SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 4
ลีลาศ
Social Dance
ความหมาย
“ลีลาศ”หมายถึงการเต้นเพื่อความสนุกสนานและได้พบกับบุคคลอื่นๆ ในสังคมในงานสังสรรค์
หรืองานราตรีสโมสร ลีลาศนี้มีมานับเป็นพันๆ ปีแล้ว แต่เพิ่งมีหลักฐานแน่ชัดเมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1400
ซึ่งได้อธิบายถึงการก้าวเดิน และดนตรีการเต้นราแบบบอลรูม (Ballroom Dancing)
เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างชาติและเผ่าพันธุ์ต่างๆ ถึงแม้ว่าชาวตะวันตกจะนิยมกันอย่างมาก
แต่การเต้นราแบบบอลรูมก็เป็นที่ยอมรับของชนทุกชาติ
ประวัติมาเป็นมา
ในสมัยดึกดาบรรพ์ ชาวสปาร์ต้า จะฝึกกีฬา เช่น ชกมวย, ยิงธนู, วิ่ง, ขี่ม้า ล่าสัตว์ รวมการ เต้นรา
ส่วนชาวโรมันมีการเต้นราเพื่อแสดงความกล้าหาญ ผู้ที่มีชื่อเสียงในการเต้นตาของโรมันคือ ซีซีโร (Cicero :
1 0 6 – 4 3 B . C . ) การเต้นราแบบบอลรูม เริ่มตั้งแต่สมัยพระนางเจ้าอลิซาเบ็ธที่ 1
ซึ่งสมัยนั้นครั่งไคล้การเต้นราที่เรียกว่า “โวลต้า” ( V o l t a ) ซึ่งมีการจับคู่แบบวอลซ์ในปัจจุบัน
การเต้นแบบโวลต้านั้นฝ่ายชายจะช่วยให้ฝ่ายหญิงกระโดดขึ้นในอากาศด้วย ซึ่งพระราชินีเอง
ทรงพอพระทัยมาก เช็คสเปียร์ ( S h ak esp ear e : 1564 – 1616) อยู่ในกรุงลอนดอนหลายปี
ได้กล่าวไว้ในบทละครเรื่องพระเจ้าเฮนรี่ที่ 5 ว่า มีการเต้นอีกอย่างเรียกว่า “โคแรนโท หรือ โคแรนเท”
(Courante) สมัยศตวรรษที่ 17 การเต้นรามีแบบแผนมากขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพทฟอร์ด (John
W e a v e r & J o h n P l a y f o r d ) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เพลฟอร์ด
ได้เขียนเกี่ยวกับการเต้นราแบบเก่าของอังกฤษ ซึ่งรวบรวมได้ถึง 900 แบบอย่างแซมมวล ไพปส์ (Samuel
P e p y s : 1 6 3 2 – 1 7 0 4 ) ได้เขียนบันทึกประจาวันในสมัยการปกครองของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2
และได้บันทึกไว้เมื่อ ค.ศ.16 62 ถึงงานราตรีสโมสร ซึ่งพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทรงพาสุภาพสตรีออกเต้น
“โคแรนโท” (Coranto) การเต้นราได้แพร่เข้ามาประเทศฝรั่งเศส เปลี่ยนมาเรียกเป็นสาเนียงฝรั่งเศสว่า
คองเทร ดองเซ่ ( C o n t e r d a n s e ) พระเจ้าหลุยส์ที่ 1 4
ทรงโปรดปรานมากและต่อมาได้แพร่หลายไปยังประเทศอิตาลีและ สเปน
การเต้นราแบบบอลรูมในจังหวะวอลซ์ ( W a l t z ) ได้เริ่มขึ้นประมาณ ค.ศ. 1 8 0 0
