SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 36
Descargar para leer sin conexión
บทที่ 1 บทนำ

                   จัดทาโดย
          อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
               ปีการศึกษา 2553

                                               Page 1
หัวข้อบรรยาย
การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
      •   ความหมาย
      •   ความสาคัญ
      •   ขอบเขต
      •   พัฒนาการ
                          Page 2
•   ก่อนอื่นมาทบทวนความหมายของคา 2 คา คือ
    “สารสนเทศ (Information)” และ

     “ความรู้ (Knowledge)”

    ก่อนเนื่องจากมีความสัมพันธ์โดยตรงกับเรื่อง
    การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ


                                            Page 3
ความหมายของสารสนเทศ
•   มาจากภาษาอังกฤษว่า Information
•   ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการ
    ที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์
    เรียบเรียง บันทึก และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่างๆ
    ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
    เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป
                                        (แนวคิดของผู้สอน)


                                                       Page 4
ความหมายของสารสนเทศ (ต่อ)
•   จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553)
    คือ สิ่งที่ได้จากการนาข้อมูลทีเก็บรวบรวมไว้มา
                                  ่
            ประมวลผล เพือนามาใช้ประโยชน์ตาม
                             ่
             จุดประสงค์
        เป็นข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับ
             การใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้

                                                   Page 5
ความหมายของสารสนเทศ (ต่อ)
•   จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553)
•   สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลและสามารถ
         นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจ
         และการคาดการณ์ในอนาคตได้ โดยแสดงใน
         รูปของข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ


                                            Page 6
สรุปความหมายของสารสนเทศ
                     (Information)
•   ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการของมนุษย์
•   ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์ เรียบเรียง บันทึก
•   และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่างๆ ได้แก่ สือสิ่งพิมพ์
                                                ่
    สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์
•   สารสนเทศเหล่านั้นต้องอยู่ในรูปแบบที่นาไปใช้ได้เลย เช่น
    เป็นสรุปรายงาน บทวิเคราะห์          แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ
•   และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้
•   เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ได้อย่างทันเวลา
                                                       Page 7
ความหมายของความรู้
•   มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Knowledge
•   จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542
        (2553)
•   สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ
           ประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ
•   ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่
           ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ
•   องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่อง
           สุขภาพ                                            Page 8
ความหมายของความรู้ (ต่อ)
•   จากวิกิพเดีย สารานุกรมเสรี (2553)
             ี
•   คือ สิ่งทีมนุษย์สร้าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริง
               ่
                 ความหมาย
        โดยใช้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตรรกะ แสดงผ่าน
                 ภาษา เครื่องหมาย และสือต่างๆ
                                       ่
        โดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เป็นไปตามผู้สร้าง
                 ผู้ผลิตจะให้ความหมาย
                                                    Page 9
ความหมายของความรู้ (ต่อ)
•   จากประภาเพ็ญ สุวรรณ (อ้างถึงในอักษร สวัสดี, 2542: 26) พบในวิกิพีเดีย
    สารานุกรมเสรี (2553)
•   เป็นพฤติกรรมขั้นต้นที่ผู้เรียนรู้เพียงแต่เกิดความจาได้ โดยอาจจะเป็น
         การนึกได้ หรือโดยการมองเห็น ได้ยิน จาได้
•   ความรู้ในชั้นนี้ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคาจากัดความ ความหมาย ข้อเท็จจริง
         กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหา
•   ส่วนความเข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน “การแปล” ซึง        ่
         หมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับข่าวสารนั้น ๆ
         โดยใช้คาพูดของตนเอง และ
•   “การให้ความหมาย” ที่แสดงออกมาในรูปของความคิดเห็นและข้อสรุป
         รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายว่าจะเกิด
         อะไรขึ้น                                                     Page 10
ระดับของความรู้
•   จากเบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี,
    2542: 26-28) พบในวิกิพเดีย สารานุกรมเสรี (2553)
                           ี
    1.   ความรู้ (Knowledge)
    2.   ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด    (Comprehension)

    3.   การนาไปปรับใช้ (Application)
    4.   การวิเคราะห์ (Analysis)
    5.   การสังเคราะห์ (Synthesis)
    6.   การประเมินผล (Evaluation)
                                                         Page 11
ระดับของความรู้ (ต่อ)
1.   ความรู้ (Knowledge)
     หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึง
     ความคิด วัตถุ และปรากฏการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นความจา
     ที่เริ่มจากสิ่งง่ายๆ ที่เป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาใน
     สิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน



