SlideShare a Scribd company logo
1 of 45
Download to read offline
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน
เนนการคิด
การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต
เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว
จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด
โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด
เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้
แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย
แบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 1 และแบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 2 ซึ�งแตละภาคเรียนจะมีแบบทดสอบ 2 ชุด แตละชุดมีทั้ง
แบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยาง
ชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ
ที่สอดคลองกับมาตรฐาน
ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ
ตามระดับพฤติกรรมการคิด
ที่ระบุไวในตัวชี้วัด
วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด
และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน
คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม
ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ
คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน
ในระดับประเทศ (NT) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป
ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 1
ชุดที่
ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด
มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด
ระดับ
พฤติกรรม
การคิด
ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ
ระดับพฤติกรรมการคิด รวม
1 ท 5.1
1 1-3, 9-13, 23-27 A ความรูความจํา 1, 9, 14, 23-24 5
2 4-5, 14-18, 28-33 B ความเขาใจ 2, 10-11, 25 4
3 6-7, 19-22, 34-35 C การนําไปใช 3, 15, 19, 26, 28 5
4 8, 36-40 D การวิเคราะห 8, 16-17, 27, 29-31, 34, 36-37 10
E การสังเคราะห 6-7, 18, 20-21, 32-33, 38 8
F การประเมินคา 4-5, 12-13, 22, 35, 39-40 8
2 ท 5.1
1 1-2, 9-11, 23-26 A ความรูความจํา 9 1
2 3-4, 12-16, 27-30 B ความเขาใจ 1, 10-12, 27, 31, 36 7
3 5-8, 17-22, 31-35 C การนําไปใช 2-3, 17, 23, 32, 37-38 7
4 36-40 D การวิเคราะห 5-6, 13-14, 18, 28-29, 33, 39-40 10
E การสังเคราะห 7, 15, 19, 24, 30, 34 6
F การประเมินคา 4, 8, 16, 20-22, 25-26, 35 9
หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2
(1)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
4. “วรรณคดีไทยคือกระจกเงาสะทอนสังคมในยุคนั้นๆ”
ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด
1. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของชนชาติไทย
2. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของกวีแตละสมัย
3. วรรณคดีไทยกลาวถึงความคิดเห็นของคนไทย
4. วรรณคดีไทยกลาวถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมในอดีต
5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร
1. ใหความเพลิดเพลิน
2. ใหความเขาใจในชีวิต
3. ใหแนวคิดและกลวิธีในการนําเสนอ
4. ใหประสบการณที่สามารถนําไปประยุกตใชได
6. ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ
บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ
บทประพันธขางตน
1. เสียงรํ่าไหสนั่นกอง กังวาน
2. เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม
3. วังเอยวังเวง หงางเหงงยํ่าคํ่าระฆังขาน
4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา
7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น
1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
2. กระแหแหหางชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม
3. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย
4. ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทําสมํ่าเสมียน
4.
ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด
F
1. ใหความเพลิดเพลิน
5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร
1. ใหความเพลิดเพลิน1. ใหความเพลิดเพลินF 1. ใหความเพลิดเพลิน
บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ
6.
บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ
E
4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา
1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น
1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนางE 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง
1. “งานประพันธที่มีรูปแบบเหมาะกับเนื้อหา มีศิลปะ
การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ
จินตนาการของมนุษยเปนเรื่องราวที่นาสนใจได”
ขอความนี้เปนลักษณะของคําในขอใด
1. วรรณคดี
2. วรรณศิลป
3. วรรณกรรม
4. ฉันทลักษณ
2. “งานประพันธที่มีเนื้อหาพรรณนาถึงการเดินทาง
และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก
ตลอดการเดินทาง”
ขอความนี้เปนลักษณะของคําประพันธชนิดใด
1. ฉันท
2. ลิลิต
3. นิราศ
4. กาพย
3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนื้อหา
ขอใดกลาวถูกตอง
1. โคลงโลกนิติจัดเปนวรรณคดีคําสอน
2. ลิลิตนารายณสิบปางจัดเปนวรรณคดีการละคร
3. ไตรภูมิพระรวงจัดเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ
4. เสภาพระราชพงศาวดารจัดเปนวรรณคดี
ขนบธรรมเนียมประเพณี
การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ
1.
การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และการประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และA การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ
และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก
2.
และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รักและแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รักB และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก
3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนื้อหา
ขอใดกลาวถูกตองB
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
40
ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
ชุดที่ 1
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
50
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
(2)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
8. ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู
บทประพันธขางตนมีความดีเดนทางดานวรรณศิลป
อยางไร
1. มีการเลนคํา
2. มีการเลนเสียงสระ
3. มีการเลนเสียงพยัญชนะ
4. มีการเลนเสียงวรรณยุกต
9. นายลํ้ามอบสิ่งใดเปนของขวัญวันแตงงานแกแมลออ
1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให
2. แหวนรักของนายลํ้าที่ใสมาตั้งแตยังหนุม
3. สรอยที่แมนวลซื้อใหนายลํ้ากอนเสียชีวิต
4. แหวนของแมนวลที่นายลํ้าเก็บไวดูตางหนา
10. “ไมใชวาใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไมใหมีการ
ผงกหัวไดอีก”
คําวา “ผงกหัว” ในบทสนทนานี้มีความหมายโดยนัยวา
อยางไร
1. พยักหนา
2. กมศีรษะเบาๆ
3. กลับตัวกลับใจ
4. ยอมรับความผิด
11. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหนายลํ้ามาแสดงตัวในบาน
ของพระยาภักดี
1. เพราะไมมีทางทํามาหากิน
2. เพราะตั้งใจจะมาพึ่งพาลูกสาว
3. เพราะเปนหวงลูกสาวที่กําลังจะแตงงาน
4. เพราะตองการแสดงความรักของพอที่มีตอลูก
12. “ดิฉันจะเขาไปในเรือนเสียทีคะ คุณพอกับคุณอา
คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”
จากบทสนทนานี้แสดงวาแมลออเปนคนเชนไร
1. เปนคนขี้อาย
2. เปนคนรูจักกาลเทศะ
3. เปนคนสุภาพออนหวาน
4. เปนคนไมกลาสูหนาคน
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู
8.
หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทูD หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทูD หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู
1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให
9. นายลํ้ามอบสิ่งใดเปนของขวัญวันแตงงานแกแมลออ
1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อใหA 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให
10.
B
ของพระยาภักดี
11. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหนายลํ้ามาแสดงตัวในบาน
ของพระยาภักดีของพระยาภักดีB ของพระยาภักดี
คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”
12.
คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”F คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”
13. พระยาภักดีเสนอเงินจํานวนหนึ่งรอยชั่งใหแกนายลํ้า
เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ
จากการกระทํานี้แสดงใหเห็นวาพระยาภักดีมีลักษณะนิสัย
อยางไร
1. ดูถูกคนยากจน
2. โออวดความรํ่ารวย
3. มีความรักและหวังดีตอลูก
4. มีนํ้าใจชอบชวยเหลือคนยากจน
14. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สํานวนภาษาใดที่ไมนิยม
ใชในปจจุบัน
1. คุณจะใหผมขายลูกผมยังงั้นหรือ
2. แมลออก็จะมีเหยามีเรือนอยูแลว
3. ก็แนละ ไมมีเงินก็อดตายเทานั้นเอง
4. แกไดพยายามที่จะสําแดงใหปรากฏอยางไรบาง
15. รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธบทละครพูดไวเปน
จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่
ตางจากบทละครพูดเรื่องอื่นๆ อยางไร
1. เปนละครพูดที่มีองกเดียวและฉากเดียว
2. เปนละครพูดที่มีขนาดยาวกวาละครพูดเรื่องอื่นๆ
3. เปนละครพูดที่ไมมีเคาโครงเรื่องมาจากตางประเทศ
4. เปนละครพูดที่มุงแสดงคุณธรรมใหคนทั่วไปไดยึดถือ
และปฏิบัติตาม
16. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นักเรียนคิดวาลักษณะ
ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง
1. นายลํ้า 2. อายคํา
3. แมลออ 4. พระยาภักดี
17. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้ายอมกลับ
โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ
1. เพื่อพิสูจนความเปนชายชาตรี
2. เพื่อใหแมลออมีชีวิตที่สุขสบาย
3. เพื่อแสดงใหเห็นวาตนมีศักดิ์ศรี
4. เพื่อตองการเอาชนะคําสบประมาทของพระยาภักดี
18. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก จากคํากลาวของอายคําที่วา
“ผมบอกวาใตเทายังไมกลับจากออฟฟศ ก็ไมยอมไป”
สะทอนลักษณะการใชภาษาในสมัยนั้นอยางไร
1. ภาษาแสดงความเจริญทางวัฒนธรรม
2. คนรับใชใชภาษาระดับเดียวกับเจานาย
3. ภาษาตางประเทศมีใชในภาษาพูดของคนไทย
4. คนทุกชนชั้นมีความรูทางดานภาษาตางประเทศ
เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ
13. พระยาภักดีเสนอเ
เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออเพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออF เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ
ใชในปจจุบัน
14. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สํานวนภาษาใดที่ไมนิยม
ใชในปจจุบันใชในปจจุบันA ใชในปจจุบัน
จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่
15. รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธบทละครพูดไวเปน
จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่C จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่
ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง
16. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นักเรียนคิดวาลักษณะ
ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่องของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่องD ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง
โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ
17. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้ายอมกลับ
โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญโดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญD โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ
18. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก จากคํากลาวของอายคําที่วา
E
(3)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
19. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก บทสนทนาในขอใด
แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี
1. แกรับเงินรอยชั่งแลวรีบไปเสียเถอะ
2. ก็ถาพูดกันดีๆ ไมชอบก็ตองพูดกันอยางเดียรฉาน
3. แกสูฉันไมไดหรอก ฤทธิ์เหลามันฆากําลังแก
เสียหมดแลว
4. เงินนะไมเสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและความสุข
ของแมลออ
20. “นํ้าเหลืองๆ ไมมีหรือครับ มันคอยชื่นอกชื่นใจ
หนอยหนึ่ง?”
จากบทสนทนานี้ จัดเปนบทสนทนาที่เหมาะสมกับตัวละคร
ในดานใด
1. บทสนทนาที่เหมาะสมกับนิสัยตัวละคร
2. บทสนทนาที่เหมาะสมกับอายุตัวละคร
3. บทสนทนาที่เหมาะสมกับฐานะตัวละคร
4. บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพตัวละคร
21. ใจความสําคัญของบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก คือขอใด
1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก
2. จิตผองใสนํามาซึ่งความสุข
3. พอในอุดมคติของลูกทุกคน
4. จิตใจที่บริสุทธิ์ของพอที่มีตอลูก
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงแนวคิดสําคัญในขอใด
เดนชัดที่สุด
1. ความหวงใยของพอที่มีตอลูก
2. ความเสียสละของพอที่มีตอลูก
3. ความปรารถนาดีของพอที่มีตอลูก
4. ความรักที่ยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก
23. สุนทรภูแตงนิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณี
โดยใชเคาโครงจากแหลงใด
1. นิทานชาดก 2. นิทานมุขปาฐะ
3. นิทานสุภาษิต 4. จินตนาการของทานเอง
24. พระยินดีชี้บอกสินสมุทร
โนนแนกุฏิ์มุงกระเบื้องเหลืองสลับ
คําวา “กุฏิ์” ในคําประพันธขางตน หมายถึงขอใด
1. ศาลาวัด
2. ที่อยูของนักบวช
3. บานพักของโยคีบนภูเขา
4. ศาลาสรางเปนหลังเรียงกันเปนแนวรอบโบสถ
แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี
1. แกรับเงินรอยชั่งแลวรีบไปเสียเถอะ
19. ในบทละค
แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดีC แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดีC แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี
หนอยหนึ่ง?”
20.
หนอยหนึ่ง?”E หนอยหนึ่ง?”E หนอยหนึ่ง?”
1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก
2. จิตผองใสนํามาซึ่งความสุข
21. ใจความสําคัญของบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก คือขอใด