เป็นจังหวะที่นิยมกันมากในสมัยนั้นในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรีย (The Victorian Era : 1830 – 80)
การไปงานราตรีสโมสร หนุ่มสาวจะไปเป็นคู่ๆ ต้องต่างคนต่างไป
และฝ่ายชายจะขอลีลาศกับหญิงคนเดิมมากกว่า 4 ครั้ง ไม่ได้ หญิงโสดก็จะต้องมีพี่เลี้ยงไปด้วย
ฝ่ายหญิงจะมีบัตรเล็กๆ สีขาว จดบันทึกไว้ว่า เพลงใดมีชายขอจองลีลาศไว้บ้างในศตวรรษที่ 2 0
นิโกรในอเมริกา มีบทบาทมากทางด้านดนตรี และลีลาต่างๆ ในนิวออร์ลีน
มีการเล่นดนตรีแบบพื้นเมืองของอาฟริกา ตอนแรกเรียกว่าจังหวะ (Syncopation) มีท่วงทานองเร้าใจ
และเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแจ๊ส ( J a z z A g e ) สมัยเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 1 ใหม่ๆ
ดนตรีจังหวะนี้ก็เข้ามาแพร่หลายในอังกฤษ พร้อมๆ
กันนั้นก็มีจังหวะพื้นเมืองอีกจังหวะหนึ่งมาจากอเมริกาใต้ คือ จังหวะแทงโก ( T a n g o )
ซึ่งมีจุดกาเนิดมาจากเพลงพื้นเมืองของพวกคาวบอยในอาร์เยนตินา ยุคนั้นเรียกว่า แร็กโทม์ (Rag – Time)
ซึ่งการเต้นไม่มีกฏเกณฑ์อะไร ต่อมาประมาณปี ค.ศ. 1 9 2 9
มีครูลีลาศในอังกฤษรวมกันเป็นคณะกรรมการปรับปรุงการลีลาสแบบบอลรูมขึ้นมาเป็นมาตรฐาน 4 จังหวะ
(ถ้ารวมควิกวอลซ์ด้วยจะเป็น 5 จังหวะ) ถือว่าเป็นแบบฉบับของชาวอังกฤษ คือ วอลซ์ (Waltz) ควิกสเต็ป
(Quickstep) แทงโก (Tango) และ ฟอกซ์ทรอต (Fox-trot) เนื่องจากอิทธิพลของยุคแจ๊ส (Jazz Age)
ก็ได้เกิดการลีลาศแบบลาตินอเมริกา ซึ่งจัดไว้เป็นมาตรฐาน 4 จังหวะ (ถ้ารวมพาโซโดเบิ้ล ก็จะเป็น 5
จังหวะ) คือ รัมบ้า (Rumba) ชา ชา ช่า (Cha – Cha – Cha) แซมบ้า (Samba) และไจว์ฟ (Jive)
โดยคัดเลือกจากการลีลาศประจาชาติต่างๆ เช่น แซมบ้าจากบราซิล รัมบ้าจากคิวบา พาโซโดเบิ้ลจากสเปน
และไจว์ฟจากอเมริกา
ประเภทของลีลาศ
แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.ประเภทบอลรูม (Ballroom) มีลักษณะการเต้นเต็มไปด้วยความอ่อนหวานลาตัวตั้งตรง ผึ่งผาย
ไม่โยกหรือส่ายสะโพกมาก ประกอบไปด้วย 5จังหวะ คือ
 วอลทช์ (Waltz)
 แทงโก้ (Tango)
 สโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow Fox Trot)
 ควิกสเตป(Quick Step)
 ควิกวอลทซ์ (Quick Waltz)
2. ประเภทลาตินอเมริกัน (Latin American) มีลักษณะการเต้นที่มีการเคลื่อนไหว ลาตัวมาก
โดยมากจะใช้สะโพก เอว เข่าและข้อเท้าเป็นสาคัญ ประกอบด้วย 5 จังหวะ คือ
 ช่า ช่า ช่า ( ChaCha Cha)
 คิวบันรุมบ้า (Cuban Rumba)
 แซมบ้า (Samba)
 ไจฟว์ (Jive)
 พาโชโดเปล
3. ประเภทเบ็ดเตล็ดต่างๆ ลักษณะการเต้นเป็นจังหวะที่ไม่ช้าไม่เร็วจนเกินไป