                                                        Page 12
ระดับของความรู้ (ต่อ)
2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension)
    เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้
 ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล
 การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกับสื่อความหมาย และ
 ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปความ หรือ
 การขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง


                                          Page 13
ระดับของความรู้ (ต่อ)
3. การนาไปปรับใช้ (Application)
        เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge)
  ความเข้าใจ หรือความคิดรวบยอด (comprehension) ใน
  เรื่องใด ๆ ที่มีอยู่เดิมไปแก้ไขปัญหาที่แปลกใหม่ของเรื่องนั้น
  โดยการใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการกับ
  ความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการ
  แปลความหมาย การสรุปความ หรือการขยายความสิ่งนั้น
                                                         Page 14
ระดับของความรู้ (ต่อ)
4. การวิเคราะห์ (Analysis)
      เป็นความสามารถ และทักษะที่สูงกว่าความเข้าใจ
  และการนาไปปรับใช้ โดยมีลกษณะเป็นการแยกแยะสิ่งที่
                              ั
  จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กัน
  รวมทั้งการค้นหาความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่า
  ส่วนประกอบปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่
  อันจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริง
                                                     Page 15
ระดับของความรู้ (ต่อ)
5. การสังเคราะห์ (Synthesis)
        เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบย่อยๆ หรือส่วน
  ใหญ่ ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน
        การสังเคราะห์จะมีลักษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวม
  เนื้อหาสาระของเรื่องต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน
        เพื่อสร้างรูปแบบ หรือโครงสร้างที่ยังไม่ชัดเจนขึ้นมาก่อน
  อันเป็นกระบวนการทีต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ภายในขอบเขต
                        ่
  ของสิ่งที่กาหนดให้

                                                           Page 16
ระดับของความรู้ (ต่อ)
6. การประเมินผล (Evaluation)
       เป็นความสามารถในการตัดสินเกียวกับความคิด ค่านิยม
                                      ่
  ผลงาน คาตอบ วิธการ และเนื้อหาสาระ
                        ี
       เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยมีการกาหนดเกณฑ์ (criteria)
  เป็นฐานในการพิจารณาตัดสิน
       การประเมินผล จัดได้ว่าเป็นขั้นตอนที่สูงสุดของพุทธิลกษณะ
                                                          ั
  (characteristics of cognitive domain) ที่ต้องใช้ความรู้ความ
  เข้าใจ การนาไปปรับใช้ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์เข้ามา
  พิจารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมินผลสิ่งหนึ่งสิ่งใด
                                                         Page 17
สรุปความหมายของความรู้
                     (Knowledge)
•   สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ
           ประสบการณ์
•   เป็นสิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการ
           ปฏิบัติ
•   จนรู้แล้ว จาได้ และเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปปรับใช้
    (แก้ปัญหา)           วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสิน
    ความคิด ค่านิยม ผลงาน วิธีการ และเนื้อหาสาระได้
•   เช่น องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้
           เรื่องสุขภาพ เป็นต้น
                                                         Page 18
ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•   มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and
        Retrieval ใช้อักษรย่อ “ISAR” หรือ “ISR”


• “Operations performed by the hardware and software
  used in indexing and storing a file of machine-readable
  records whenever a user queries the system for
  information relevant to a specific topic. For records to be
  retrieved, the search statement must be expressed in
  syntax executable by the computer.”

                                      (Reitz, 2004-2010)
                                                         Page 19
ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
• The linked activities of storing and retrieving
  information, and the strategies and techniques
  for doing so.
• The activities are linked because the means of
  retrieving information are dependent on the
  means by which it was stored.
• The storage strategy must be designed for the
  most efficient retrieval, consistent with the
  characteristics of the information and the time
  and cost that can be tolerated.
                                     (Daintith, 2004)
                                                 Page 20
ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
                                                  (มาลี ล้าสกุล, 2545: 1: 8)
•   เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ
    การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการ
    สาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการ
    ค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจาก
    แหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก
•   เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ
    ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้
    อย่างรวดเร็วทันการณ์
•   ทั้งนี้การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วย
    แรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์                                  Page 21
ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•   การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีความสาคัญต่อ

       1.   หน่วยงานบริการสารสนเทศ
        (ห้องสมุด    ศูนย์สารสนเทศ หน่วยงานจดหมายเหตุ ฯลฯ)