1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก1. คนเปนพอไมควรทําลายลูกE 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก
เดนชัดที่สุด
1. ความหวงใยของพอที่มีตอลูก
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงแนวคิดสําคัญในขอใด
เดนชัดที่สุดเดนชัดที่สุดF เดนชัดที่สุด
โดยใชเคาโครงจากแหลงใด
23. สุนทรภูแตงนิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณี
โดยใชเคาโครงจากแหลงใดA โดยใชเคาโครงจากแหลงใดA โดยใชเคาโครงจากแหลงใด
โนนแน
24.
โนนแนA โนนแนA โนนแน
25. คําศัพทในขอใดมีความหมายตางจากขออื่น
1. ชลาลัย ชลธี
2. คงคา นที
3. สายชล วารี
4. นภาพร อัมพร
26. วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีมีลักษณะที่แตกตางจาก
วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร
1. ตัวเอกมีภรรยาหลายคน
2. ตัวเอกมักถูกยักษหรือโจรลักพาไป
3. แสดงแนวคิดที่แปลกใหมของตัวละคร
4. ตัวเอกเปนโอรสกษัตริยตองไปเรียนวิชาตางๆ
27. ผลงานที่แสดงประวัติชีวิตของสุนทรภูไดชัดเจนที่สุดคือ
ผลงานประเภทใด
1. นิราศ
2. นิทาน
3. บทละคร
4. บทเสภา
28. นิราศสุพรรณมีลักษณะพิเศษแตกตางจากนิราศเรื่องอื่น
ของสุนทรภูในขอใด
1. ที่มาของเรื่อง
2. เนื้อหาของเรื่อง
3. ลักษณะคําประพันธ
4. จุดมุงหมายในการแตง
29. ลักษณะคําประพันธของสุนทรภูมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกตาง
จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร
1. แสดงแนวคิดของผูแตงชัดเจน
2. เครงครัดเรื่องคําและความหมาย
3. มีความไพเราะในรสคําและรสความ
4. มีสัมผัสในทุกวรรคทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร
30. จากเรื่องพระอภัยมณี บทประพันธในขอใดตอไปนี้
ไมไดสะทอนความเชื่อของคนไทย
1. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน
วาเทวัญที่เกาะนั้นเหาะเหิน
2. ดวยโยคีมีมนตดลวิชา
ปราบบรรดาภูติพรายไมกรายไป
3. นึกจะใครสะเดาะพระเคราะหเจา
พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ
4. เจียระบาดคาดองคก็ทรงเปลื้อง
ใหเปนเครื่องนุงหมโอรสา
1. ชลาลัย ชลธี
25. คําศัพทในข
1. ชลาลัย ชลธี1. ชลาลัย ชลธีB 1. ชลาลัย ชลธี
วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร
26. วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีมีลักษณะที่แตกตางจาก
วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไรวรรณคดีเรื่องอื่นอยางไรC วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร
ผลงานประเภทใด
27. ผลงานที่แสดงประวัติชีวิตของสุนทรภูไดชัดเจนที่สุดคือ
ผลงานประเภทใดผลงานประเภทใดD ผลงานประเภทใด
ของสุนทรภูในขอใด
28. นิราศสุพรรณมีลักษณะพิเศษแตกตางจากนิราศเรื่องอื่น
ของสุนทรภูในขอใดของสุนทรภูในขอใดC ของสุนทรภูในขอใด
จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร
29. ลักษณะคําประพันธของสุนทรภูมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกตาง
จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไรจากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไรD จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร
30. จากเรื่องพระอภัยมณี บทประพันธในขอใดตอไปนี้
D
(4)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
31. จึงบัญชาวาเจาสินสมุทร
ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา
ขอสมาตาปูอยาดูเบา
ชวยอุมเอาแกออกไปใหสบาย
คําประพันธขางตนสะทอนวัฒนธรรมไทยในเรื่องใด
1. ความมีนํ้าใจ
2. ความออนโยน
3. ความกตัญูกตเวที
4. การมีสัมมาคารวะตอผูใหญ
32. เหตุใดจึงมีคํากลาววา “สุนทรภูคือผูใชชีวิตอยางแทจริง”
1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู
2. ชีวิตของสุนทรภูมีอุปสรรคแตทานกลับไมทอถอย
3. ชีวิตของสุนทรภูมีตั้งแตรุงเรืองสูงสุดจนถึงขั้นตกตํ่าสุด
4. ทุกขอที่กลาวมาถูกตอง
33. เพราะเหตุใดเรื่องพระอภัยมณีจึงถือเปนวรรณคดีเรื่องเดน
และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู
1. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องดี แทรกประสบการณ
2. ภาษาเขาใจงาย ไมใชศัพทสูง แฝงคติเตือนใจ
3. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องสนุก จินตนาการแปลกใหม
4. ผูกเรื่องขึ้นเองจากจินตนาการ เนื้อเรื่องสนุกตื่นเตน
34. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย
1. พระโยคี 2. เงือกนํ้า
3. สินสมุทร 4. พระอภัยมณี
35. ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของเรื่องพระอภัยมณี
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
1. ความรักชนะทุกอยาง
2. ความรักกอใหเกิดทุกข
3. ความรักคือการเสียสละ
4. ความรักแบบไมเต็มใจยอมไมยั่งยืน
36. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย
1. ทั้งนี้เพราะเคราะหกรรมทําใหวุน
จึงสิ้นบุญวาสนานิจจาเอย
2. อยาฆาสัตวตัดชีวิตพิษฐาน
หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค
3. เราลงเลขเสกทําไวสําเร็จ
ดังเขื่อนเพชรภูตปศาจไมอาจใกล
4. ดวยองคพระชนนีเปนผีเสื้อ
อันชาติเชื้ออยูถํ้าลําละหาร
ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา
31.
ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขาไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขาD ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา
1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู
32. เหตุใดจึงมีคํากลาววา “สุนทรภูคือผูใชชีวิตอยางแทจริง”
1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรูE 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู
และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู
33. เพราะเหตุใดเรื่องพระอภัยมณีจึงถือเปนวรรณคดีเรื่องเดน
และไดรับความนิยมมากของสุนทรภูและไดรับความนิยมมากของสุนทรภูE และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู
ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย
34. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตยตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตยD ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
35. ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของเรื่องพระอภัยมณี
ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อF ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย
36. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ
คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทยคําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทยD คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย
37. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน
วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน
มาสังหารผลาญถํ้าระยําเยิน
แกวงพะเนินทุบนางแทบวางวาย
ความฝนของนางผีเสื้อสมุทรในคําประพันธขางตน
เปนความฝนลักษณะใด
1. บุรพนิมิต
2. จิตนิวรณ
3. เทพสังหรณ
4. ธาตุโขภะ
38. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ
เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
บทประพันธนี้มีคํายืมที่เปนทั้งภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต
กี่คํา
1. 1 คํา
2. 2 คํา
3. 3 คํา
4. 4 คํา
39. บทกลอนในขอใดใชกลวิธีการประพันธแตกตางขออื่น
1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
2. ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
3. กระโหเรียงเคียงกระโหขึ้นโบกหาง
ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน
4. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา
คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล
40. จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ
ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
ฟงสําเนียงเสียงคลื่นดังครื้นโครม
ยิ่งทุกขโทมนัสในฤทัยทวี
คําประพันธขางตนแสดงบุคลิกลักษณะใดของพระอภัยมณี
1. หวาดกลัว ขี้ขลาด
2. ออนแอ วิตกกังวล
3. หวาดกลัว ทุกขใจ
4. ออนแอ ขาดความมั่นใจ
วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน
37.
วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหินวาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหินD วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน
เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
38.
เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉาเพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉาE เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
39. บทกลอนในขอใดใชกลวิธีการประพันธแตกตางขออื่น
1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคูF 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
40.
ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉมใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉมF ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
(5)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
1. เพราะเหตุใดวรรณคดีไทยสวนใหญจึงเปนผลงานการประพันธของผูประพันธชาย (3 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงใหเห็นถึงสัจธรรมของมนุษยไวอยางไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ (4 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
3. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตัวละครใดมีความนาเห็นใจมากที่สุด เพราะเหตุใด (3 คะแนน)
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
10
ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน
(6)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
5. วรรณคดีเรื่องใดแสดงแนวคิดที่วา “ธรรมะยอมชนะ
อธรรม”
1. รามเกียรติ์
2. พระอภัยมณี
3. ขุนชางขุนแผน
4. พระราชพิธีสิบสองเดือน
6. บทประพันธในขอใดมีวรรณศิลปดานการเลนเสียง
พยัญชนะเดนชัดที่สุด
1. เห็นหรุมรุมทรวงเศรา รุมรุมเราคือไฟฟอน
2. เทโพพื้นเนื้อทอง เปนมันยองลองลอยมัน
3. นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา
4. ทองหยอดทอดสนิท ทองมวนมิดคิดความหลัง
7. บทประพันธในขอใดใหจินตภาพตางจากขออื่น
1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า
2. ทั้งทุมตํ่ารํ่าเรื่อยจะเจื้อยแจว
3. วะแววเพียงเสียงพอซอสายเอก
4. ประกายพรึกกะพริบพลิ้วพนทิวไม
8. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง
2. เพลงพื้นบานไทยเปนวรรณกรรมที่ควรอนุรักษไว
3. คุณคาทางวรรณศิลปของวรรณกรรมคือชวยจรรโลงใจ
ผูอาน
4. รูปแบบของงานเขียนเชิงสรางสรรคไมจําเปนตอง
สอดคลองกับเนื้อหา
อธรรม”
5. วรรณ
อธรรม”D อธรรม”D อธรรม”
6. บทประพันธในขอใดมีวรรณศิลปดานการเลนเสียง
พยัญชนะเดนชัดที่สุดD
1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า
7. บทประพันธในขอใดใหจินตภาพตางจากขออื่น
1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่าE 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า
1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง
8. ขอใดกลาวไมถูกตอง
1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่งF 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง
1. “การใชเหตุผลอธิบายแสดงความคิดเห็นตอเนื้อหา
รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”
คํากลาวนี้มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด
1. การวิจารณวรรณคดี
2. การวิพากษวรรณคดี
3. การวิเคราะหวรรณคดี
4. การสังเคราะหวรรณคดี
2. ขอใดไมใชคุณสมบัติของวรรณคดี
1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม
2. เปนมรดกทางวัฒนธรรม
3. มีคุณคาควรแกการจดจํา
4. มีการสืบทอดกันมายาวนาน
3. คําในขอใดมีความหมายเหมือนกันทุกคํา
1. รัชนี ศศิธร โสม
2. วารี ธารา นภาพร
3. พสุธา ธาตรี สายชล
4. กัญญา นงราม คัคนานต
4. คุณคาที่สําคัญที่สุดของวรรณคดีคือคุณคาทางดานใด
1. คุณคาทางดานสังคม
2. คุณคาทางดานความรู
3. คุณคาทางดานความคิดและอารมณ
4. คุณคาทางดานขนบธรรมเนียมประเพณี
รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”
1.
รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”B รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”
1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม
2. ขอใดไมใชคุณสมบัติของวรรณคดี
1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหมC 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม
3. คําในขอใดมีความหมายเหมือนกันทุกคํา
C
4. คุณคาที่สําคัญที่สุดของวรรณคดีคือคุณคาทางดานใด
1. คุณคาทางดานสังคมF
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹àµçÁ
40
ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน
2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว
ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล ……………………………………………………………………………………………..
เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน …………………………………………………………………………………………….
สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ………………………………………..
โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด
ชุดที่ 2
แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
¤Ðá¹¹·Õèä´Œ
¤Ðá¹¹ÃÇÁ
50
ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา
A B C D E F
(7)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
9. “หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นไวในใจเปนคนดี
ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”
ผูกลาวขอความนี้คือใคร
1. นายทองคํา
2. เจาคุณรณชิต
3. นายลํ้า ทิพเดชะ
4. พระยาภักดีนฤนาถ
10. วรรณคดีประเภทบทละครพูดมีลักษณะเดนในขอใดมากที่สุด
1. ฉากดี มีตัวละครมาก
2. ใหขอคิดในการดําเนินชีวิต
3. มีบทรักโศก ใหอารมณสะเทือนใจ
4. เรื่องสนุก คําพูดของตัวละครคมคายใหแงคิด
11. “ฉันหมายจะกลับมาใหทันคุณพอกลับทีเดียว”
จากขอความขางตนคําวา “หมาย” มีความหมายตรงกับ
ขอใด
1. ตั้งใจ 2. คิดฝน
3. กําหนด 4. คาดหวัง
12. การที่อายคําไมไวใจนายลํ้าเมื่อพบกันครั้งแรก
เพราะเหตุใด
1. นายลํ้ามีอาการมึนเมา
2. นายลํ้ามีกิริยาทาทางนากลัว
3. นายลํ้าแตงกายคอนขางจะปอนๆ
4. นายลํ้าหนาแก ผมหงอก หนายน
13. “เครื่องประดับประดาไมเปนของมีคาแตใชไดดี”
จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย
อยางไร
1. สมถะ 2. ยากจน
3. ไมฟุมเฟอย 4. ตระหนี่ถี่เหนียว
14. “ถึงการฉอโกงก็มีหลายชนิดหลายชั้นเหมือนกัน
ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา
อยูหรือ”
จากบทสนทนานี้ แสดงวาผูพูดเปนคนเชนไร
1. พูดปด 2. พูดโออวด
3. พูดเพอเจอ 4. พูดสอเสียด
ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”
9.
ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”A ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”
1. ฉากดี มีตัวละครมาก
10. วรรณคดีประเภทบทละครพูดมีลักษณะเดนในขอใดมากที่สุด
1. ฉากดี มีตัวละครมาก1. ฉากดี มีตัวละครมากB 1. ฉากดี มีตัวละครมาก
จากขอความขางตนคําวา
11.
จากขอความขางตนคําวา
B
เพราะเหตุใด
12. การที่อายคําไมไวใจนายลํ้าเมื่อพบกันครั้งแรก
เพราะเหตุใดเพราะเหตุใดB เพราะเหตุใด
จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย
13.
จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย
D
ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา
14.
ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยาถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยาD ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา
15. ขอใดแสดงวัฒนธรรมไทยที่ปรากฏในบทละครพูด
เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด
1. การจัดพิธีแตงงาน
2. การตอนรับผูมาเยือน
3. การแบงชนชั้นในสังคม
4. การเคารพนับถือผูอาวุโส
16. คําพูดของตัวละครในขอใดที่สอดคลองกับชื่อของ
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
1. หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นในใจเปนคนดี
ไมมีที่ติ
2. เด็กคนนี้ดีเกินที่จะเปนลูกของผม ผมมันเลวทราม
เกินที่จะเปนพอของเขา
3. อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขานับถือ
รูปผมอันเกานั้นวาเปนพอของเขา
4. พอถึงวันแตงงานของแมลออเจาคุณไดโปรดใหแหวน
แกเขา บอกวาเปนของรับไหวของผม
17. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีกลวิธีการเขียนแตกตาง
จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร
1. การนําเสนอเรื่อง
2. การใชคําสรรพนาม
3. การใชเครื่องหมายวรรคตอน
4. การเรียงลําดับคําเขาประโยค
18. เมื่อนายลํ้ามาพบพระยาภักดี และแสดงความประสงค
จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา
นายลํ้ามีลักษณะที่ไมควรนําเปนแบบอยางในขอใด
1. ความเห็นแกตัว
2. ความโกรธเคือง
3. ความใจรอน ไมรอบคอบ
4. ความรักตนเอง ไมกลัวใคร
19. ลักษณะนิสัยของแมลออในขอใดที่ควรนํามาเปน
แบบอยางมากที่สุด
1. การมีวาจาที่สุภาพ
2. การมีนํ้าใจตอผูอื่น
3. การเคารพนับถือผูใหญ
4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ
20. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้าตองเปน
ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด
1. แพภัยตนเอง
2. แพความดีของแมลออ
3. แพความดีของพระยาภักดี
4. แพคุณธรรมประจําใจตนเอง
เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด
15. ขอใดแสดงวัฒนธรร
เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุดเรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุดE เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด
4. การเคารพนับถือผูอาวุโส
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
1. หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นในใจเปนคนดี
16. คําพูดของตัวละครในขอใดที่สอดคลองกับชื่อของ
บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกF บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก
จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร
17. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีกลวิธีการเขียนแตกตาง
จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไรจากวรรณกรรมปจจุบันอยางไรC จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร
จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา
นายลํ้ามีลักษณะที่ไมควรนําเปนแบบอยางในขอใด
18. เมื่อนายลํ้ามาพบพระยาภักดี และแสดงความประสงค
จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวาจะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวาD จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา
แบบอยางมากที่สุด
19. ลักษณะนิสัยของแมลออในขอใดที่ควรนํามาเปน
แบบอยางมากที่สุดแบบอยางมากที่สุดE แบบอยางมากที่สุด
4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ
ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด
20. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้าตองเปน
ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใดฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใดF ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด
(8)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
21. บทบรรยายที่มีในบทละครพูดมีประโยชนตอเนื้อเรื่อง
ของบทละครอยางไร
1. เสริมความเขาใจ 2. เสริมบทสนทนา
3. เชื่อมบทสนทนา 4. กํากับบทใหตัวละครแสดง
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใหประโยชนในขอใด
มากที่สุด
1. ใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน
2. ใหขอคิดคติธรรมในการดําเนินชีวิต
3. ใหความรูในการประกอบอาชีพสุจริต
4. ใหความรูเกี่ยวกับลักษณะของวรรณคดีการละคร
23. คิดถึงนองสองชนกที่ปกเกลา
จะสรอยเศราโศกานาสงสาร
บทประพันธขางตน คําวา “นอง” หมายถึงตัวละครใด
1. นางเงือก 2. ศรีสุวรรณ
3. นางผีเสื้อสมุทร 4. นางสุวรรณมาลี
24. เพราะเหตุใดผูอานเรื่องพระอภัยมณีจึงจําบทกลอน
ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน
1. เพราะผูอานเคารพและชื่นชมสุนทรภู
2. เพราะมีการบังคับใหทองเปนบทอาขยาน
3. เพราะถอยคําเปนคําสอนที่ตองตีความมาก
4. เพราะทั้งรสคําและรสความมีความไพเราะ
และความหมายดี
25. การที่ปของพระอภัยมณี เปนเครื่องดนตรีชิ้นสําคัญ
ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น
เพลงปของพระอภัยมณีจึงถือเปนสัญลักษณที่เทียบได
กับสิ่งใด
1. พลังอํานาจ 2. ความเปนศิลปน
3. ถอยคําหรือคําพูด 4. ความรูสึกออนไหว
26. จะไปไหนไมพนผีเสื้อนํ้า
วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี
ทานสงเราเขาที่เกาะละเมาะนี้
แลวรีบหนีไปในนํ้าแตลําพัง
จากบทประพันธนี้การกระทําของพระอภัยมณีแสดงให
เห็นถึงคุณธรรมในขอใดชัดเจนที่สุด
1. กลาหาญ 2. เสียสละ
3. กตัญู 4. เห็นอกเห็นใจผูอื่น
ของบทละครอยางไร
21. บทบรรยายที่มีใ
ของบทละครอยางไรของบทละครอยางไรF ของบทละครอยางไร
มากที่สุด
22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใหประโยชนในขอใด
มากที่สุดมากที่สุดF มากที่สุด
จะสรอยเศราโศกานาสงสาร
23.
จะสรอยเศราโศกานาสงสารจะสรอยเศราโศกานาสงสารC จะสรอยเศราโศกานาสงสาร
ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน
24. เพราะเหตุใดผูอานเรื่องพระอภัยมณีจึงจําบทกลอน
ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอนที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอนE ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน
ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น
25. การที่ปของพระอภัยมณี เปนเครื่องดนตรีชิ้นสําคัญ
ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้นที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้นF ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น
วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี
26.
วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผีวิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผีF วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี
27. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา
คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล
จากบทประพันธนี้ คําวา “คลายคลาย” มีความหมาย
ตรงกับขอใด
1. เกือบเหมือนกัน
2. จําไดอยางลางเลือน
3. เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ
4. วายไปมาเปนจํานวนมาก
28. ขอใดมีภาพพจนทั้งอุปมาและอติพจน
1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง
นอยหรือยังโหยกเหยกเด็กเกเร
2. อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด
แคนโอรสราวกับไฟไหมมังสา
3. ขาจะพาไปจับจงกลับหลัง
ใหไดดังมุงมาดปรารถนา
4. ไมพบเห็นเปนเพลาเขาราตรี
อสุรีเหลือแคนแนนอุรา
29. คํากลอนในขอใดเปนลักษณะคติชาวบานคือผัวเมีย
ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน
1. อยูดีดีหนีเมียมาเสียได
เสียนํ้าใจนองรักเปนหนักหนา
2. พระเสด็จไปไหนจะไปดวย
เปนเพื่อนมวยภัสดาจนอาสัญ
3. พี่มนุษยสุดสวาทเปนชาติยักษ
จงคิดหักความสวาทใหขาดสูญ
4. จงตัดบวงหวงใยอาลัยลาญ
อยาปองผลาญลูกผัวของตัวเลย
30. บทประพันธในขอใดแสดงธรรมเนียมการประพฤติ
อยางไทย
1. พงศกษัตริยตรัสชวนสินสมุทร
สอนใหบุตรขอสมาอัชฌาสัย
2. พงศกษัตริยทัศนานางเงือกนอย
ดูแชมชอยโฉมเฉลาทั้งเผาผม
3. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ
เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา
4. ฝายองคพระอภัยวิไลโฉม
ปลอบประโลมลูกชายจะผายผัน
คอยเคลื่อนคลา
27.
คอยเคลื่อนคลาคอยเคลื่อนคลาB คอยเคลื่อนคลา
1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง
28. ขอใดมีภาพพจนทั้งอุปมาและอติพจน
1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดังD 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง
ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน
29. คํากลอนในขอใดเปนลักษณะคติชาวบานคือผัวเมีย
ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกันตองรวมทุกขรวมสุขดวยกันD ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน
อยางไทย
30. บทประพันธในขอใดแสดงธรรมเนียมการประพฤติ
อยางไทยอยางไทยE อยางไทย
(9)
โครงการบูรณาการแบบทดสอบ
โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล
31. บทประพันธในขอใดมีชื่อเทือกเขาที่ลอมรอบเขา
พระสุเมรุ
1. อันถํ้านี้มีนามตามบุราณ
อโนมานเคียงกันสีทันดร
2. นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง
โตดั่งหนึ่งยุคุนธรขุนไศล
3. แลวขึ้นยืนชะโงกโยกสิงขร
จนโคลงคลอนเคลื่อนดังทั้งภูเขา
4. เปนเขตแควนแดนที่นางผีเสื้อ
ขางฝายเหนือถึงมหิงษะสิงขร
32. นางผีเสื้อสมุทร นางเงือก และพระฤๅษี ตัวละคร
ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด
1. ตัว ตัว ตน
2. ตน ตัว ตน
3. ตน ตน ตน
4. ตัว ตัว ตัว
33. บทประพันธในขอใดแสดงความรักอันลึกซึ้งระหวาง
ชายหญิง
1. เสียแรงรักหนักหนาอุตสาหถนอม
สูอดออมสารพัดไมขัดขืน
2. เห็นมิไดไปอยูเปนคูเชย
ดวยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น
3. ชางกระไรใจจืดไมยืดยืน
นางสะอื้นอาปากจนรากเรอ
4. จะเกิดไหนขอใหไดประสบกัน
อยาโศกศัลยแคลวคลาดเหมือนชาตินี้
34. บทประพันธในขอใดไมปรากฏคํายืมภาษาบาลี
และสันสกฤต
1. ก็ฟูมฟายชลนาโศกาลัย
2. พระโอรสรูแจงไมแคลงจิต
3. รําคาญคิดเสียใจไมใครหาย
4. ดวยแมกลับอัปลักษณเปนยักษราย
35. คําที่ขีดเสนใตในขอใดอานตามหลักการอานเรียงพยางค
1. มิใชจักลืมคุณกรุณา
2. เงือกผูเฒาเคารพอภิวาท
3. พระลูกใหบิตุรงคทรงเสวย
4. ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท
พระสุเมรุ
31. บทประพันธใน
พระสุเมรุB พระสุเมรุB พระสุเมรุ
ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด
32. นางผีเสื้อสมุทร นางเงือก และพระฤๅษี ตัวละคร
ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใดทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใดC ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด
ชายหญิง
33. บทประพันธในขอใดแสดงความรักอันลึกซึ้งระหวาง
ชายหญิงD ชายหญิงD ชายหญิง
และสันสกฤต
34. บทประพันธในขอใดไมปรากฏคํายืมภาษาบาลี
และสันสกฤตE และสันสกฤตE และสันสกฤต
1. มิใชจักลืมคุณ
35. คําที่ขีดเสนใตในขอใดอานตามหลักการอานเรียงพยางค
1. มิใชจักลืมคุณ1. มิใชจักลืมคุณF 1. มิใชจักลืมคุณ
36. กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมีการทองบทอายาน
โดยมีจุดมุงหมายในขอใด
1. เพื่อใหนักเรียนออกเสียงภาษาไทยไดถูกตอง
2. เพื่อฝกใหนักเรียนเปนผูมีความมั่นใจในตนเอง
3. เพื่อใหสอดคลองตามหลักสูตรการศึกษาปพุทธศักราช
2542
4. เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซึ้งเห็นความงดงาม
ทางภาษาและเห็นคุณคาของวรรณคดีไทย
37. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับบทอาขยาน
1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง
2. บทอาขยานจะเปนบทรอยกรองหรือบทรอยแกวก็ได
3. บทอาขยานจะตองมีความไพเราะ และมีเนื้อหา
ใหคติสอนใจ
4. เวลาอานบทอาขยานจะตองอานตัว ร, ล ควบกลํ้า
ใหถูกตองชัดเจน
38. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา
จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
จากบทประพันธคําที่ขีดเสนใตมีความหมายเหมือนกับ
ขอใด
1. รัชนี 2. ศศิธร
3. คัคนานต 4. โคมรัตติกาล
39. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู
ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน
บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร
จากบทประพันธขางตนนี้ ตรงกับรสวรรณคดีในขอใด
1. เสาวรจนี 2. นารีปราโมทย
3. พิโรธวาทัง 4. สัลลาปงคพิสัย
40. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา
จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ
ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม
จากบทประพันธนี้วรรคใดมีการเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ
มากที่สุด
1. วรรคที่ 1 2. วรรคที่ 2
3. วรรคที่ 3 4. วรรคที่ 4
36. กระทรวงศึ
โดยมีจุดมุงหมายในขอใดB
1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง
37. ขอใดกลาว
1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียงC 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง
จะแลขวาควันคลุมกลุม
38.
จะแลขวาควันคลุมกลุมจะแลขวาควันคลุมกลุมC จะแลขวาควันคลุมกลุม
ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
39.
ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝนขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝนD ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน
จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
40.
จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยมจะแลขวาควันคลุมกลุมโพยมD จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม
(10)
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3

