia 2.558
135 India 2.570
Rank Country Score
136 Philippines 2.574
137 Lebanon 2.597
138 Yemen 2.670
139 Colombia 2.700
140 Zimbabwe 2.722
141 Chad 2.740
142 Nigeria 2.743
143 Libya 2.816
144 Central African Republic 2.869
145 Israel 2.901
146 Pakistan 2.905
147 Russia 2.966
148 Democratic Republic of Congo 3.016
149 North Korea 3.092
150 Afghanistan 3.212
151 Sudan 3.223
152 Iraq 3.296
153 Somalia 3.379
สภาพสังคมไทยนาสู่ความขัดแย้ง
• สังคมไก่ตรุษจีน สังคมทอนกำลัง สังคมอัตตวิบำกกรรม
• สังคมที่พูดแต่สมานฉันท์ แต่กลับใช้ความรุนแรง
• สังคมแบ่งฝักแบ่งฝ่าย ตั้งป้อม ปกป้อง ยึดตัวเองเป็นที่ตั้ง
• สังคมหลายมาตรฐาน ตั้งกฎเกณฑ์ของตนเอง
• สังคมขาดระเบียบวินัย “ทาอะไรตามใจคือไทยแท้”
• ขาดกฎ กติกา มารยาท คุณธรรม จริยธรรม
• ชอบรวบอำนำจ เผด็จกำร รวมศูนย์อำนำจ
• ชอบลัทธิทุนนิยม
จุดอ่อนสังคมไทย
•มีความไม่สุจริต
•มีความเกรงใจ
•ไม่ค่อยมีความอดทน
•ไม่มีความกตัญญู
•ไม่ชอบเห็นคนอื่นดีกว่าตน
•ไม่เข้าใจแก่นแท้ของศาสนา
•ยกย่องนับถือคนทีมียศฐาบรรดาศักดิ์มีฐานะทางการเงินดี
•เชื่อในเรื่องโชคลาภ เครื่องรางของขลัง
"10 สุดยอดมิตรชาวต่างชาติของจีน" ด้วยการลงคะแนนของชาวเน็ต
คณะกรรมการตัดสินการประกวดครั้งนี้ 10 อันดับ
1.นายฮวน อันโตนิโอ ซามารานซ์ อดีตประธานโอลิมปิกสากล ชาวสเปน ที่เป็นผู้สนับสนุนให้
จีนได้จัดกีฬาโอลิมปิกในปี 2008
2.สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3.Norman Bethune นายแพทย์ชาวแคนาดา ผู้เสียชีวิตในสงครามจีน-ญี่ปุ่น ในปี 1930 โดย
การรักษาชีวิตของทหารจีน
4.John Rabe ชาวเยอรมัน ผู้ช่วยชีวิตชาวจีน 2.5 แสนคน ระหว่างการสังหารโหดที่นานกิง
โดยการรุกรานของญี่ปุ่น
5.Edgar Snow นักเขียนอเมริกัน ผู้เขียน "Red Star over China" in the 1930 ที่ทาให้
กองทัพแดงและประธานเหมา เจ๋อตุง เป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
A Publication by
www.knowtheprophet.com
36
"10 สุดยอดมิตรชาวต่างชาติของจีน" ด้วยการลงคะแนนของชาวเน็ต
คณะกรรมการตัดสินการประกวดครั้งนี้ 10 อันดับ
6.Dr.Joseph Needham นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ ผู้ใช้เวลาเกือบ 50 ปี ในการประพันธ์
"Science and Civilisation in China"
7.Israel Epstein ชาวโปแลนด์เชื้อชาติจีน
8.นักการศึกษา นิวซีแลนด์ Rewi Alley
9.นายแพทย์ชาวอินเดีย Kwarkanath S. Kotnis และ
10. Morihiko Hiramatsu อดีตผู้ว่าราชการจังหวัด Oita ประเทศญี่ปุ่น 8 สมัย เป็นผู้นาการ
พัฒนาโครงการ หนึ่งหมู่บ้านหนึ่งผลิตภัณฑ์ (One Village One Product) ที่เรียกย่อว่า
OVOP
A Publication by
www.knowtheprophet.com
37
มุมมองด้านภูมิรัฐศาสตร์
Heart Land and Rim Land Strategy
http://www.tortaharn.net/contents/index.php?option=com_content&task=view&id=63&Itemid=75&ccdate=6-2008
Pivot Area
ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์และทางเข้าถึง
 ที่ตั้งเป็นสิ่งที่มีลักษณะถาวร
 มีการเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์ในระยะเวลายาว
 ที่ตั้งของประเทศทั้งในส่วนของโลก และในส่วนของภูมิภาค
 ที่ตั้งของประเทศที่สัมพันธ์กับบรรดาสิ่งต่างๆ เช่น มวลแผ่นดิน พื้น
น้า โซนอากาศและวัตถุดิบต่างๆ
 ที่ตั้งของประเทศสัมพันธ์กับประเทศอื่น