       2.   ผู้ใช้



                                                         Page 22
ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
1.   ต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ
     1.1   เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ
                  และผู้ต้องการใช้สารสนเทศ
     1.2   ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมี
                  ประสิทธิภาพ
     1.3   เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อ
                  ส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด
     1.4    ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้
                  ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไป
                  ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ
                                                                     Page 23
ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 2.   ต่อผู้ใช้
      2.1   เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายใน
                    หน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลก
                    อย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของ
                    การใช้สารสนเทศ
      2.2   ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสารแนะนาการใช้
                    ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความสะดวก
                    เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืน
                    สารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม

                                                                  Page 24
ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
  2.3   มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
                   เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้น
                   คืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด
  2.4   ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อ
                   นาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและตามความสนใจ
  2.5   สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ
                   เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา
                   แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียน
                   แบบพึ่งตนเองตลอดไป

                                                                       Page 25
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
1.   ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน
         สารสนเทศ
2.   เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
3.   การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ
4.   ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหา
         สารสนเทศ
5.   การค้นคืนสารสนเทศ
                                                Page 26
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
1.    ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน
      สารสนเทศ
•    องค์ประกอบของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•    ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•    ระบบค้นคืนสารสนเทศ (องค์ประกอบ หน้าที่ และระบบย่อย)
•    ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศและแนวคิดพฤติกรรมการแสวงหา
     สารสนเทศ
•    การประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (แนวคิด ขั้นตอน)

                                                        Page 27
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
2.    เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•    เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์
          ฐานข้อมูล และการสื่อสาร)
•    เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และแสดงผล
•    เทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศ (ดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการ
          เลือกฐานข้อมูล)
•    เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการค้นคืนสารสนเทศ
•    การประยุกต์เทคโนโลยีไฮเปอร์มีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ
•    มาตรฐานสาคัญในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศซึ่งได้แก่ มาตรฐาน
          การลงรหัสอักขระ        มาตรฐานสาหรับการพรรณนาสารสนเทศ และ
          มาตรฐานในการค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างระบบ           Page 28
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
3.   การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ
•     การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทนสาระ (ระบบการจัดหมวดหมู่
          สารสนเทศ)
•     การจัดทาโครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นคืน (การทา
          รายการสารสนเทศ)
•     ดรรชนีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือการนาคาในบริบทมา
          เป็นศัพท์ดรรชนี และดรรชนีที่สร้างโดยกาหนดคาขึ้นแทนสาระของ
          เอกสาร)
•    การควบคุมคาศัพท์ (หัวเรื่อง และอรรถาภิธาน)
•    การจัดทาสาระสังเขปเพื่อการจัดเก็บเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ
                                                              Page 29
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
4.   ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหา
     สารสนเทศ
•    ผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ
•    การศึกษาผู้ใช้
•    การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้
•    การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ
•    การศึกษาวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อนาผลมาใช้ในการ
     ออกแบบระบบค้นคืนสารสนเทศ

                                                           Page 30
ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
5.   การค้นคืนสารสนเทศ
•    กระบวนการ/ ขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศ
•    กลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศ
•    เทคนิคการค้นคืน
•    การใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งต่าง ๆ
•    การค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์ / ฐานข้อมูลซีดีรอม/
        อินเทอร์เน็ต


                                                                Page 31
พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ

•   ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
               ก่อนทศวรรษ 1960
•   ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
               ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป




                                                   Page 32
พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•   ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
       ก่อนทศวรรษ 1960 แบ่งเป็น
    1)   การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระยะแรกเริ่ม
          เป็นการพัฒนาระบบ และเครื่องมือจัดเก็บสื่อบันทึกความรู้และการ ค้นหา
          ทรัพยากรสารสนเทศในลักษณะสิ่งพิมพ์ อาทิ ระบบจัดหมวดหมู่ (DDC, LC)
          การจัดทาดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ
    2) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก
          มีการนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก (ถ่ายภาพย่อส่วนลงฟิล์ม) มาใช้จัดเก็บและ
          ค้นคืนสารสนเทศ โดยมีการใช้ระบบคอมและระบบคาร์ช่วย ต่อมาเกิด
          เทคโนโลยีทาดรรชนี (ควิก) และริเริมใช้คอมพิวเตอร์ทาบัตรรายการ
                                           ่


                                                                       Page 33
พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
•   ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
               ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป
    เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่
    สาคัญ โครงการต่าง ๆ อาทิ การวิจัยกลุ่มแครนฟิลด์ เมดลาร์ส สมาร์ท การ
    วิจัยของซาระเซวิค และกลุ่มเทรค    เกิดกลุ่มความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน
    บริการสารสนเทศ รวมถึงบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และการจัดเก็บ
    และค้นคืนสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต




                                                                     Page 34
บรรณานุกรม
เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval).
        พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา
        สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน [ออนไลน์]. 15 พฤษภาคม 2553.
        เข้าถึงจาก: http://rirs3.royin.go.th/word3/word-3-a0.asp
มาลี ล้าสกุล. 2545. “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ.”
        ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการ ค้นคืนสารสนเทศ
        (Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 1-29.