เป็นที่นิยมเต้นกันในประเทศไทยมาก ประกอบไปด้วย
 กัวราช่า ( Guaracha )
 รุมบ้า (American Rumba)
 บีกิน (Beguine)
 ตะลุง
มารยาทในการลีลาศ
1. ไม่ควรสูบบุหรี่หรือขบเคี้ยวของขณะลีลาศ
2. ต้องลีลาศไปตามทิศทางที่ถูกต้อง
3. ควรแต่งกายให้ถูกต้องตามกาละเทศะ
4. ให้ความสนใจคู่ลีลาศของตน
5. ไม่แสดงความเบื่อหน่ายคู่ลีลาศของตน
6. อย่าแสดงความสนใจคู่ลีลาศอื่น
7. หากมีความจาเป็นต้องพูดคุยกับผู้อื่นในขณะลีลาศ ควรแนะนาคู่ลีลาศของตนให้รู้จักด้วย
8. ไม่ร้องเพลงคลอเสียงดนตรีขณะลีลาศ
9. ถ้าจะเปลี่ยนคู่ลีลาศควรพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย
10. ไม่สอนลวดลายใหม่ขณะที่ลีลาศอยู่บนฟลอร์
11. การลีลาศโดยไม่จับคู่ถือว่าไม่สุภาพ
 ·มารยาทในการลีลาศของสุภาพบุรุษ
1. ไม่ควรยืนข้างฟลอร์เฉยๆ
2. ไม่ตัดคู่ขอลีลาศกับสุภาพสตรีที่กาลังลีลาศอยู่ เมื่อยังมีสตรีอื่นไม่ได้ออกลีลาศ
3. ควรเดินนาหน้าเพื่อขอทาง โดยยื่นมืออีกข้างให้สุภาพสตรีจับถ้าฟลอร์แน่น
4. เมื่อจบเพลงควรเดินตามไปส่งให้ถึงที่นั่ง พร้อมกับกล่าวขอบคุณ
5. ไม่ควรนาลีลาศในลวดลายที่ยาก
6. ถ้าจะขอลีลาศกับสุภาพสตรีอื่น ต้องขออนุญาตคู่ลีลาศของเขาก่อนและให้สุภาพสตรีพอใจที่จะลีลาศด้วย
 มารยาทในการลีลาศของสุภาพสตรี
1. พยายามเป็นผู้ตาม
2. รับการขอลีลาศจากสุภาพบุรุษเสมอ
3. กล่าวรับคาขอบคุณของสุภาพบุรุษอย่างสุภาพ
4. เมื่อปฏิเสธการลีลาศจากสุภาพบุรุษคนหนึ่งแล้ว ไม่ควรออกลีลาศกับสุภาพบุรุษอื่นในจังหวะนั้น
 ประโยชน์ของลีลาศ
1. ช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์ เพราะเป็นการออกกาลังกาย
2. เป็นกิจกรรมที่ทั้งชายและหญิงเข้าร่วมพร้อมๆ กันได้
3. เป็นกิจกรรมที่ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องทางกาย ทั้งยังช่วยสร้างเสริมทรวดทรง ท่าทางและมารยาท
4. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง
5. ช่วยให้เข้าสังคมได้ดี
6. ช่วยให้ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งเป็นกิจกรรมนันทนาการ
7. ช่วยให้ลดน้าหนักได้ด้วยความสามารถ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
madechada
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
Natthawut Sutthi
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
Pochchara Tiamwong
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
พรรณภา ดาวตก
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
kroojaja
 