 บริเวณหรือภูมิภาคบางแห่งและประเทศที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคนั้น
C H I N A
I N D I A
PA KI S TA N
I N D O N E S I A
S
U
M
A
T
R
A
T H A I L A N D
B U R M A
L
A
O
S
M
A
L
A
Y
S
IA
SI N GAPOR E
CA MB ODI A
V
I
E
T
N
A
M
G
U
L
F
O
F
S
IA
M
G U L F
O F
T O N KI N
A N D A M A N
S E A
BA Y
O F
BE N G AL
SOUTHCHINASEA
Singapore
Phnom
Penh
Bangkok
Vientiane
Hanoi
Rangoon
Kuala
Lum
pur
HO CH IMINH CITY
N
Country Capital-
BURMA, THAILAND, LAOS,
CAMBODIA, VIE TNAM,
S INGAP ORE and MALAYS IA
0 50 100 150 200 MI
0 50 100 200 300KM
EURASIA
รูปแบบการทาสงคราม
สังคมนิยมคอมมิวนิสต์
หนึ่งประเทศสองระบบ
มุสลิม/ท้องถิ่นนิยม
รูปแบบของการใช้กาลังอานาจแต่ละยุคสมัย
www.kpi.ac.th
ใช้กาลังอานาจของชาติเป็นเครื่องมือตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power
Media Power
National
Power
www.kpi.ac.th
การใช้อานาจในการต่อสู้ตามยุคสมัย
Military Power
Politics Power
Economics Power
Sociological Power(Religion,Culture)
Media Power
Facebook, Twitter, Vdolink, Mobile Phone,TV, Radio
National
Power
ยุทธศาสตร์ใหม่ของสหรัฐฯ
กาหนดเป็นยุทธศาสตร์แบบ ๔-๒-๑
สามารถยับยั้งภัยคุกคามได้ ๔ ภูมิภาค
เอาชนะได้อย่างรวดเร็ว ๒ ภัยคุกคาม
เอาชนะได้อย่างเด็ดขาด อย่างน้อย ๑ ใน ๒ ภัยคุกคาม
ให้ความสาคัญกับภูมิภาค East Asia, Northeast, South East Asia และ
Europe ตามลาดับ
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
องค์การเดินเรือระหว่างประเทศ (International Maritime Organizatin-IMO)
 เป็นหน่วยงานของ UN รับรองมาตรการต่อต้านการก่อการร้ายทางทะเลที่เรียกว่า The International Ship
and Port Facility Code (ISPS CODE) เมื่อปี 2545
 มาตรการที่กาหนดให้ประเทศสมาชิก IMO ที่รับรองมาตรการนี้จานวน 146 ประเทศ เพิ่มการรักษาความ
ปลอดภัยการเดินเรือเพื่อป้องกันการก่อการร้าย
 กาหนดให้เรือที่มีระวางตั้งแต่ 300-50,000 ตัน ต้องติดตั้งระบบ Automatic Information System
ภายใน 31 ธันวาคม 2547
 กาหนดให้เรือทุกลาต้องติดตั้งระบบเตือนภัยให้เจ้าหน้าที่บนฝั่งทราบถึงชื่อเรือ สถานที่ตั้ง และปัญหาด้านความ
ปลอดภัย
 กาหนดให้ท่าเรือมีการประเมินความปลอดภัยของท่าเรือ และจัดทาแผนรักษาความปลอดภัยสถานที่
 เรือลาใดที่ไม่ปฏิบัติตามระเบียบนี้จะไม่ได้รับใบประกาศความปลอดภัยการเดินเรือระหว่างประเทศ(International
Ship Security Certificate) ซึ่งจะทาให้ไม่สามารถจอดเข้าท่าเทียบเรือของประเทศสมาชิก IMO ได้
National Security Strategy
and Economic Strategy
• Raw Material
• Product & Container
• Money
• Man
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
World Muslim Population
General & Islamic Source
Continent Population in 2003 Muslim Population in 2003 Muslim Percentage
Africa 861.20 461.77 53.62
Asia 3830.10 1178.89 30.78
Europe 727.40 52.92 7.28
North America 323.10 6.78 2.10
South America 539.75 3.07 0.57
Oceania 32.23 0.60 1.86
Total 6313.78 1704.03 26.99
Muslim Population is increasing at the rate of 2.9%**
We are taking the rate of natural increase as 2% around the world. The Muslim population in 2003 was
1704.03 million.