        นนทบุร:ี สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
                                                                     Page 35
บรรณานุกรม                     (ต่อ)


วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี.   2553.สารสนเทศ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก:
           th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ

------------. 2553. ความรู้ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/ความรู้
Daintith, John. 2004. A Dictionary of Computing. Encyclopedia.com.
         Available: http://www.encyclopedia.com
Reitz, Joan M. 2004-2010. ODLIS — Online Dictionary for Library
         and Information Science [Online]. Available:
         http://lu.com/odlis/odlis_i.cfm#information




                                                                         Page 36

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านASI403 : Arsomsilp Institue of the Arts
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชWichai Likitponrak
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น Maitree Rimthong
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง Patzuri Orz
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1KruKaiNui
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1gueste0411f21
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขThanapol Pacharapha
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดWilawun Wisanuvekin
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 

La actualidad más candente (20)

Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่านวิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
วิธีบันทึกข้อมูลจากการอ่าน
 
มหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืชมหัศจรรย์พืช
มหัศจรรย์พืช
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
พื้นฐานความรู้เกี่ยวกับฟังก์ชัน Ms excel ทุกเวอร์ชั่น
 
นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง นิราศภูเขาทอง
นิราศภูเขาทอง
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
แผ่นพับ โครงงานคุณธรรม 1
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัขใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
ใบงานเรื่องเมื่อแพะกลายเป็นสุนัข
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 

Destacado

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 

Destacado (20)

หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 

Similar a บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นKorawan Sangkakorn
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้uncasanova
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้ Walaiporn Mahamai
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศSrion Janeprapapong
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacyBodaidog
 
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลwasan
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 

Similar a บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ) (20)

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้การจัดการการเรียนรู้
การจัดการการเรียนรู้
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้  คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
คู่มือการจัดทำแผนการจัดการความรู้
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
ICT Literacy
ICT LiteracyICT Literacy
ICT Literacy
 
Ict literacy
Ict literacyIct literacy
Ict literacy
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากลการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
การพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
D eblog17
D eblog17D eblog17
D eblog17
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 

Más de Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

Más de Srion Janeprapapong (11)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)

