SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 93
Descargar para leer sin conexión
„ ความหมาย
„ ความสาคัญ
„ องค์ประกอบ
„ กระบวนการ
„ แผนผังความคิด (Mind Map)
„ การประเมินคุณค่าสารสนเทศ
„ ผู้รู้สารสนเทศ และลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
• การรู้สารสนเทศเป็นเครื่องมือทางปัญญาในการเรียนรู้
• ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอดชีวิต
• ผู้เรียนสามารถเข้าถึง ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และนาเสนอสารสนเทศได้
• จัดการสารสนเทศในสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย และมีคุณธรรม
จริยธรรมในการใช้สารสนเทศ
• อันเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตในสังคมยุคเศรษฐกิจ
ฐานความรู้
การรู้สารสนเทศช่วยให้นักศึกษากลายเป็นผู้เรียนที่
มีความเป็นอิสระทางปัญญา
ผู้รู้สารสนเทศ คือ ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
(เป็นบุคคลที่รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร)
ความหมาย
• Information Literacy
• ทักษะสารสนเทศ
(Information Skills)
ความหมาย
• The Presidential Committee on Information Literacy
defined information literacy as a set of skills, which
require an individual to:
“recognize when information is needed and have
the ability to locate, evaluate, and use
effectively the needed information.”
(The Board of Trustees of the Leland Stanford Junior
University, 2013, para.2)
ความหมาย
• The Association of College & Research Libraries
(ACRL) defines information literacy as:
“the set of skills needed to find, retrieve,
analyze, and use information.”
Information literacy is “knowing
when and why you need information,
where to find it,
how to evaluate,
use and communicate it in an ethical
manner.”
(CILIP, 2012, para.2)
ความหมาย
“This definition implies several skills. We believe that the
skills (or competencies) that are required to be
information literate require an understanding of:
• A need for information
• The resources available
• How to find information
• The need to evaluate results
• How to work with or exploit results
• Ethics and responsibility of use
• How to communicate or share your findings
• How to manage your findings”
(CILIP, 2012, para.3)
ความหมาย
การรู้สารสนเทศ หมายถึง
“ความสามารถของบุคคล ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ในเรื่องต่อไปนี้ คือ
การรู้ถึงความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และรู้แหล่งสารสนเทศที่เหมาะสม
การรู้ถึงวิธีการที่จะเข้าถึงตัวสารสนเทศที่อยู่ในแหล่งสารสนเทศต่างๆ
การประเมินคุณภาพของสารสนเทศที่ได้รับ
การจัดการสารสนเทศ และ
การใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ”
(มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2551, น.8)
ความหมาย
ความหมาย
การรู้สารสนเทศ หมายถึง
“ความสามารถของบุคคลในการระบุความต้องการสารสนเทศของ
ตนเอง
รู้จักใช้เครื่องมือและกระบวนการค้นหาเพื่อระบุแหล่งสารสนเทศ
สามารถประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้สารสนเทศได้
อย่างมีประสิทธิภาพ”
(นฤมล รักษาสุข, ม.ป.ป.)
ความหมาย
• การรู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง
“ความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคคล ในการเข้าถึงสารสนเทศ
ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพทุกรูปแบบ
ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น
ทักษะการคิดวิเคราะห์ และ / หรือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการใช้ภาษา
ทักษะการใช้ห้องสมุด
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น”
(Pop of Blog, 2550, ย่อหน้า 1)
ความหมาย
„ หมายถึง “การรู้ถึงความจาเป็นของสารสนเทศ (ข้อมูลข่าวสาร)
การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิเคราะห์และประเมินสารสนเทศ
การจัดระบบประมวลสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิผลและ
สร้างสรรค์
การสรุปอ้างอิง และ
สื่อสารข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ความเข้าใจและยอมรับในจริยธรรมของข้อมูลข่าวสาร
การพัฒนาเจตคตินาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต”
(อาชัญญา รัตนอุบล, ม.ป.ป., น.1)
ความหมาย
ความรู้ ความสามารถของบุคคล ในการ
- ระบุความต้องการสารสนเทศของตนได้