More Related Content

What's hot

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6sapatchanook
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมwangasom
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 

What's hot (20)

แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยมโครงสร้างหลักสูตรมัธยม
โครงสร้างหลักสูตรมัธยม
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ เศรษฐศาสตร์ ม.3
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 

Similar to แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3

แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6teerachon
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3supap6259
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕niralai
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55krutip
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมPignoi Chimpong
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdf
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdfแบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdf
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdfreconaro
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2supap6259
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1superglag
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6teerachon
 

Similar to แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3 (20)

แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.6
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
แบบทดสอบ การงานอาชีพฯ ม.6
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3สุขฯ ม.2 หน่วย 3
สุขฯ ม.2 หน่วย 3
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 
072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕072อริยสัจจสี่ม.๕
072อริยสัจจสี่ม.๕
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Foreign55
Foreign55Foreign55
Foreign55
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdf
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdfแบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdf
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3.pdf
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2สุขฯ ม.2 หน่วย 2
สุขฯ ม.2 หน่วย 2
 
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
ใบงานที่ 1 แบบสำรวจประวัติของ1
 
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ นาฏศิลป์ ม.6
 

More from teerachon

แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1teerachon
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2teerachon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2teerachon
 

More from teerachon (19)

แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
แบบทดสอบ แรงและการเเคลื่อนที่ฯ ม.4 6
 
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
แบบทดสอบ เทคโนโลยี ม.6
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.6
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3แบบทดสอบ เทคโน ม.3
แบบทดสอบ เทคโน ม.3
 
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ทัศนศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 1
 
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
แบบทดสอบ การงานอาชีฯ ม.3
 
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
แบบทดสอบ คณิตศาสตร์ ม.3 เล่ม 2
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
แบบทดสอบ สังคมศึกษา ม.2
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
แบบทดสอบ ภาษาไทย ม.2
 

แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3

  • 1. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจุดมุงหมายเพื่อใหผูเรียนอานออก เขียนได คิดคํานวณเปน มุงใหเกิดทักษะการเรียนรูตลอดชีวิต เตรียมตัวเปนพลเมืองที่มีคุณภาพ และมีความสามารถในการแขงขันไดในอนาคต การจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับจุดมุงหมายดังกลาว จึงควรใหผูเรียนฝกฝนการนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริง สามารถคิดวิเคราะหและแกปญหาได ดังนั้นเพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของผูเรียน ทางโครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด จึงไดจัดทําแบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด โดยดําเนินการวิเคราะหสาระการเรียนรูที่สําคัญตามที่ระบุไวในมาตรฐานและตัวชี้วัดชั้นป แลวนํามากําหนดเปนระดับพฤติกรรมการคิด เพื่อสรางแบบทดสอบที่มีคุณสมบัติ ดังน�้ แบบทดสอบอิงมาตรฐาน เนนการคิด ที่จัดทําโดย โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ประกอบดวย แบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 1 และแบบทดสอบประจําภาคเรียนที่ 2 ซึ�งแตละภาคเรียนจะมีแบบทดสอบ 2 ชุด แตละชุดมีทั้ง แบบทดสอบปรนัย และแบบทดสอบอัตนัย โดยวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด และระดับพฤติกรรมการคิดที่สัมพันธกับแบบทดสอบไวอยาง ชัดเจน เพื่อใหผูสอนนําไปใชเปนเครื่องมือวัดและประเมินผลผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ ที่สอดคลองกับมาตรฐาน ตัวชี้วัดชั้นปทุกขอ ตามระดับพฤติกรรมการคิด ที่ระบุไวในตัวชี้วัด วัดผลการเรียนรู เนนใหผูเรียนเกิดการคิด1 2 ผูสอนสามารถนําแบบทดสอบน�้ไปใชเปนเครื่องมือวัด และประเมินผล รวมทั้งเปนเครื่องบงชี้ความสําเร็จและรายงาน คุณภาพของผูเรียนแตละคน เพื่อเปนการเตรียมความพรอม ของนักเรียนใหมีความสามารถในดานการใชภาษา ดานการ คิดคํานวณ และดานเหตุผล สําหรับรองรับการประเมินผลผูเรียน ในระดับประเทศ (NT) และระดับนานาชาติ (PISA) ตอไป ตารางวิเคราะหแบบทดสอบ ภาคเรียนที่ 1 ชุดที่ ตารางวิเคราะหมาตรฐานตัวชี้วัด ตารางวิเคราะหระดับพฤติกรรมการคิด มาตรฐาน ตัวชี้วัด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับตัวชี้วัด ระดับ พฤติกรรม การคิด ขอของแบบทดสอบที่สัมพันธกับ ระดับพฤติกรรมการคิด รวม 1 ท 5.1 1 1-3, 9-13, 23-27 A ความรูความจํา 1, 9, 14, 23-24 5 2 4-5, 14-18, 28-33 B ความเขาใจ 2, 10-11, 25 4 3 6-7, 19-22, 34-35 C การนําไปใช 3, 15, 19, 26, 28 5 4 8, 36-40 D การวิเคราะห 8, 16-17, 27, 29-31, 34, 36-37 10 E การสังเคราะห 6-7, 18, 20-21, 32-33, 38 8 F การประเมินคา 4-5, 12-13, 22, 35, 39-40 8 2 ท 5.1 1 1-2, 9-11, 23-26 A ความรูความจํา 9 1 2 3-4, 12-16, 27-30 B ความเขาใจ 1, 10-12, 27, 31, 36 7 3 5-8, 17-22, 31-35 C การนําไปใช 2-3, 17, 23, 32, 37-38 7 4 36-40 D การวิเคราะห 5-6, 13-14, 18, 28-29, 33, 39-40 10 E การสังเคราะห 7, 15, 19, 24, 30, 34 6 F การประเมินคา 4, 8, 16, 20-22, 25-26, 35 9 หมายเหตุ : มีเฉลยและคําอธิบายเชิงวิเคราะห อยูทายแบบทดสอบภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 (1)
  • 2. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 4. “วรรณคดีไทยคือกระจกเงาสะทอนสังคมในยุคนั้นๆ” ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด 1. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของชนชาติไทย 2. วรรณคดีไทยกลาวถึงประวัติของกวีแตละสมัย 3. วรรณคดีไทยกลาวถึงความคิดเห็นของคนไทย 4. วรรณคดีไทยกลาวถึงสภาพสังคมและวัฒนธรรมในอดีต 5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร 1. ใหความเพลิดเพลิน 2. ใหความเขาใจในชีวิต 3. ใหแนวคิดและกลวิธีในการนําเสนอ 4. ใหประสบการณที่สามารถนําไปประยุกตใชได 6. ครืนครืนใชฟารอง เรียมครวญ บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ บทประพันธขางตน 1. เสียงรํ่าไหสนั่นกอง กังวาน 2. เรียมรํ่านํ้าเนตรถวม ถึงพรหม 3. วังเอยวังเวง หงางเหงงยํ่าคํ่าระฆังขาน 4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา 7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง 2. กระแหแหหางชาย ดั่งสายสวาทคลาดจากสม 3. เพียนทองงามดั่งทอง ไมเหมือนนองหมตาดพราย 4. ลูกผูชายลายมือนั้นคือยศ เจาจงอตสาหทําสมํ่าเสมียน 4. ขอใดสอดคลองกับคํากลาวนี้มากที่สุด F 1. ใหความเพลิดเพลิน 5. วรรณคดีใหคุณคาทางดานสังคมอยางไร 1. ใหความเพลิดเพลิน1. ใหความเพลิดเพลินF 1. ใหความเพลิดเพลิน บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ 6. บทประพันธในขอใดมีลักษณะการใชภาพพจน ตรงกับ E 4. แมวเอยแมวเหมียว รูปรางปราดเปรียวเปนนักหนา 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง 7. ขอใดใชภาพพจนแตกตางจากขออื่น 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนางE 1. ปลาทุกทุกขอกกรม เหมือนทุกขพี่ที่จากนาง 1. “งานประพันธที่มีรูปแบบเหมาะกับเนื้อหา มีศิลปะ การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ จินตนาการของมนุษยเปนเรื่องราวที่นาสนใจได” ขอความนี้เปนลักษณะของคําในขอใด 1. วรรณคดี 2. วรรณศิลป 3. วรรณกรรม 4. ฉันทลักษณ 2. “งานประพันธที่มีเนื้อหาพรรณนาถึงการเดินทาง และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก ตลอดการเดินทาง” ขอความนี้เปนลักษณะของคําประพันธชนิดใด 1. ฉันท 2. ลิลิต 3. นิราศ 4. กาพย 3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนื้อหา ขอใดกลาวถูกตอง 1. โคลงโลกนิติจัดเปนวรรณคดีคําสอน 2. ลิลิตนารายณสิบปางจัดเปนวรรณคดีการละคร 3. ไตรภูมิพระรวงจัดเปนวรรณคดีเฉลิมพระเกียรติ 4. เสภาพระราชพงศาวดารจัดเปนวรรณคดี ขนบธรรมเนียมประเพณี การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ 1. การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และการประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และA การประพันธชั้นสูงสามารถถายทอดอารมณ และ และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก 2. และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รักและแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รักB และแสดงความรูสึกครํ่าครวญถึงนางอันเปนที่รัก 3. การแบงประเภทของวรรณคดีตามลักษณะของเนื้อหา ขอใดกลาวถูกตองB ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ชุดที่ 1 แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 50 ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F (2)
  • 3. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 8. ดูหนูสูรูงู งูสุดสูหนูสูงู หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู บทประพันธขางตนมีความดีเดนทางดานวรรณศิลป อยางไร 1. มีการเลนคํา 2. มีการเลนเสียงสระ 3. มีการเลนเสียงพยัญชนะ 4. มีการเลนเสียงวรรณยุกต 9. นายลํ้ามอบสิ่งใดเปนของขวัญวันแตงงานแกแมลออ 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให 2. แหวนรักของนายลํ้าที่ใสมาตั้งแตยังหนุม 3. สรอยที่แมนวลซื้อใหนายลํ้ากอนเสียชีวิต 4. แหวนของแมนวลที่นายลํ้าเก็บไวดูตางหนา 10. “ไมใชวาใครๆ เขาจะพากันคอยตัดรอนไมใหมีการ ผงกหัวไดอีก” คําวา “ผงกหัว” ในบทสนทนานี้มีความหมายโดยนัยวา อยางไร 1. พยักหนา 2. กมศีรษะเบาๆ 3. กลับตัวกลับใจ 4. ยอมรับความผิด 11. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหนายลํ้ามาแสดงตัวในบาน ของพระยาภักดี 1. เพราะไมมีทางทํามาหากิน 2. เพราะตั้งใจจะมาพึ่งพาลูกสาว 3. เพราะเปนหวงลูกสาวที่กําลังจะแตงงาน 4. เพราะตองการแสดงความรักของพอที่มีตอลูก 12. “ดิฉันจะเขาไปในเรือนเสียทีคะ คุณพอกับคุณอา คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา” จากบทสนทนานี้แสดงวาแมลออเปนคนเชนไร 1. เปนคนขี้อาย 2. เปนคนรูจักกาลเทศะ 3. เปนคนสุภาพออนหวาน 4. เปนคนไมกลาสูหนาคน หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู 8. หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทูD หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทูD หนูงูสูดูอยู รูปงูทูหนูมูทู 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให 9. นายลํ้ามอบสิ่งใดเปนของขวัญวันแตงงานแกแมลออ 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อใหA 1. สรอยของแมนวลที่นายลํ้าซื้อให 10. B ของพระยาภักดี 11. ขอใดเปนสาเหตุสําคัญที่ทําใหนายลํ้ามาแสดงตัวในบาน ของพระยาภักดีของพระยาภักดีB ของพระยาภักดี คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา” 12. คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา”F คงอยากคุยกันอยางผูชายๆ สนุกกวา” 13. พระยาภักดีเสนอเงินจํานวนหนึ่งรอยชั่งใหแกนายลํ้า เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ จากการกระทํานี้แสดงใหเห็นวาพระยาภักดีมีลักษณะนิสัย อยางไร 1. ดูถูกคนยากจน 2. โออวดความรํ่ารวย 3. มีความรักและหวังดีตอลูก 4. มีนํ้าใจชอบชวยเหลือคนยากจน 14. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สํานวนภาษาใดที่ไมนิยม ใชในปจจุบัน 1. คุณจะใหผมขายลูกผมยังงั้นหรือ 2. แมลออก็จะมีเหยามีเรือนอยูแลว 3. ก็แนละ ไมมีเงินก็อดตายเทานั้นเอง 4. แกไดพยายามที่จะสําแดงใหปรากฏอยางไรบาง 15. รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธบทละครพูดไวเปน จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่ ตางจากบทละครพูดเรื่องอื่นๆ อยางไร 1. เปนละครพูดที่มีองกเดียวและฉากเดียว 2. เปนละครพูดที่มีขนาดยาวกวาละครพูดเรื่องอื่นๆ 3. เปนละครพูดที่ไมมีเคาโครงเรื่องมาจากตางประเทศ 4. เปนละครพูดที่มุงแสดงคุณธรรมใหคนทั่วไปไดยึดถือ และปฏิบัติตาม 16. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นักเรียนคิดวาลักษณะ ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง 1. นายลํ้า 2. อายคํา 3. แมลออ 4. พระยาภักดี 17. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้ายอมกลับ โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ 1. เพื่อพิสูจนความเปนชายชาตรี 2. เพื่อใหแมลออมีชีวิตที่สุขสบาย 3. เพื่อแสดงใหเห็นวาตนมีศักดิ์ศรี 4. เพื่อตองการเอาชนะคําสบประมาทของพระยาภักดี 18. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก จากคํากลาวของอายคําที่วา “ผมบอกวาใตเทายังไมกลับจากออฟฟศ ก็ไมยอมไป” สะทอนลักษณะการใชภาษาในสมัยนั้นอยางไร 1. ภาษาแสดงความเจริญทางวัฒนธรรม 2. คนรับใชใชภาษาระดับเดียวกับเจานาย 3. ภาษาตางประเทศมีใชในภาษาพูดของคนไทย 4. คนทุกชนชั้นมีความรูทางดานภาษาตางประเทศ เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ 13. พระยาภักดีเสนอเ เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออเพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออF เพื่อไมใหนายลํ้ามาแสดงตนวาเปนพอของแมลออ ใชในปจจุบัน 14. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก สํานวนภาษาใดที่ไมนิยม ใชในปจจุบันใชในปจจุบันA ใชในปจจุบัน จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่ 15. รัชกาลที่ 6 ทรงพระราชนิพนธบทละครพูดไวเปน จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่C จํานวนมาก แตบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีลักษณะพิเศษที่ ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง 16. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก นักเรียนคิดวาลักษณะ ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่องของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่องD ของตัวละครใดที่มีพฤติกรรมสอดคลองกับชื่อเรื่อง โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ 17. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้ายอมกลับ โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญโดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญD โดยไมเปดเผยตัวใหแมลออรู เพราะสาเหตุใดเปนสําคัญ 18. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก จากคํากลาวของอายคําที่วา E (3)
  • 4. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 19. ในบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก บทสนทนาในขอใด แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี 1. แกรับเงินรอยชั่งแลวรีบไปเสียเถอะ 2. ก็ถาพูดกันดีๆ ไมชอบก็ตองพูดกันอยางเดียรฉาน 3. แกสูฉันไมไดหรอก ฤทธิ์เหลามันฆากําลังแก เสียหมดแลว 4. เงินนะไมเสียดายหรอก ฉันเสียดายชื่อและความสุข ของแมลออ 20. “นํ้าเหลืองๆ ไมมีหรือครับ มันคอยชื่นอกชื่นใจ หนอยหนึ่ง?” จากบทสนทนานี้ จัดเปนบทสนทนาที่เหมาะสมกับตัวละคร ในดานใด 1. บทสนทนาที่เหมาะสมกับนิสัยตัวละคร 2. บทสนทนาที่เหมาะสมกับอายุตัวละคร 3. บทสนทนาที่เหมาะสมกับฐานะตัวละคร 4. บทสนทนาที่เหมาะสมกับสถานภาพตัวละคร 21. ใจความสําคัญของบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก คือขอใด 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก 2. จิตผองใสนํามาซึ่งความสุข 3. พอในอุดมคติของลูกทุกคน 4. จิตใจที่บริสุทธิ์ของพอที่มีตอลูก 22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงแนวคิดสําคัญในขอใด เดนชัดที่สุด 1. ความหวงใยของพอที่มีตอลูก 2. ความเสียสละของพอที่มีตอลูก 3. ความปรารถนาดีของพอที่มีตอลูก 4. ความรักที่ยิ่งใหญของพอที่มีตอลูก 23. สุนทรภูแตงนิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณี โดยใชเคาโครงจากแหลงใด 1. นิทานชาดก 2. นิทานมุขปาฐะ 3. นิทานสุภาษิต 4. จินตนาการของทานเอง 24. พระยินดีชี้บอกสินสมุทร โนนแนกุฏิ์มุงกระเบื้องเหลืองสลับ คําวา “กุฏิ์” ในคําประพันธขางตน หมายถึงขอใด 1. ศาลาวัด 2. ที่อยูของนักบวช 3. บานพักของโยคีบนภูเขา 4. ศาลาสรางเปนหลังเรียงกันเปนแนวรอบโบสถ แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี 1. แกรับเงินรอยชั่งแลวรีบไปเสียเถอะ 19. ในบทละค แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดีC แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดีC แสดงความคิดที่นายกยองของพระยาภักดี หนอยหนึ่ง?” 20. หนอยหนึ่ง?”E หนอยหนึ่ง?”E หนอยหนึ่ง?” 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก 2. จิตผองใสนํามาซึ่งความสุข 21. ใจความสําคัญของบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก คือขอใด 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก1. คนเปนพอไมควรทําลายลูกE 1. คนเปนพอไมควรทําลายลูก เดนชัดที่สุด 1. ความหวงใยของพอที่มีตอลูก 22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงแนวคิดสําคัญในขอใด เดนชัดที่สุดเดนชัดที่สุดF เดนชัดที่สุด โดยใชเคาโครงจากแหลงใด 23. สุนทรภูแตงนิทานคํากลอนเรื่องพระอภัยมณี โดยใชเคาโครงจากแหลงใดA โดยใชเคาโครงจากแหลงใดA โดยใชเคาโครงจากแหลงใด โนนแน 24. โนนแนA โนนแนA โนนแน 25. คําศัพทในขอใดมีความหมายตางจากขออื่น 1. ชลาลัย ชลธี 2. คงคา นที 3. สายชล วารี 4. นภาพร อัมพร 26. วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีมีลักษณะที่แตกตางจาก วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร 1. ตัวเอกมีภรรยาหลายคน 2. ตัวเอกมักถูกยักษหรือโจรลักพาไป 3. แสดงแนวคิดที่แปลกใหมของตัวละคร 4. ตัวเอกเปนโอรสกษัตริยตองไปเรียนวิชาตางๆ 27. ผลงานที่แสดงประวัติชีวิตของสุนทรภูไดชัดเจนที่สุดคือ ผลงานประเภทใด 1. นิราศ 2. นิทาน 3. บทละคร 4. บทเสภา 28. นิราศสุพรรณมีลักษณะพิเศษแตกตางจากนิราศเรื่องอื่น ของสุนทรภูในขอใด 1. ที่มาของเรื่อง 2. เนื้อหาของเรื่อง 3. ลักษณะคําประพันธ 4. จุดมุงหมายในการแตง 29. ลักษณะคําประพันธของสุนทรภูมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกตาง จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร 1. แสดงแนวคิดของผูแตงชัดเจน 2. เครงครัดเรื่องคําและความหมาย 3. มีความไพเราะในรสคําและรสความ 4. มีสัมผัสในทุกวรรคทั้งสัมผัสสระและสัมผัสอักษร 30. จากเรื่องพระอภัยมณี บทประพันธในขอใดตอไปนี้ ไมไดสะทอนความเชื่อของคนไทย 1. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน วาเทวัญที่เกาะนั้นเหาะเหิน 2. ดวยโยคีมีมนตดลวิชา ปราบบรรดาภูติพรายไมกรายไป 3. นึกจะใครสะเดาะพระเคราะหเจา พอบรรเทาโทษาที่อาสัญ 4. เจียระบาดคาดองคก็ทรงเปลื้อง ใหเปนเครื่องนุงหมโอรสา 1. ชลาลัย ชลธี 25. คําศัพทในข 1. ชลาลัย ชลธี1. ชลาลัย ชลธีB 1. ชลาลัย ชลธี วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร 26. วรรณคดีเรื่องพระอภัยมณีมีลักษณะที่แตกตางจาก วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไรวรรณคดีเรื่องอื่นอยางไรC วรรณคดีเรื่องอื่นอยางไร ผลงานประเภทใด 27. ผลงานที่แสดงประวัติชีวิตของสุนทรภูไดชัดเจนที่สุดคือ ผลงานประเภทใดผลงานประเภทใดD ผลงานประเภทใด ของสุนทรภูในขอใด 28. นิราศสุพรรณมีลักษณะพิเศษแตกตางจากนิราศเรื่องอื่น ของสุนทรภูในขอใดของสุนทรภูในขอใดC ของสุนทรภูในขอใด จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร 29. ลักษณะคําประพันธของสุนทรภูมีลักษณะพิเศษซึ่งแตกตาง จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไรจากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไรD จากคําประพันธของกวีทานอื่นอยางไร 30. จากเรื่องพระอภัยมณี บทประพันธในขอใดตอไปนี้ D (4)
  • 5. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 31. จึงบัญชาวาเจาสินสมุทร ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา ขอสมาตาปูอยาดูเบา ชวยอุมเอาแกออกไปใหสบาย คําประพันธขางตนสะทอนวัฒนธรรมไทยในเรื่องใด 1. ความมีนํ้าใจ 2. ความออนโยน 3. ความกตัญูกตเวที 4. การมีสัมมาคารวะตอผูใหญ 32. เหตุใดจึงมีคํากลาววา “สุนทรภูคือผูใชชีวิตอยางแทจริง” 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู 2. ชีวิตของสุนทรภูมีอุปสรรคแตทานกลับไมทอถอย 3. ชีวิตของสุนทรภูมีตั้งแตรุงเรืองสูงสุดจนถึงขั้นตกตํ่าสุด 4. ทุกขอที่กลาวมาถูกตอง 33. เพราะเหตุใดเรื่องพระอภัยมณีจึงถือเปนวรรณคดีเรื่องเดน และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู 1. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องดี แทรกประสบการณ 2. ภาษาเขาใจงาย ไมใชศัพทสูง แฝงคติเตือนใจ 3. กลอนไพเราะ เนื้อเรื่องสนุก จินตนาการแปลกใหม 4. ผูกเรื่องขึ้นเองจากจินตนาการ เนื้อเรื่องสนุกตื่นเตน 34. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย 1. พระโยคี 2. เงือกนํ้า 3. สินสมุทร 4. พระอภัยมณี 35. ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ 1. ความรักชนะทุกอยาง 2. ความรักกอใหเกิดทุกข 3. ความรักคือการเสียสละ 4. ความรักแบบไมเต็มใจยอมไมยั่งยืน 36. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย 1. ทั้งนี้เพราะเคราะหกรรมทําใหวุน จึงสิ้นบุญวาสนานิจจาเอย 2. อยาฆาสัตวตัดชีวิตพิษฐาน หมายวิมานเมืองแมนแดนสวรรค 3. เราลงเลขเสกทําไวสําเร็จ ดังเขื่อนเพชรภูตปศาจไมอาจใกล 4. ดวยองคพระชนนีเปนผีเสื้อ อันชาติเชื้ออยูถํ้าลําละหาร ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา 31. ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขาไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขาD ไปชวยฉุดศิลาใหญใหขึ้นเขา 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู 32. เหตุใดจึงมีคํากลาววา “สุนทรภูคือผูใชชีวิตอยางแทจริง” 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรูE 1. สุนทรภูสรางผลงานใหคนรุนหลังไดเรียนรู และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู 33. เพราะเหตุใดเรื่องพระอภัยมณีจึงถือเปนวรรณคดีเรื่องเดน และไดรับความนิยมมากของสุนทรภูและไดรับความนิยมมากของสุนทรภูE และไดรับความนิยมมากของสุนทรภู ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย 34. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตยตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตยD ตัวละครใดเปนตัวอยางในเรื่องการรักษาความสัตย ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ 35. ขอใดเปนแนวคิดสําคัญของเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อF ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย 36. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทยคําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทยD คําประพันธในขอใดมิไดสะทอนความเชื่อของคนไทย 37. พอมอยหลับกลับจิตนิมิตฝน วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน มาสังหารผลาญถํ้าระยําเยิน แกวงพะเนินทุบนางแทบวางวาย ความฝนของนางผีเสื้อสมุทรในคําประพันธขางตน เปนความฝนลักษณะใด 1. บุรพนิมิต 2. จิตนิวรณ 3. เทพสังหรณ 4. ธาตุโขภะ 38. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา บทประพันธนี้มีคํายืมที่เปนทั้งภาษาบาลีและภาษาสันสกฤต กี่คํา 1. 1 คํา 2. 2 คํา 3. 3 คํา 4. 4 คํา 39. บทกลอนในขอใดใชกลวิธีการประพันธแตกตางขออื่น 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน 2. ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร 3. กระโหเรียงเคียงกระโหขึ้นโบกหาง ลอยสลางกลางกระแสแลสลอน 4. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล 40. จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม ฟงสําเนียงเสียงคลื่นดังครื้นโครม ยิ่งทุกขโทมนัสในฤทัยทวี คําประพันธขางตนแสดงบุคลิกลักษณะใดของพระอภัยมณี 1. หวาดกลัว ขี้ขลาด 2. ออนแอ วิตกกังวล 3. หวาดกลัว ทุกขใจ 4. ออนแอ ขาดความมั่นใจ วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน 37. วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหินวาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหินD วาเทวัญอยูที่เกาะนั้นเหาะเหิน เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา 38. เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉาเพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉาE เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู 39. บทกลอนในขอใดใชกลวิธีการประพันธแตกตางขออื่น 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคูF 1. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม 40. ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉมใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉมF ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม (5)
  • 6. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 1. เพราะเหตุใดวรรณคดีไทยสวนใหญจึงเปนผลงานการประพันธของผูประพันธชาย (3 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก แสดงใหเห็นถึงสัจธรรมของมนุษยไวอยางไรบาง อธิบายพรอมยกตัวอยางประกอบ (4 คะแนน) …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. จากเรื่องพระอภัยมณี ตอนพระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ ตัวละครใดมีความนาเห็นใจมากที่สุด เพราะเหตุใด (3 คะแนน) ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 10 ตอนที่ 2 ตอบคําถามใหถูกตอง จํานวน 3 ขอ 10 คะแนน (6)
  • 7. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 5. วรรณคดีเรื่องใดแสดงแนวคิดที่วา “ธรรมะยอมชนะ อธรรม” 1. รามเกียรติ์ 2. พระอภัยมณี 3. ขุนชางขุนแผน 4. พระราชพิธีสิบสองเดือน 6. บทประพันธในขอใดมีวรรณศิลปดานการเลนเสียง พยัญชนะเดนชัดที่สุด 1. เห็นหรุมรุมทรวงเศรา รุมรุมเราคือไฟฟอน 2. เทโพพื้นเนื้อทอง เปนมันยองลองลอยมัน 3. นวลจันทรเปนนวลจริง เจางามพริ้งยิ่งนวลปลา 4. ทองหยอดทอดสนิท ทองมวนมิดคิดความหลัง 7. บทประพันธในขอใดใหจินตภาพตางจากขออื่น 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า 2. ทั้งทุมตํ่ารํ่าเรื่อยจะเจื้อยแจว 3. วะแววเพียงเสียงพอซอสายเอก 4. ประกายพรึกกะพริบพลิ้วพนทิวไม 8. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง 2. เพลงพื้นบานไทยเปนวรรณกรรมที่ควรอนุรักษไว 3. คุณคาทางวรรณศิลปของวรรณกรรมคือชวยจรรโลงใจ ผูอาน 4. รูปแบบของงานเขียนเชิงสรางสรรคไมจําเปนตอง สอดคลองกับเนื้อหา อธรรม” 5. วรรณ อธรรม”D อธรรม”D อธรรม” 6. บทประพันธในขอใดมีวรรณศิลปดานการเลนเสียง พยัญชนะเดนชัดที่สุดD 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า 7. บทประพันธในขอใดใหจินตภาพตางจากขออื่น 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่าE 1. เสนาะเสียงสังคีตประณีตฉํ่า 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง 8. ขอใดกลาวไมถูกตอง 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่งF 1. บันทึกประจําวันจัดเปนวรรณกรรมชนิดหนึ่ง 1. “การใชเหตุผลอธิบายแสดงความคิดเห็นตอเนื้อหา รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม” คํากลาวนี้มีความหมายตรงกับขอใดมากที่สุด 1. การวิจารณวรรณคดี 2. การวิพากษวรรณคดี 3. การวิเคราะหวรรณคดี 4. การสังเคราะหวรรณคดี 2. ขอใดไมใชคุณสมบัติของวรรณคดี 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม 2. เปนมรดกทางวัฒนธรรม 3. มีคุณคาควรแกการจดจํา 4. มีการสืบทอดกันมายาวนาน 3. คําในขอใดมีความหมายเหมือนกันทุกคํา 1. รัชนี ศศิธร โสม 2. วารี ธารา นภาพร 3. พสุธา ธาตรี สายชล 4. กัญญา นงราม คัคนานต 4. คุณคาที่สําคัญที่สุดของวรรณคดีคือคุณคาทางดานใด 1. คุณคาทางดานสังคม 2. คุณคาทางดานความรู 3. คุณคาทางดานความคิดและอารมณ 4. คุณคาทางดานขนบธรรมเนียมประเพณี รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม” 1. รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม”B รูปแบบคําประพันธของวรรณคดีและวรรณกรรม” 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม 2. ขอใดไมใชคุณสมบัติของวรรณคดี 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหมC 1. เปนสิ่งที่สรางขึ้นใหม 3. คําในขอใดมีความหมายเหมือนกันทุกคํา C 4. คุณคาที่สําคัญที่สุดของวรรณคดีคือคุณคาทางดานใด 1. คุณคาทางดานสังคมF ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹àµçÁ 40 ตอนที่ 1 1. แบบทดสอบฉบับน�้มีทั้งหมด 40 ขอ 40 คะแนน 2. ใหนักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกที่สุดเพียงขอเดียว ชื่อ …………………………………………………………………………………………………….. นามสกุล …………………………………………………………………………………………….. เลขประจําตัวสอบ ……………………………………………………………………. โรงเรียน ……………………………………………………………………………………………. สอบวันที่ …………………….. เดือน ………………………………………………… พ.ศ. ……………………………………….. โครงการวัดและประเมินผล บริษัท อักษรเจริญทัศน อจท. จํากัด ชุดที่ 2 แบบทดสอบว�ชา ภาษาไทย วรรณคดีและวรรณกรรม ภาคเร�ยนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ¤Ðá¹¹·Õèä´Œ ¤Ðá¹¹ÃÇÁ 50 ความรู ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห การประเมินคา A B C D E F (7)
  • 8. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 9. “หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นไวในใจเปนคนดี ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย” ผูกลาวขอความนี้คือใคร 1. นายทองคํา 2. เจาคุณรณชิต 3. นายลํ้า ทิพเดชะ 4. พระยาภักดีนฤนาถ 10. วรรณคดีประเภทบทละครพูดมีลักษณะเดนในขอใดมากที่สุด 1. ฉากดี มีตัวละครมาก 2. ใหขอคิดในการดําเนินชีวิต 3. มีบทรักโศก ใหอารมณสะเทือนใจ 4. เรื่องสนุก คําพูดของตัวละครคมคายใหแงคิด 11. “ฉันหมายจะกลับมาใหทันคุณพอกลับทีเดียว” จากขอความขางตนคําวา “หมาย” มีความหมายตรงกับ ขอใด 1. ตั้งใจ 2. คิดฝน 3. กําหนด 4. คาดหวัง 12. การที่อายคําไมไวใจนายลํ้าเมื่อพบกันครั้งแรก เพราะเหตุใด 1. นายลํ้ามีอาการมึนเมา 2. นายลํ้ามีกิริยาทาทางนากลัว 3. นายลํ้าแตงกายคอนขางจะปอนๆ 4. นายลํ้าหนาแก ผมหงอก หนายน 13. “เครื่องประดับประดาไมเปนของมีคาแตใชไดดี” จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย อยางไร 1. สมถะ 2. ยากจน 3. ไมฟุมเฟอย 4. ตระหนี่ถี่เหนียว 14. “ถึงการฉอโกงก็มีหลายชนิดหลายชั้นเหมือนกัน ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา อยูหรือ” จากบทสนทนานี้ แสดงวาผูพูดเปนคนเชนไร 1. พูดปด 2. พูดโออวด 3. พูดเพอเจอ 4. พูดสอเสียด ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย” 9. ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย”A ไมมีที่ติ ผมไมตองการลบรูปนั้นเสียเลย” 1. ฉากดี มีตัวละครมาก 10. วรรณคดีประเภทบทละครพูดมีลักษณะเดนในขอใดมากที่สุด 1. ฉากดี มีตัวละครมาก1. ฉากดี มีตัวละครมากB 1. ฉากดี มีตัวละครมาก จากขอความขางตนคําวา 11. จากขอความขางตนคําวา B เพราะเหตุใด 12. การที่อายคําไมไวใจนายลํ้าเมื่อพบกันครั้งแรก เพราะเหตุใดเพราะเหตุใดB เพราะเหตุใด จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย 13. จากขอความขางตนแสดงวาผูพูดเปนคนมีลักษณะนิสัย D ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา 14. ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยาถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยาD ถาไมยังงั้นคุณเองจะไดมาลอยหนาเปนพระยา 15. ขอใดแสดงวัฒนธรรมไทยที่ปรากฏในบทละครพูด เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด 1. การจัดพิธีแตงงาน 2. การตอนรับผูมาเยือน 3. การแบงชนชั้นในสังคม 4. การเคารพนับถือผูอาวุโส 16. คําพูดของตัวละครในขอใดที่สอดคลองกับชื่อของ บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก 1. หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นในใจเปนคนดี ไมมีที่ติ 2. เด็กคนนี้ดีเกินที่จะเปนลูกของผม ผมมันเลวทราม เกินที่จะเปนพอของเขา 3. อยาไดบอกความจริงแกแมลออเลย ใหเขานับถือ รูปผมอันเกานั้นวาเปนพอของเขา 4. พอถึงวันแตงงานของแมลออเจาคุณไดโปรดใหแหวน แกเขา บอกวาเปนของรับไหวของผม 17. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีกลวิธีการเขียนแตกตาง จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร 1. การนําเสนอเรื่อง 2. การใชคําสรรพนาม 3. การใชเครื่องหมายวรรคตอน 4. การเรียงลําดับคําเขาประโยค 18. เมื่อนายลํ้ามาพบพระยาภักดี และแสดงความประสงค จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา นายลํ้ามีลักษณะที่ไมควรนําเปนแบบอยางในขอใด 1. ความเห็นแกตัว 2. ความโกรธเคือง 3. ความใจรอน ไมรอบคอบ 4. ความรักตนเอง ไมกลัวใคร 19. ลักษณะนิสัยของแมลออในขอใดที่ควรนํามาเปน แบบอยางมากที่สุด 1. การมีวาจาที่สุภาพ 2. การมีนํ้าใจตอผูอื่น 3. การเคารพนับถือผูใหญ 4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ 20. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้าตองเปน ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด 1. แพภัยตนเอง 2. แพความดีของแมลออ 3. แพความดีของพระยาภักดี 4. แพคุณธรรมประจําใจตนเอง เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด 15. ขอใดแสดงวัฒนธรร เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุดเรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุดE เรื่องเห็นแกลูกเดนชัดที่สุด 4. การเคารพนับถือผูอาวุโส บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก 1. หลอนไดเขียนรูปพอของหลอนขึ้นในใจเปนคนดี 16. คําพูดของตัวละครในขอใดที่สอดคลองกับชื่อของ บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกF บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร 17. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูกมีกลวิธีการเขียนแตกตาง จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไรจากวรรณกรรมปจจุบันอยางไรC จากวรรณกรรมปจจุบันอยางไร จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา นายลํ้ามีลักษณะที่ไมควรนําเปนแบบอยางในขอใด 18. เมื่อนายลํ้ามาพบพระยาภักดี และแสดงความประสงค จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวาจะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวาD จะขอพบแมลออในทันที การกระทําเชนนี้แสดงใหเห็นวา แบบอยางมากที่สุด 19. ลักษณะนิสัยของแมลออในขอใดที่ควรนํามาเปน แบบอยางมากที่สุดแบบอยางมากที่สุดE แบบอยางมากที่สุด 4. การกตัญูตอผูมีพระคุณ ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด 20. จากบทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก การที่นายลํ้าตองเปน ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใดฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใดF ฝายยอมจากไปแสดงใหเห็นวานายลํ้าพายแพตอสิ่งใด (8)