  • 1. บทที่ 1 บทนำ จัดทาโดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ปีการศึกษา 2553 Page 1
  • 2. หัวข้อบรรยาย การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ความหมาย • ความสาคัญ • ขอบเขต • พัฒนาการ Page 2
  • 3. ก่อนอื่นมาทบทวนความหมายของคา 2 คา คือ “สารสนเทศ (Information)” และ “ความรู้ (Knowledge)” ก่อนเนื่องจากมีความสัมพันธ์โดยตรงกับเรื่อง การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ Page 3
  • 4. ความหมายของสารสนเทศ • มาจากภาษาอังกฤษว่า Information • ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการ ที่ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์ เรียบเรียง บันทึก และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่างๆ ได้แก่ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป (แนวคิดของผู้สอน) Page 4
  • 5. ความหมายของสารสนเทศ (ต่อ) • จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) คือ สิ่งที่ได้จากการนาข้อมูลทีเก็บรวบรวมไว้มา ่ ประมวลผล เพือนามาใช้ประโยชน์ตาม ่ จุดประสงค์ เป็นข้อมูลที่ผ่านการเลือกสรรให้เหมาะสมกับ การใช้งานให้ทันเวลา และอยู่ในรูปที่ใช้ได้ Page 5
  • 6. ความหมายของสารสนเทศ (ต่อ) • จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) • สิ่งที่ได้จากการประมวลผลข้อมูลและสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในการวางแผน การตัดสินใจ และการคาดการณ์ในอนาคตได้ โดยแสดงใน รูปของข้อความ ตาราง แผนภูมิ หรือรูปภาพ Page 6
  • 7. สรุปความหมายของสารสนเทศ (Information) • ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ประสบการณ์ จินตนาการของมนุษย์ • ผ่านกระบวนการคัดเลือก รวบรวม วิเคราะห์ เรียบเรียง บันทึก • และเผยแพร่ลงในสื่อประเภทต่างๆ ได้แก่ สือสิ่งพิมพ์ ่ สื่อโสตทัศน์ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • สารสนเทศเหล่านั้นต้องอยู่ในรูปแบบที่นาไปใช้ได้เลย เช่น เป็นสรุปรายงาน บทวิเคราะห์ แผนภูมิ ตาราง ฯลฯ • และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้ • เพื่อนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อไป ได้อย่างทันเวลา Page 7
  • 8. ความหมายของความรู้ • มาจากคาภาษาอังกฤษว่า Knowledge • จากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (2553) • สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ ประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะ • ความเข้าใจหรือสารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการปฏิบัติ • องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้เรื่อง สุขภาพ Page 8
  • 9. ความหมายของความรู้ (ต่อ) • จากวิกิพเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ี • คือ สิ่งทีมนุษย์สร้าง ผลิต ความคิด ความเชื่อ ความจริง ่ ความหมาย โดยใช้ ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น ตรรกะ แสดงผ่าน ภาษา เครื่องหมาย และสือต่างๆ ่ โดยมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เป็นไปตามผู้สร้าง ผู้ผลิตจะให้ความหมาย Page 9
  • 10. ความหมายของความรู้ (ต่อ) • จากประภาเพ็ญ สุวรรณ (อ้างถึงในอักษร สวัสดี, 2542: 26) พบในวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี (2553) • เป็นพฤติกรรมขั้นต้นที่ผู้เรียนรู้เพียงแต่เกิดความจาได้ โดยอาจจะเป็น การนึกได้ หรือโดยการมองเห็น ได้ยิน จาได้ • ความรู้ในชั้นนี้ได้แก่ ความรู้เกี่ยวกับคาจากัดความ ความหมาย ข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีแก้ไขปัญหา • ส่วนความเข้าใจอาจแสดงออกมาในรูปของทักษะด้าน “การแปล” ซึง ่ หมายถึง ความสามารถในการเขียนบรรยายเกี่ยวกับข่าวสารนั้น ๆ โดยใช้คาพูดของตนเอง และ • “การให้ความหมาย” ที่แสดงออกมาในรูปของความคิดเห็นและข้อสรุป รวมถึงความสามารถในการ “คาดคะเน” หรือการคาดหมายว่าจะเกิด อะไรขึ้น Page 10
  • 11. ระดับของความรู้ • จากเบนจามิน บลูม (Benjamin S. Bloom อ้างถึงในอักษร สวัสดี, 2542: 26-28) พบในวิกิพเดีย สารานุกรมเสรี (2553) ี 1. ความรู้ (Knowledge) 2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) 3. การนาไปปรับใช้ (Application) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) 6. การประเมินผล (Evaluation) Page 11
  • 12. ระดับของความรู้ (ต่อ) 1. ความรู้ (Knowledge) หมายถึง การเรียนรู้ที่เน้นถึงการจาและการระลึกได้ถึง ความคิด วัตถุ และปรากฏการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นความจา ที่เริ่มจากสิ่งง่ายๆ ที่เป็นอิสระแก่กัน ไปจนถึงความจาใน สิ่งที่ยุ่งยากซับซ้อนและมีความสัมพันธ์ระหว่างกัน Page 12