**US Center For World Mission 1997 Report
Country Poppulation
China 1,347,350,000
India 1,210,193,422
Indonesia 237,641,326
Russia 143,100,000
Muslim Population
Country Population Percent Muslim Pop.
1 Africa 1,051.40 52.39 554.32
2 Asia 4,239.10 32.00 1,356.28
3 Europe 740.01 7.60 56.04
4 North America 346.20 2.20 7.61
5 South America 595.90 0.41 2.45
6 Oceania 37.14 1.50 0.54
Total 7009.75 1977.24
 ภูมิรัฐศาสตร์
 การปกครองในอาเซียนมีอย่างน้อย 5 รูปแบบ
 การนับถือศาสนา อิสลาม คริสต์ และพุทธ
 เชื้อชาติ เผ่าพันธ์ที่หลากหลาย
 ภาษาที่ใช้มีมากมาย
 การศึกษาที่แตกต่าง
 จานวนประชากร
 ศาสนา
ประเด็นที่น่าสนใจ
www.elifesara.com
สภาวะแต่ละประเทศ
•ความแตกต่างในระดับการพัฒนา
•พึ่งพิงภายนอกภูมิภาคมาก
•ขีดความสามารถแตกต่างกัน
•ความหลากหลายทางระบบการเมือง
•ความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•ความรู้สึกชาตินิยม
56
A Publication by www.elifesara.com
•มองภาพอาเซียนเพียงมิติเศรษฐกิจอย่างเดียว
•คิดทุกอย่างเพื่อเอาเปรียบประเทศเพื่อนบ้าน
•ไม่เข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรม
•มองเส้นเขตแดนเป็นปัญหาของประเทศ
•ขาดมุมมองด้านความเสมอภาค ความเท่าเทียมกัน และมนุษยธรรม
จุดอ่อนประเทศไทย
A Publication by www.elifesara.com
 มีสมาชิกที่ทุกคนมีคุณภาพในตัวเอง
 เปิดโอกาสให้ทุกคนสามารถพัฒนาไปถึงจุดสุดยอด
ของตัวเอง
 มีค่านิยมที่ทุกคนยอมรับในความแตกต่าง
หลากหลายของกันและกัน เคารพสิทธิของกันและกัน
(ส่งเสริมเสรีภาพของมนุษย์)
สังคมอริยะ (สังคมที่เจริญ) ต้องมีองค์ประกอบ ดังนี้
จากหนังสือ “อาเซียน รู้ไว้ ได้เปรียบแน่” ของ ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ
A Publication by www.elifesara.com
ความสงบ  ความสุข  ความปรารถณาของสังคมไทย
วิถีปฏิบัติ
ไม่เป็นทางการ มากกว่าเป็นทางการ
วิถีธรรมชาติ แต่ไม่ขาดตารา
Lifestyle วิธีสอดคล้องวิถีชีวิต
สุนทรียะศาสตร์-จากรากเหง้าพื้นฐานคนไทย Human
Touch Culture
ทาได้ไร้ปัญหา
อารมณ์ สมาธิ สติ
ความช่างเลือก ตีความไม่ตรงกัน คุณพ่อรู้ดี
ความจริงกับความรู้สึก มองไม่เห็นความแตกต่าง
ยึดติดไม่เปลี่ยนแปลง พวกสุดโต่ง
ความสงบสุขมีกาแพงขวางกั้น
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Más contenido relacionado

Más de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Más de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

ความสงบ ความสุข ความปรารถณาของสังคมไทย