- รู้แหล่งสารสนเทศ และทรัพยากรสารสนเทศ ที่คาดว่าจะให้คาตอบ
- รู้วิธีการค้นหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
- รู้วิธีการประเมินคุณค่า และความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ
- จัดการสารสนเทศ และนาเสนอได้ (นาเสนอ: การพูด การเขียน)
- ใช้ประโยชน์สารสนเทศอย่างมีจรรยาบรรณ และถูกต้องตามกฎหมาย
ทาให้บุคคลที่รู้สารสนเทศเป็นผู้มีศักยภาพสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอด
ชีวิต
ความสาคัญ
1. การศึกษา
2. การดารงชีวิตประจาวัน
3. การประกอบอาชีพ
4. สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. เป็นเครื่องมือสาคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
(Pop of Blog, 2550; เว็บไซต์ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ)
ความสาคัญ
1. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษาของบุคคลทุกระดับ
1.1 สนับสนุนการเรียนรู้ของการศึกษาทุกระดับ
โดยเฉพาะที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เพราะผู้เรียนสามารถระบุความความต้องการในการใช้สารสนเทศได้
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ประเมิน ‟วิเคราะห์- เรียบเรียง ‟นาเสนอ
สารสนเทศได้ ใช้สารสนเทศอย่างมีจรรยาบรรณและถูกกฎหมาย
ผู้เรียนสามารถใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหาการเรียน--ส่วนตัว ตัดสินใจ และ
ดารงชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสาคัญ
1. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษาของบุคคลทุกระดับ (ต่อ)
1.2 เป็นแกนการเรียนรู้ของศาสตร์ต่างๆ
เพราะหากเราเป็นผู้รู้สารสนเทศ เราจะรู้ความต้องการสารสนเทศของตนเอง
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ วิเคราะห์ และประเมินสารสนเทศที่มีคุณค่า
เรียบเรียง และนาเสนอสารสนเทศได้อย่างเป็นระบบ
ความสาคัญ
2. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตประจาวัน
เพราะหากเป็นผู้รู้สารสนเทศจะช่วยในการตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะได้อาศัยกระบวนการการรู้สารสนเทศช่วยใน
การวิเคราะห์ และประเมินข้อเท็จจริงต่างๆได้
เช่น กรณีซื้อเครื่องปรับอากาศก็ต้องพิจารณาคุณภาพ มาตรฐาน ราคา และ
บริการหลังการขาย จากนั้นจึงค่อยตัดสินใจซื้อ เป็นต้น
ความสาคัญ
3. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพ
เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อการประกอบ
อาชีพของตนเองได้
เช่น เกษตรกร เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน
ก็สามารถหาตัวยา หรือสารเคมีเพื่อมากาจัดโรคระบาดดังกล่าวได้ เป็นต้น
รวมถึงพัฒนาอาชีพของตนให้ก้าวหน้ามั่นคง โดยอาศัยกระบวนการการรู้
สารสนเทศในการติดตามข่าวสารความรู้ใหม่ๆ ได้อีกด้วย
ความสาคัญ
4. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสาคัญโดยเฉพาะสังคมฐานความรู้ (Knowledge Base Society)
บุคคลจาเป็นต้องรู้สารสนเทศ และมีความรู้เพื่อสามารถปรับตนเองให้เข้ากับสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองได้
เช่น การอยู่ร่วมกันในสังคม การบริหารจัดการ การดาเนินธุรกิจและ
การแข่งขัน การบริหารบ้านเมือง ฯลฯ
กล่าวได้ว่าผู้รู้สารสนเทศ คือ ผู้ที่มีอานาจสามารถชี้วัดความสามารถขององค์กร
หรือประเทศชาติได้
ประเทศที่พัฒนาแล้วก็วัดจากจานวนประชากรที่รู้สารสนเทศนั่นเอง
ประชากรที่เป็นผู้รู้สารสนเทศจึงถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุดของประเทศ
ความสาคัญ
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เนื่องจากทักษะต่าง ๆ ของการรู้สารสนเทศสอดคล้องกับทักษะความสามารถ
สาหรับผู้เรียนที่ต้องการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
ความสาคัญ
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ต่อ)
ทักษะความสามารถสาหรับผู้เรียนที่ต้องการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะ 8 กลุ่ม
1) ทักษะด้านการคิด (คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดเชิงประยุกต์ คิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงเปรียบเทียบ
คิดเชิงอนาคต และการคิดเชิงบูรณาการ)
2) ทักษะการสื่อสาร (สามารถฟัง-พูด-อ่าน-เขียนได้อย่างถูกต้องชัดเจนกระชับครบถ้วนและสุภาพ)
3) ทักษะภาษาต่างประเทศ(สามารถพูด-ฟัง-อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว)
4) ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ(เข้าใจและใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ITได้)
5) ทักษะทางสังคม (มนุษยสัมพันธ์ การปรับตัว การทางานร่วมกับผู้อื่น)