  • 13. ระดับของความรู้ (ต่อ) 2. ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอด (Comprehension) เป็นความสามารถทางสติปัญญาในการขยายความรู้ ความจา ให้กว้างออกไปจากเดิมอย่างสมเหตุสมผล การแสดงพฤติกรรมเมื่อเผชิญกับสื่อความหมาย และ ความสามารถในการแปลความหมาย การสรุปความ หรือ การขยายความสิ่งใดสิ่งหนึ่ง Page 13
  • 14. ระดับของความรู้ (ต่อ) 3. การนาไปปรับใช้ (Application) เป็นความสามารถในการนาความรู้ (knowledge) ความเข้าใจ หรือความคิดรวบยอด (comprehension) ใน เรื่องใด ๆ ที่มีอยู่เดิมไปแก้ไขปัญหาที่แปลกใหม่ของเรื่องนั้น โดยการใช้ความรู้ต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งวิธีการกับ ความคิดรวบยอดมาผสมผสานกับความสามารถในการ แปลความหมาย การสรุปความ หรือการขยายความสิ่งนั้น Page 14
  • 15. ระดับของความรู้ (ต่อ) 4. การวิเคราะห์ (Analysis) เป็นความสามารถ และทักษะที่สูงกว่าความเข้าใจ และการนาไปปรับใช้ โดยมีลกษณะเป็นการแยกแยะสิ่งที่ ั จะพิจารณาออกเป็นส่วนย่อยที่มีความสัมพันธ์กัน รวมทั้งการค้นหาความสัมพันธ์ของส่วนต่าง ๆ เพื่อดูว่า ส่วนประกอบปลีกย่อยนั้นสามารถเข้ากันได้หรือไม่ อันจะช่วยให้เกิดความเข้าใจต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอย่างแท้จริง Page 15
  • 16. ระดับของความรู้ (ต่อ) 5. การสังเคราะห์ (Synthesis) เป็นความสามารถในการรวบรวมส่วนประกอบย่อยๆ หรือส่วน ใหญ่ ๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้เป็นเรื่องราวอันหนึ่งอันเดียวกัน การสังเคราะห์จะมีลักษณะของการเป็นกระบวนการรวบรวม เนื้อหาสาระของเรื่องต่าง ๆ เข้าไว้ด้วยกัน เพื่อสร้างรูปแบบ หรือโครงสร้างที่ยังไม่ชัดเจนขึ้นมาก่อน อันเป็นกระบวนการทีต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ภายในขอบเขต ่ ของสิ่งที่กาหนดให้ Page 16
  • 17. ระดับของความรู้ (ต่อ) 6. การประเมินผล (Evaluation) เป็นความสามารถในการตัดสินเกียวกับความคิด ค่านิยม ่ ผลงาน คาตอบ วิธการ และเนื้อหาสาระ ี เพื่อวัตถุประสงค์บางอย่าง โดยมีการกาหนดเกณฑ์ (criteria) เป็นฐานในการพิจารณาตัดสิน การประเมินผล จัดได้ว่าเป็นขั้นตอนที่สูงสุดของพุทธิลกษณะ ั (characteristics of cognitive domain) ที่ต้องใช้ความรู้ความ เข้าใจ การนาไปปรับใช้ การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์เข้ามา พิจารณาประกอบกันเพื่อทาการประเมินผลสิ่งหนึ่งสิ่งใด Page 17
  • 18. สรุปความหมายของความรู้ (Knowledge) • สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษาเล่าเรียน การค้นคว้า หรือ ประสบการณ์ • เป็นสิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือการ ปฏิบัติ • จนรู้แล้ว จาได้ และเข้าใจ สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ (แก้ปัญหา) วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสิน ความคิด ค่านิยม ผลงาน วิธีการ และเนื้อหาสาระได้ • เช่น องค์วิชาในแต่ละสาขา เช่น ความรู้เรื่องเมืองไทย ความรู้ เรื่องสุขภาพ เป็นต้น Page 18
  • 19. ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • มาจากศัพท์ภาษาอังกฤษว่า Information Storage and Retrieval ใช้อักษรย่อ “ISAR” หรือ “ISR” • “Operations performed by the hardware and software used in indexing and storing a file of machine-readable records whenever a user queries the system for information relevant to a specific topic. For records to be retrieved, the search statement must be expressed in syntax executable by the computer.” (Reitz, 2004-2010) Page 19
  • 20. ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • The linked activities of storing and retrieving information, and the strategies and techniques for doing so. • The activities are linked because the means of retrieving information are dependent on the means by which it was stored. • The storage strategy must be designed for the most efficient retrieval, consistent with the characteristics of the information and the time and cost that can be tolerated. (Daintith, 2004) Page 20