  • 9. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 21. บทบรรยายที่มีในบทละครพูดมีประโยชนตอเนื้อเรื่อง ของบทละครอยางไร 1. เสริมความเขาใจ 2. เสริมบทสนทนา 3. เชื่อมบทสนทนา 4. กํากับบทใหตัวละครแสดง 22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใหประโยชนในขอใด มากที่สุด 1. ใหความสนุกสนานเพลิดเพลิน 2. ใหขอคิดคติธรรมในการดําเนินชีวิต 3. ใหความรูในการประกอบอาชีพสุจริต 4. ใหความรูเกี่ยวกับลักษณะของวรรณคดีการละคร 23. คิดถึงนองสองชนกที่ปกเกลา จะสรอยเศราโศกานาสงสาร บทประพันธขางตน คําวา “นอง” หมายถึงตัวละครใด 1. นางเงือก 2. ศรีสุวรรณ 3. นางผีเสื้อสมุทร 4. นางสุวรรณมาลี 24. เพราะเหตุใดผูอานเรื่องพระอภัยมณีจึงจําบทกลอน ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน 1. เพราะผูอานเคารพและชื่นชมสุนทรภู 2. เพราะมีการบังคับใหทองเปนบทอาขยาน 3. เพราะถอยคําเปนคําสอนที่ตองตีความมาก 4. เพราะทั้งรสคําและรสความมีความไพเราะ และความหมายดี 25. การที่ปของพระอภัยมณี เปนเครื่องดนตรีชิ้นสําคัญ ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น เพลงปของพระอภัยมณีจึงถือเปนสัญลักษณที่เทียบได กับสิ่งใด 1. พลังอํานาจ 2. ความเปนศิลปน 3. ถอยคําหรือคําพูด 4. ความรูสึกออนไหว 26. จะไปไหนไมพนผีเสื้อนํ้า วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี ทานสงเราเขาที่เกาะละเมาะนี้ แลวรีบหนีไปในนํ้าแตลําพัง จากบทประพันธนี้การกระทําของพระอภัยมณีแสดงให เห็นถึงคุณธรรมในขอใดชัดเจนที่สุด 1. กลาหาญ 2. เสียสละ 3. กตัญู 4. เห็นอกเห็นใจผูอื่น ของบทละครอยางไร 21. บทบรรยายที่มีใ ของบทละครอยางไรของบทละครอยางไรF ของบทละครอยางไร มากที่สุด 22. บทละครพูดเรื่องเห็นแกลูก ใหประโยชนในขอใด มากที่สุดมากที่สุดF มากที่สุด จะสรอยเศราโศกานาสงสาร 23. จะสรอยเศราโศกานาสงสารจะสรอยเศราโศกานาสงสารC จะสรอยเศราโศกานาสงสาร ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน 24. เพราะเหตุใดผูอานเรื่องพระอภัยมณีจึงจําบทกลอน ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอนที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอนE ที่เปนขอคิดคําสอนไดหลายตอน ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น 25. การที่ปของพระอภัยมณี เปนเครื่องดนตรีชิ้นสําคัญ ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้นที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้นF ที่ชวยในการคลี่คลายแกไขปญหาในเรื่อง ดังนั้น วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี 26. วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผีวิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผีF วิบากกรรมก็จะสูอยูเปนผี 27. เหลาฉลามลวนฉลามตามกันมา คอยเคลื่อนคลาคลายคลายในสายชล จากบทประพันธนี้ คําวา “คลายคลาย” มีความหมาย ตรงกับขอใด 1. เกือบเหมือนกัน 2. จําไดอยางลางเลือน 3. เคลื่อนไหวไปเรื่อยๆ 4. วายไปมาเปนจํานวนมาก 28. ขอใดมีภาพพจนทั้งอุปมาและอติพจน 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง นอยหรือยังโหยกเหยกเด็กเกเร 2. อสุรีผีเสื้อเหลือจะอด แคนโอรสราวกับไฟไหมมังสา 3. ขาจะพาไปจับจงกลับหลัง ใหไดดังมุงมาดปรารถนา 4. ไมพบเห็นเปนเพลาเขาราตรี อสุรีเหลือแคนแนนอุรา 29. คํากลอนในขอใดเปนลักษณะคติชาวบานคือผัวเมีย ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน 1. อยูดีดีหนีเมียมาเสียได เสียนํ้าใจนองรักเปนหนักหนา 2. พระเสด็จไปไหนจะไปดวย เปนเพื่อนมวยภัสดาจนอาสัญ 3. พี่มนุษยสุดสวาทเปนชาติยักษ จงคิดหักความสวาทใหขาดสูญ 4. จงตัดบวงหวงใยอาลัยลาญ อยาปองผลาญลูกผัวของตัวเลย 30. บทประพันธในขอใดแสดงธรรมเนียมการประพฤติ อยางไทย 1. พงศกษัตริยตรัสชวนสินสมุทร สอนใหบุตรขอสมาอัชฌาสัย 2. พงศกษัตริยทัศนานางเงือกนอย ดูแชมชอยโฉมเฉลาทั้งเผาผม 3. พระโฉมยงองคอภัยมณีนาถ เพลินประพาสพิศดูหมูมัจฉา 4. ฝายองคพระอภัยวิไลโฉม ปลอบประโลมลูกชายจะผายผัน คอยเคลื่อนคลา 27. คอยเคลื่อนคลาคอยเคลื่อนคลาB คอยเคลื่อนคลา 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง 28. ขอใดมีภาพพจนทั้งอุปมาและอติพจน 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดังD 1. โกรธตวาดแผดเสียงสําเนียงดัง ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน 29. คํากลอนในขอใดเปนลักษณะคติชาวบานคือผัวเมีย ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกันตองรวมทุกขรวมสุขดวยกันD ตองรวมทุกขรวมสุขดวยกัน อยางไทย 30. บทประพันธในขอใดแสดงธรรมเนียมการประพฤติ อยางไทยอยางไทยE อยางไทย (9)
  • 10. โครงการบูรณาการแบบทดสอบ โครงการวัดและประเมินผลโครงการวัดและประเมินผล 31. บทประพันธในขอใดมีชื่อเทือกเขาที่ลอมรอบเขา พระสุเมรุ 1. อันถํ้านี้มีนามตามบุราณ อโนมานเคียงกันสีทันดร 2. นางผีเสื้อเหลือโกรธโลดทะลึ่ง โตดั่งหนึ่งยุคุนธรขุนไศล 3. แลวขึ้นยืนชะโงกโยกสิงขร จนโคลงคลอนเคลื่อนดังทั้งภูเขา 4. เปนเขตแควนแดนที่นางผีเสื้อ ขางฝายเหนือถึงมหิงษะสิงขร 32. นางผีเสื้อสมุทร นางเงือก และพระฤๅษี ตัวละคร ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด 1. ตัว ตัว ตน 2. ตน ตัว ตน 3. ตน ตน ตน 4. ตัว ตัว ตัว 33. บทประพันธในขอใดแสดงความรักอันลึกซึ้งระหวาง ชายหญิง 1. เสียแรงรักหนักหนาอุตสาหถนอม สูอดออมสารพัดไมขัดขืน 2. เห็นมิไดไปอยูเปนคูเชย ดวยสองเคยปลูกเลี้ยงกันเพียงนั้น 3. ชางกระไรใจจืดไมยืดยืน นางสะอื้นอาปากจนรากเรอ 4. จะเกิดไหนขอใหไดประสบกัน อยาโศกศัลยแคลวคลาดเหมือนชาตินี้ 34. บทประพันธในขอใดไมปรากฏคํายืมภาษาบาลี และสันสกฤต 1. ก็ฟูมฟายชลนาโศกาลัย 2. พระโอรสรูแจงไมแคลงจิต 3. รําคาญคิดเสียใจไมใครหาย 4. ดวยแมกลับอัปลักษณเปนยักษราย 35. คําที่ขีดเสนใตในขอใดอานตามหลักการอานเรียงพยางค 1. มิใชจักลืมคุณกรุณา 2. เงือกผูเฒาเคารพอภิวาท 3. พระลูกใหบิตุรงคทรงเสวย 4. ฝายเงือกนํ้าคํานับอภิวาท พระสุเมรุ 31. บทประพันธใน พระสุเมรุB พระสุเมรุB พระสุเมรุ ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด 32. นางผีเสื้อสมุทร นางเงือก และพระฤๅษี ตัวละคร ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใดทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใดC ทั้ง 3 ตัว มีลักษณนามเรียงตามลําดับตรงกับขอใด ชายหญิง 33. บทประพันธในขอใดแสดงความรักอันลึกซึ้งระหวาง ชายหญิงD ชายหญิงD ชายหญิง และสันสกฤต 34. บทประพันธในขอใดไมปรากฏคํายืมภาษาบาลี และสันสกฤตE และสันสกฤตE และสันสกฤต 1. มิใชจักลืมคุณ 35. คําที่ขีดเสนใตในขอใดอานตามหลักการอานเรียงพยางค 1. มิใชจักลืมคุณ1. มิใชจักลืมคุณF 1. มิใชจักลืมคุณ 36. กระทรวงศึกษาธิการกําหนดใหมีการทองบทอายาน โดยมีจุดมุงหมายในขอใด 1. เพื่อใหนักเรียนออกเสียงภาษาไทยไดถูกตอง 2. เพื่อฝกใหนักเรียนเปนผูมีความมั่นใจในตนเอง 3. เพื่อใหสอดคลองตามหลักสูตรการศึกษาปพุทธศักราช 2542 4. เพื่อใหนักเรียนเกิดความซาบซึ้งเห็นความงดงาม ทางภาษาและเห็นคุณคาของวรรณคดีไทย 37. ขอใดกลาวไมถูกตองเกี่ยวกับบทอาขยาน 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง 2. บทอาขยานจะเปนบทรอยกรองหรือบทรอยแกวก็ได 3. บทอาขยานจะตองมีความไพเราะ และมีเนื้อหา ใหคติสอนใจ 4. เวลาอานบทอาขยานจะตองอานตัว ร, ล ควบกลํ้า ใหถูกตองชัดเจน 38. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม จากบทประพันธคําที่ขีดเสนใตมีความหมายเหมือนกับ ขอใด 1. รัชนี 2. ศศิธร 3. คัคนานต 4. โคมรัตติกาล 39. ฉนากอยูคูฉนากไมจากคู ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน ฝูงพิมพาพาฝูงเขาแฝงวน บางผุดพนฟองนํ้าบางดําจร จากบทประพันธขางตนนี้ ตรงกับรสวรรณคดีในขอใด 1. เสาวรจนี 2. นารีปราโมทย 3. พิโรธวาทัง 4. สัลลาปงคพิสัย 40. จะเหลียวซายสายสมุทรสุดสายตา จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม จะเหลียวดูสุริยแสงเขาแฝงเมฆ ใหวิเวกหวาดองคพระทรงโฉม จากบทประพันธนี้วรรคใดมีการเลนเสียงสัมผัสพยัญชนะ มากที่สุด 1. วรรคที่ 1 2. วรรคที่ 2 3. วรรคที่ 3 4. วรรคที่ 4 36. กระทรวงศึ โดยมีจุดมุงหมายในขอใดB 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง 37. ขอใดกลาว 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียงC 1. บทอาขยานทุกบทจะตองอานออกเสียง จะแลขวาควันคลุมกลุม 38. จะแลขวาควันคลุมกลุมจะแลขวาควันคลุมกลุมC จะแลขวาควันคลุมกลุม ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน 39. ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝนขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝนD ขึ้นฟองฟูพนฟองละอองฝน จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม 40. จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยมจะแลขวาควันคลุมกลุมโพยมD จะแลขวาควันคลุมกลุมโพยม (10)