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบินแบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
Chanabodee Ampalin
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
nurmedia
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
krupornpana55
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 

La actualidad más candente (20)

ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
ความน่าจะเป็น_9วิชาสามัญ(55-58)
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41โควต้ามช เคมี ปี41
โควต้ามช เคมี ปี41
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบฟอร์มรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทยโครงการชุมนุมดนตรีไทย
โครงการชุมนุมดนตรีไทย
 
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยีแบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
แบบสอบถามการใช้เทคโนโลยี
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบินแบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
แบบประเมินโครงการสัมมนาด้านการบิน
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
รายงานผลการปฏิบัติหน้าที่ครูเวรประจำวันพฤหัสบดี 1-2563
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 

Destacado

Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Neha Ahuja
 
การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)
Kittiya Youngjarean
 
Luyện thi Chứng chỉ A Tin học
Luyện thi Chứng chỉ A Tin họcLuyện thi Chứng chỉ A Tin học
Luyện thi Chứng chỉ A Tin học
ltgiang87
 
การลงทุนในหุ้นสามัญ
การลงทุนในหุ้นสามัญการลงทุนในหุ้นสามัญ
การลงทุนในหุ้นสามัญ
Kittiya Youngjarean
 
Digital Printing in Dubai
Digital Printing in DubaiDigital Printing in Dubai
Digital Printing in Dubai
Bruce Clay
 
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. SinielMeaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
airazygy
 
Leadership as pupose (journal)
Leadership as pupose (journal)Leadership as pupose (journal)
Leadership as pupose (journal)
LoverBhoii
 

Destacado (18)

Graphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shopsGraphene light bulb set for shops
Graphene light bulb set for shops
 
Find the words_that_ryhme
Find the words_that_ryhmeFind the words_that_ryhme
Find the words_that_ryhme
 
Storyworld Jam '14
Storyworld Jam '14Storyworld Jam '14
Storyworld Jam '14
 
Enhance Pedadogies
Enhance PedadogiesEnhance Pedadogies
Enhance Pedadogies
 
Sat rday
Sat rdaySat rday
Sat rday
 
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)Infant feeding-and-climate-change-india (2)
Infant feeding-and-climate-change-india (2)
 
Bridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practiseBridging the gap between theory and practise
Bridging the gap between theory and practise
 
การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)การรวมกิจการ (ต่อ)
การรวมกิจการ (ต่อ)
 
IoT Protocols
IoT ProtocolsIoT Protocols
IoT Protocols
 
Luyện thi Chứng chỉ A Tin học
Luyện thi Chứng chỉ A Tin họcLuyện thi Chứng chỉ A Tin học
Luyện thi Chứng chỉ A Tin học
 
Family
FamilyFamily
Family
 
Policy Engagement through Digital Participation (Serious Games)
Policy Engagement through Digital Participation (Serious Games)Policy Engagement through Digital Participation (Serious Games)
Policy Engagement through Digital Participation (Serious Games)
 
การลงทุนในหุ้นสามัญ
การลงทุนในหุ้นสามัญการลงทุนในหุ้นสามัญ
การลงทุนในหุ้นสามัญ
 
Digital Printing in Dubai
Digital Printing in DubaiDigital Printing in Dubai
Digital Printing in Dubai
 
Final start
Final startFinal start
Final start
 
TV3.0 New TV frontiers.
TV3.0 New TV frontiers.TV3.0 New TV frontiers.
TV3.0 New TV frontiers.
 
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. SinielMeaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
Meaning and Importance of Genetic Engineering by Aira J. Siniel
 
Leadership as pupose (journal)
Leadership as pupose (journal)Leadership as pupose (journal)
Leadership as pupose (journal)
 

Similar a มารยาทในการลีลาศ

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
อำนาจ ศรีทิม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
อำนาจ ศรีทิม
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
kruood
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
Kruanchalee
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
bmbeam
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
Surin Keawkerd
 

Similar a มารยาทในการลีลาศ (20)

วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 
กีฬาลีลาศ
กีฬาลีลาศกีฬาลีลาศ
กีฬาลีลาศ
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 