  • 21. ความหมายการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (มาลี ล้าสกุล, 2545: 1: 8) • เป็นกระบวนการทั้งการคัดเลือก ควบคุมโครงสร้างสารสนเทศ การจัดหา การจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการเข้าถึง และกระบวนการ สาคัญใด ๆ ในการแสวงหาทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งครอบคลุมการ ค้นหา การดึงสารสนเทศที่เข้าเรื่องเรื่องใดเรื่องหนึ่งโดยเฉพาะจาก แหล่งต่าง ๆ ทั้งแหล่งจัดเก็บภายใน และแหล่งภายนอก • เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศ หรือรายการทรัพยากรสารสนเทศ ซึ่งบรรจุเนื้อหาตรงตามต้องการ และในการบริการจะนาส่งให้ผู้ใช้ อย่างรวดเร็วทันการณ์ • ทั้งนี้การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศเป็นระบบที่จัดทาทั้งด้วย แรงงานคน และด้วยคอมพิวเตอร์ Page 21
  • 22. ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศมีความสาคัญต่อ 1. หน่วยงานบริการสารสนเทศ (ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ หน่วยงานจดหมายเหตุ ฯลฯ) 2. ผู้ใช้ Page 22
  • 23. ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 1. ต่อหน่วยงานบริการสารสนเทศ 1.1 เป็นตัวกลางเชื่อมโยงระหว่างผู้ผลิตสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ และผู้ต้องการใช้สารสนเทศ 1.2 ทาให้การถ่ายโอนและไหลเวียนของสารสนเทศเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ 1.3 เป็นงานหลักที่เชื่อมโยงกับงานบริการและเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อ ส่งเสริมให้เกิดการใช้สารสนเทศให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด 1.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้อง โดยสามารถค้นคืนสารสนเทศได้ ตรงกับความต้องการและได้รับสารสนเทศทันต่อเวลา ซึ่งเป็นไป ตามนโยบายและวัตถุประสงค์ของหน่วยงานบริการสารสนเทศ Page 23
  • 24. ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 2. ต่อผู้ใช้ 2.1 เปิดโอกาสให้ผู้ใช้เข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศทุกประเภททั้งภายใน หน่วยงานบริการสารสนเทศและแหล่งทรัพยากรทั่วโลก อย่างเสรี ภายใต้ข้อกาหนดของกฎหมายในเรื่องสิทธิของ การใช้สารสนเทศ 2.2 ให้ความสาคัญแก่ผู้ใช้กลุ่มต่าง ๆ โดยจัดทาเอกสารแนะนาการใช้ ฐานข้อมูลต่าง ๆ จัดเครื่องมืออานวยความสะดวก เครื่องมือการค้นคืนที่เหมาะสม เพื่อให้ผู้ใช้ค้นคืน สารสนเทศได้ด้วยตนเอง หรือผ่านบรรณารักษ์ตอบคาถาม Page 24
  • 25. ความสาคัญ การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 2.3 มีการพัฒนารูปแบบการดาเนินงานจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วทั้งวิธีการจัดหา จัดเก็บ และการค้น คืนสารสนเทศ เพื่อให้ผู้ใช้ได้รับประโยชน์สูงสุด 2.4 ช่วยให้ผู้ใช้ได้รับสารสนเทศที่ถูกต้องและตรงกับความต้องการเพื่อ นาไปใช้ประโยชน์ตามที่ต้องการและตามความสนใจ 2.5 สนับสนุนผู้ใช้ให้สามารถประเมิน แยกแยะ ทาความเข้าใจ เชื่อมโยงความคิดของสารสนเทศ เพื่อการเลือกสรร ศึกษา แสวงหา และติดตามสารสนเทศได้ด้วยตนเองเป็นผู้เรียน แบบพึ่งตนเองตลอดไป Page 25
  • 26. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 1. ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศ 2. เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 3. การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ 4. ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ 5. การค้นคืนสารสนเทศ Page 26
  • 27. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 1. ทฤษฎีพื้นฐานและการประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืน สารสนเทศ • องค์ประกอบของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ตัวแบบพื้นฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ระบบค้นคืนสารสนเทศ (องค์ประกอบ หน้าที่ และระบบย่อย) • ตัวแบบพฤติกรรมสารสนเทศและแนวคิดพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ • การประเมินระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (แนวคิด ขั้นตอน) Page 27
  • 28. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 2. เทคโนโลยีและมาตรฐานในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • เทคโนโลยีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร) • เทคโนโลยีที่ใช้ในการบันทึก จัดเก็บ และแสดงผล • เทคโนโลยีในการค้นคืนสารสนเทศ (ดรรชนีคาค้น เทคนิคการค้นคืน และการ เลือกฐานข้อมูล) • เครือข่ายอินเทอร์เน็ตและการค้นคืนสารสนเทศ • การประยุกต์เทคโนโลยีไฮเปอร์มีเดียในการค้นคืนสารสนเทศ • มาตรฐานสาคัญในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศซึ่งได้แก่ มาตรฐาน การลงรหัสอักขระ มาตรฐานสาหรับการพรรณนาสารสนเทศ และ มาตรฐานในการค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลต่างระบบ Page 28