6) ทักษะการอาชีพ (ความสามารถและชานาญในการประกอบอาชีพหลักที่ตนถนัด มีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพ มีความสามารถสร้างอาชีพให้ตนเอง)
7) ทักษะทางสุนทรียะ(ด้านดนตรี การกีฬา หรือ ศิลปะอย่างสร้างสรรค์)
8) ทักษะการจัดการ
ความสาคัญ
6. เป็นเครื่องมือสาคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
เนื่องจากในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ทาให้ทุกสังคมมีการผลิตสารสนเทศ
เพิ่มขึ้น มีการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ กอปรกับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บค้นหา ถ่ายโอนความรู้
สารสนเทศ และสามารถแพร่กระจายสารสนเทศไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผล
ทาให้มีสารสนเทศมากมาย และสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ง่าย รวดเร็ว
ปัญหาการใช้สารสนเทศจึงไม่ได้อยู่ที่การค้นหา แต่อยู่ที่จะสามารถ
เลือก– ประเมิน--ใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งการรู้สารสนเทศ
สามารถแก้ไขปัญหาข้างต้นได้
องค์ประกอบ
สมาคมห้องสมุดอเมริกัน (American Library Association, 2005) ได้
กาหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการ คือ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
3. การประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
กาหนดเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า
กาหนดความต้องการสารสนเทศ
ระบุชนิดและรูปแบบที่หลากหลายของแหล่งสารสนเทศที่จะศึกษา
เช่น ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ พิพิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ บุคคล
สถานที่ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ตระหนักถึงค่าใช้จ่ายและประโยชน์ที่ได้รับ
ทราบขอบเขตของสารสนเทศที่จาเป็น
องค์ประกอบ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
(ต่อ)
สรุป คือ
- รู้ความต้องการสารสนเทศ
- กาหนดขอบเขตเรื่องที่จะศึกษา
- กาหนดแหล่งสารสนเทศที่จะศึกษา
- ตระหนักค่าใช้จ่าย และประโยชน์ที่ได้รับ
องค์ประกอบ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
สามารถเลือกวิธีการสืบค้นสารสนเทศที่เหมาะสม
กาหนดกลยุทธ์การสืบค้นอย่างมีประสิทธิภาพ
สืบค้นสารสนเทศออนไลน์ หรือสารสนเทศจากบุคคลโดยใช้วิธีการที่
หลากหลาย
ปรับกลยุทธ์การสืบค้นที่เหมาะสมตามความจาเป็น
การตัดตอน บันทึก และการจัดการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ
องค์ประกอบ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ (ต่อ)
สรุป คือ
- รู้วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น Tools ต่างๆ
- ปรับกลยุทธ์การสืบค้นได้
- รู้การดาวน์โหลดไฟล์ Save และ การจัดการสารสนเทศต่างๆ
องค์ประกอบ
3. การประเมินสารสนเทศ
สามารถสรุปแนวคิดสาคัญจากสารสนเทศที่รวบรวม
โดยใช้เกณฑ์การประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ ได้แก่
ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย
สามารถสังเคราะห์แนวคิดหลักเพื่อสร้างแนวคิดใหม่
เปรียบเทียบความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่เพิ่มขึ้น
อะไรคือสิ่งที่ขัดแย้งกัน และอะไรคือสิ่งที่คล้อยตามกัน
องค์ประกอบ
3. การประเมินสารสนเทศ (ต่อ)
สรุปคือ
- รู้วิธีการประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิดหลัก เพื่อสร้างแนวคิดใหม่
ได้
องค์ประกอบ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถใช้สารสนเทศใหม่ผนวกกับสารสนเทศที่มีอยู่ ในการ
-วางแผนและสร้างผลงาน
-การกระทาตามหัวข้อที่กาหนด
-ทบทวนกระบวนการ
-พัฒนาการผลิตผลงานของตนเอง
-สื่อสาร หรือเผยแพร่ผลงานของตนเองต่อบุคคลอื่นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
(ต่อ)
สรุป คือ
- สามารถใช้สารสนเทศได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของตน
(วางแผน สร้างผลงาน พัฒนาผลงาน)
- สามารถสื่อสาร หรือเผยแพร่ผลงานของตนเองต่อบุคคลอื่นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ (อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย)
องค์ประกอบ
ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์ (ม.ป.ป.) กล่าวต่อไปว่านอกจากความสามารถ 4 ข้อข้างต้นแล้ว
ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติในด้านอื่นๆ ประกอบอีก ได้แก่
1. การรู้ห้องสมุด (Library literacy)
2. การรู้คอมพิวเตอร์(Computer Literacy)
3. การรู้เครือข่าย (Network Literacy)
4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy)
5. การรู้สื่อ (Media Literacy)