มารยาทในการลีลาศ

  • 1. ลีลาศ Social Dance ความหมาย “ลีลาศ”หมายถึงการเต้นเพื่อความสนุกสนานและได้พบกับบุคคลอื่นๆ ในสังคมในงานสังสรรค์ หรืองานราตรีสโมสร ลีลาศนี้มีมานับเป็นพันๆ ปีแล้ว แต่เพิ่งมีหลักฐานแน่ชัดเมื่อประมาณ ปี ค.ศ.1400 ซึ่งได้อธิบายถึงการก้าวเดิน และดนตรีการเต้นราแบบบอลรูม (Ballroom Dancing) เปรียบเสมือนสะพานเชื่อมช่องว่างระหว่างชาติและเผ่าพันธุ์ต่างๆ ถึงแม้ว่าชาวตะวันตกจะนิยมกันอย่างมาก แต่การเต้นราแบบบอลรูมก็เป็นที่ยอมรับของชนทุกชาติ ประวัติมาเป็นมา ในสมัยดึกดาบรรพ์ ชาวสปาร์ต้า จะฝึกกีฬา เช่น ชกมวย, ยิงธนู, วิ่ง, ขี่ม้า ล่าสัตว์ รวมการ เต้นรา ส่วนชาวโรมันมีการเต้นราเพื่อแสดงความกล้าหาญ ผู้ที่มีชื่อเสียงในการเต้นตาของโรมันคือ ซีซีโร (Cicero : 1 0 6 – 4 3 B . C . ) การเต้นราแบบบอลรูม เริ่มตั้งแต่สมัยพระนางเจ้าอลิซาเบ็ธที่ 1 ซึ่งสมัยนั้นครั่งไคล้การเต้นราที่เรียกว่า “โวลต้า” ( V o l t a ) ซึ่งมีการจับคู่แบบวอลซ์ในปัจจุบัน การเต้นแบบโวลต้านั้นฝ่ายชายจะช่วยให้ฝ่ายหญิงกระโดดขึ้นในอากาศด้วย ซึ่งพระราชินีเอง ทรงพอพระทัยมาก เช็คสเปียร์ ( S h ak esp ear e : 1564 – 1616) อยู่ในกรุงลอนดอนหลายปี ได้กล่าวไว้ในบทละครเรื่องพระเจ้าเฮนรี่ที่ 5 ว่า มีการเต้นอีกอย่างเรียกว่า “โคแรนโท หรือ โคแรนเท” (Courante) สมัยศตวรรษที่ 17 การเต้นรามีแบบแผนมากขึ้น จอห์น วีเวอร์ และ จอห์น เพทฟอร์ด (John W e a v e r & J o h n P l a y f o r d ) เป็นนักเขียนชาวอังกฤษที่มีชื่อเสียง เพลฟอร์ด ได้เขียนเกี่ยวกับการเต้นราแบบเก่าของอังกฤษ ซึ่งรวบรวมได้ถึง 900 แบบอย่างแซมมวล ไพปส์ (Samuel P e p y s : 1 6 3 2 – 1 7 0 4 ) ได้เขียนบันทึกประจาวันในสมัยการปกครองของพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 และได้บันทึกไว้เมื่อ ค.ศ.16 62 ถึงงานราตรีสโมสร ซึ่งพระเจ้าชาร์ลส์ที่ 2 ทรงพาสุภาพสตรีออกเต้น “โคแรนโท” (Coranto) การเต้นราได้แพร่เข้ามาประเทศฝรั่งเศส เปลี่ยนมาเรียกเป็นสาเนียงฝรั่งเศสว่า คองเทร ดองเซ่ ( C o n t e r d a n s e ) พระเจ้าหลุยส์ที่ 1 4 ทรงโปรดปรานมากและต่อมาได้แพร่หลายไปยังประเทศอิตาลีและ สเปน การเต้นราแบบบอลรูมในจังหวะวอลซ์ ( W a l t z ) ได้เริ่มขึ้นประมาณ ค.ศ. 1 8 0 0 เป็นจังหวะที่นิยมกันมากในสมัยนั้นในสมัยพระนางเจ้าวิคตอเรีย (The Victorian Era : 1830 – 80) การไปงานราตรีสโมสร หนุ่มสาวจะไปเป็นคู่ๆ ต้องต่างคนต่างไป