  • 29. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 3. การวิเคราะห์และตัวแทนสารสนเทศ • การวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อกาหนดตัวแทนสาระ (ระบบการจัดหมวดหมู่ สารสนเทศ) • การจัดทาโครงสร้างระบบจัดเก็บสารสนเทศเพื่อการค้นคืน (การทา รายการสารสนเทศ) • ดรรชนีที่ใช้ในการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (คือการนาคาในบริบทมา เป็นศัพท์ดรรชนี และดรรชนีที่สร้างโดยกาหนดคาขึ้นแทนสาระของ เอกสาร) • การควบคุมคาศัพท์ (หัวเรื่อง และอรรถาภิธาน) • การจัดทาสาระสังเขปเพื่อการจัดเก็บเพื่อการค้นคืนสารสนเทศ Page 29
  • 30. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 4. ผู้ใช้ระบบค้นคืนสารสนเทศและพฤติกรรมการแสวงหา สารสนเทศ • ผู้ใช้กับระบบสารสนเทศ • การศึกษาผู้ใช้ • การศึกษาความต้องการสารสนเทศของผู้ใช้ • การศึกษาพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศ • การศึกษาวิจัยพฤติกรรมการแสวงหาสารสนเทศเพื่อนาผลมาใช้ในการ ออกแบบระบบค้นคืนสารสนเทศ Page 30
  • 31. ขอบเขตการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ 5. การค้นคืนสารสนเทศ • กระบวนการ/ ขั้นตอนการค้นคืนสารสนเทศ • กลยุทธ์ในการค้นคืนสารสนเทศ • เทคนิคการค้นคืน • การใช้ศัพท์บังคับ ศัพท์ไม่ควบคุมหรือภาษาธรรมชาติ และคาสั่งต่าง ๆ • การค้นคืนสารสนเทศจากฐานข้อมูลออนไลน์ / ฐานข้อมูลซีดีรอม/ อินเทอร์เน็ต Page 31
  • 32. พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ก่อนทศวรรษ 1960 • ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป Page 32
  • 33. พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ระยะที่ 1 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ก่อนทศวรรษ 1960 แบ่งเป็น 1) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระยะแรกเริ่ม เป็นการพัฒนาระบบ และเครื่องมือจัดเก็บสื่อบันทึกความรู้และการ ค้นหา ทรัพยากรสารสนเทศในลักษณะสิ่งพิมพ์ อาทิ ระบบจัดหมวดหมู่ (DDC, LC) การจัดทาดรรชนีและสาระสังเขปด้วยระบบมือ 2) การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศในยุคเทคโนโลยีระยะแรก มีการนาเทคโนโลยีไมโครกราฟิก (ถ่ายภาพย่อส่วนลงฟิล์ม) มาใช้จัดเก็บและ ค้นคืนสารสนเทศ โดยมีการใช้ระบบคอมและระบบคาร์ช่วย ต่อมาเกิด เทคโนโลยีทาดรรชนี (ควิก) และริเริมใช้คอมพิวเตอร์ทาบัตรรายการ ่ Page 33
  • 34. พัฒนาการการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ • ระยะที่ 2 พัฒนาการของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ ตั้งแต่ทศวรรษ 1960 เป็นต้นไป เป็นพัฒนาการด้านการวิจัยและพัฒนาระบบจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศที่ สาคัญ โครงการต่าง ๆ อาทิ การวิจัยกลุ่มแครนฟิลด์ เมดลาร์ส สมาร์ท การ วิจัยของซาระเซวิค และกลุ่มเทรค เกิดกลุ่มความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน บริการสารสนเทศ รวมถึงบริการค้นคืนสารสนเทศเชิงพาณิชย์ และการจัดเก็บ และค้นคืนสารสนเทศบน อินเทอร์เน็ต Page 34
  • 35. บรรณานุกรม เดชา นันทพิชัย. 2546. การค้นคืนสารสนเทศ (Information Retrieval). พิมพ์ครั้งที่ 2. นครศรีธรรมราช: หลักสูตรการจัดการสารสนเทศ สานักวิชา สารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน [ออนไลน์]. 15 พฤษภาคม 2553. เข้าถึงจาก: http://rirs3.royin.go.th/word3/word-3-a0.asp มาลี ล้าสกุล. 2545. “ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ.” ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดเก็บและการ ค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval), หน่วยที่ 1-4, หน้า 1-29. นนทบุร:ี สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Page 35
  • 36. บรรณานุกรม (ต่อ) วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. 2553.สารสนเทศ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/สารสนเทศ ------------. 2553. ความรู้ [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: th.wikipedia.org/wiki/ความรู้ Daintith, John. 2004. A Dictionary of Computing. Encyclopedia.com. Available: http://www.encyclopedia.com Reitz, Joan M. 2004-2010. ODLIS — Online Dictionary for Library and Information Science [Online]. Available: http://lu.com/odlis/odlis_i.cfm#information Page 36