  • 2. และฝ่ายชายจะขอลีลาศกับหญิงคนเดิมมากกว่า 4 ครั้ง ไม่ได้ หญิงโสดก็จะต้องมีพี่เลี้ยงไปด้วย ฝ่ายหญิงจะมีบัตรเล็กๆ สีขาว จดบันทึกไว้ว่า เพลงใดมีชายขอจองลีลาศไว้บ้างในศตวรรษที่ 2 0 นิโกรในอเมริกา มีบทบาทมากทางด้านดนตรี และลีลาต่างๆ ในนิวออร์ลีน มีการเล่นดนตรีแบบพื้นเมืองของอาฟริกา ตอนแรกเรียกว่าจังหวะ (Syncopation) มีท่วงทานองเร้าใจ และเป็นจุดเริ่มต้นของยุคแจ๊ส ( J a z z A g e ) สมัยเริ่มสงครามโลกครั้งที่ 1 ใหม่ๆ ดนตรีจังหวะนี้ก็เข้ามาแพร่หลายในอังกฤษ พร้อมๆ กันนั้นก็มีจังหวะพื้นเมืองอีกจังหวะหนึ่งมาจากอเมริกาใต้ คือ จังหวะแทงโก ( T a n g o ) ซึ่งมีจุดกาเนิดมาจากเพลงพื้นเมืองของพวกคาวบอยในอาร์เยนตินา ยุคนั้นเรียกว่า แร็กโทม์ (Rag – Time) ซึ่งการเต้นไม่มีกฏเกณฑ์อะไร ต่อมาประมาณปี ค.ศ. 1 9 2 9 มีครูลีลาศในอังกฤษรวมกันเป็นคณะกรรมการปรับปรุงการลีลาสแบบบอลรูมขึ้นมาเป็นมาตรฐาน 4 จังหวะ (ถ้ารวมควิกวอลซ์ด้วยจะเป็น 5 จังหวะ) ถือว่าเป็นแบบฉบับของชาวอังกฤษ คือ วอลซ์ (Waltz) ควิกสเต็ป (Quickstep) แทงโก (Tango) และ ฟอกซ์ทรอต (Fox-trot) เนื่องจากอิทธิพลของยุคแจ๊ส (Jazz Age) ก็ได้เกิดการลีลาศแบบลาตินอเมริกา ซึ่งจัดไว้เป็นมาตรฐาน 4 จังหวะ (ถ้ารวมพาโซโดเบิ้ล ก็จะเป็น 5 จังหวะ) คือ รัมบ้า (Rumba) ชา ชา ช่า (Cha – Cha – Cha) แซมบ้า (Samba) และไจว์ฟ (Jive) โดยคัดเลือกจากการลีลาศประจาชาติต่างๆ เช่น แซมบ้าจากบราซิล รัมบ้าจากคิวบา พาโซโดเบิ้ลจากสเปน และไจว์ฟจากอเมริกา ประเภทของลีลาศ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท 1.ประเภทบอลรูม (Ballroom) มีลักษณะการเต้นเต็มไปด้วยความอ่อนหวานลาตัวตั้งตรง ผึ่งผาย ไม่โยกหรือส่ายสะโพกมาก ประกอบไปด้วย 5จังหวะ คือ  วอลทช์ (Waltz)  แทงโก้ (Tango)  สโลว์ฟอกซ์ทรอท (Slow Fox Trot)  ควิกสเตป(Quick Step)  ควิกวอลทซ์ (Quick Waltz) 2. ประเภทลาตินอเมริกัน (Latin American) มีลักษณะการเต้นที่มีการเคลื่อนไหว ลาตัวมาก โดยมากจะใช้สะโพก เอว เข่าและข้อเท้าเป็นสาคัญ ประกอบด้วย 5 จังหวะ คือ  ช่า ช่า ช่า ( ChaCha Cha)  คิวบันรุมบ้า (Cuban Rumba)  แซมบ้า (Samba)
  • 3.  ไจฟว์ (Jive)  พาโชโดเปล 3. ประเภทเบ็ดเตล็ดต่างๆ ลักษณะการเต้นเป็นจังหวะที่ไม่ช้าไม่เร็วจนเกินไป เป็นที่นิยมเต้นกันในประเทศไทยมาก ประกอบไปด้วย  กัวราช่า ( Guaracha )  รุมบ้า (American Rumba)  บีกิน (Beguine)  ตะลุง มารยาทในการลีลาศ 1. ไม่ควรสูบบุหรี่หรือขบเคี้ยวของขณะลีลาศ 2. ต้องลีลาศไปตามทิศทางที่ถูกต้อง 3. ควรแต่งกายให้ถูกต้องตามกาละเทศะ 4. ให้ความสนใจคู่ลีลาศของตน 5. ไม่แสดงความเบื่อหน่ายคู่ลีลาศของตน 6. อย่าแสดงความสนใจคู่ลีลาศอื่น 7. หากมีความจาเป็นต้องพูดคุยกับผู้อื่นในขณะลีลาศ ควรแนะนาคู่ลีลาศของตนให้รู้จักด้วย 8. ไม่ร้องเพลงคลอเสียงดนตรีขณะลีลาศ 9. ถ้าจะเปลี่ยนคู่ลีลาศควรพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่าย 10. ไม่สอนลวดลายใหม่ขณะที่ลีลาศอยู่บนฟลอร์ 11. การลีลาศโดยไม่จับคู่ถือว่าไม่สุภาพ  ·มารยาทในการลีลาศของสุภาพบุรุษ 1. ไม่ควรยืนข้างฟลอร์เฉยๆ 2. ไม่ตัดคู่ขอลีลาศกับสุภาพสตรีที่กาลังลีลาศอยู่ เมื่อยังมีสตรีอื่นไม่ได้ออกลีลาศ 3. ควรเดินนาหน้าเพื่อขอทาง โดยยื่นมืออีกข้างให้สุภาพสตรีจับถ้าฟลอร์แน่น 4. เมื่อจบเพลงควรเดินตามไปส่งให้ถึงที่นั่ง พร้อมกับกล่าวขอบคุณ 5. ไม่ควรนาลีลาศในลวดลายที่ยาก 6. ถ้าจะขอลีลาศกับสุภาพสตรีอื่น ต้องขออนุญาตคู่ลีลาศของเขาก่อนและให้สุภาพสตรีพอใจที่จะลีลาศด้วย  มารยาทในการลีลาศของสุภาพสตรี 1. พยายามเป็นผู้ตาม 2. รับการขอลีลาศจากสุภาพบุรุษเสมอ 3. กล่าวรับคาขอบคุณของสุภาพบุรุษอย่างสุภาพ
  • 4. 4. เมื่อปฏิเสธการลีลาศจากสุภาพบุรุษคนหนึ่งแล้ว ไม่ควรออกลีลาศกับสุภาพบุรุษอื่นในจังหวะนั้น  ประโยชน์ของลีลาศ 1. ช่วยสร้างเสริมสุขภาพให้สมบูรณ์ เพราะเป็นการออกกาลังกาย 2. เป็นกิจกรรมที่ทั้งชายและหญิงเข้าร่วมพร้อมๆ กันได้ 3. เป็นกิจกรรมที่ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องทางกาย ทั้งยังช่วยสร้างเสริมทรวดทรง ท่าทางและมารยาท 4. ช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเชื่อมั่นในตนเอง 5. ช่วยให้เข้าสังคมได้ดี 6. ช่วยให้ได้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ซึ่งเป็นกิจกรรมนันทนาการ 7. ช่วยให้ลดน้าหนักได้ด้วยความสามารถ