6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy)
7. การมีความรู้ด้านภาษา(Language Literacy)
8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ(Critical Thinking)
9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic)
องค์ประกอบ
1. การรู้ห้องสมุด (Library literacy)
ได้แก่ รู้เกี่ยวกับห้องสมุดของตน ในด้าน
- ทรัพยากรสารสนเทศ และแหล่งจัดเก็บ
- วิธีการจัดเก็บ
- วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น Tools ต่างๆ ของ
ห้องสมุด
- บริการต่างๆ
ฯลฯ
รู้แหล่งสารสนเทศอื่นๆ
องค์ประกอบ
2. การรู้คอมพิวเตอร์ (Computer Literacy)
รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ในการ
พิมพ์เอกสาร
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสาร
รวมถึงการรู้ที่ตั้งของแหล่งสารสนเทศ
องค์ประกอบ
3. การรู้เครือข่าย (Network Literacy)
รู้ขอบเขตและมีความสามารถในการใช้สารสนเทศทางเครือข่ายที่
เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก
สามารถใช้กลยุทธ์การสืบค้นสารสนเทศจากเครือข่าย และ
การบูรณาการสารสนเทศจากเครือข่ายกับสารสนเทศจากแหล่งอื่น ๆ
องค์ประกอบ
4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (Visual Literacy)
สามารถเข้าใจและแปลความหมายสิ่งที่เห็นได้
รวมถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การเรียนรู้
การแสดงความคิดเห็น
สามารถใช้สิ่งที่เห็นนั้นในการทางาน และการดารงชีวิตประจาวันของ
ตนเองได้
เช่น สัญลักษณ์รายการโทรทัศน์ เป็นต้น
องค์ประกอบ
5. การรู้สื่อ (Media Literacy)
สามารถเข้าถึง วิเคราะห์และผลิตสารสนเทศจากสื่อต่างๆ
เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ ดนตรี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร เป็นต้น
รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อที่แตกต่างกัน
รู้ขอบเขตและการเผยแพร่สารสนเทศของสื่อ
เข้าใจถึงอิทธิพลของสื่อ และ
สามารถพิจารณาตัดสินได้ว่าสื่อนั้นๆ มีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงไร
องค์ประกอบ
6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (Digital Literacy)
สามารถเข้าใจและใช้สารสนเทศในรูปดิจิทัลผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
ตัวอย่างการรู้สารสนเทศดิจิทัล เช่น
- สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลจากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าถึงใน
ระยะไกลมาใช้ได้
- รู้ว่าคุณภาพสารสนเทศที่มาจากเว็บไซต์ต่างๆแตกต่างกัน
- รู้จักโปรแกรมการค้นหา สามารถสืบค้นโดยใช้การสืบค้นขั้นสูง
- รู้เรื่องของกฎหมายลิขสิทธิ์ที่คุ้มครองทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บไซต์
- การอ้างอิงสารสนเทศจากเว็บไชต์ เป็นต้น
องค์ประกอบ
7. การมีความรู้ด้านภาษา (Language Literacy)
สามารถกาหนดคาสาคัญ (Keywords) สาหรับการสืบค้น และ
การนาเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้
องค์ประกอบ
8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical Thinking)
สามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่นาเสนอ
ไว้หลากหลาย
โดยการพิจารณาทบทวนหาเหตุผลจากสิ่งที่เคยจดจา คาดการณ์ โดยยังไม่เห็น
คล้อยตามสารสนเทศที่นาเสนอเรื่องนั้นๆ
แต่จะต้องพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองด้วยความรอบคอบ และมีเหตุผลว่าสิ่งใด
สาคัญมีสาระก่อนตัดสินใจเชื่อ
จากนั้นจึงดาเนินการแก้ปัญหา
องค์ประกอบ
9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (Information Ethic)
ผู้เรียนรู้จักใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรมทางสารสนเทศ
เช่น
- การนาข้อความหรือแนวคิดของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนจาเป็นต้องอ้างอิง
เจ้าของผลงานเดิม
- การไม่นาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมและจรรยาบรรณของสังคมไปเผยแพร่
ฯลฯ
กระบวนการ
ต่อไปนี้จะเป็นการอธิบาย กระบวนการรู้สารสนเทศ ซึ่งผู้สอนได้นามาจาก
แหล่งสารสนเทศต่อไปนี้
1. เว็บไซต์ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ
2. เอกสารของสานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3. เอกสารคาสอนเรื่อง “ทักษะการรู้สารสนเทศ” ของอาจารย์รติรัตน์ มหา
ทรัพย์
และท้ายสุดจะเป็นการสรุป กระบวนการรู้สารสนเทศ ตามแนวคิดของผู้สอน
กระบวนการ
จากเว็บไซต์ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ กล่าวว่า การรู้สารสนเทศ เป็นความสามารถ
ด้านสารสนเทศที่ประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เป็นลาดับขั้นตอน สรุปได้ 4
ขั้นตอน ดังนี้
1. การกาหนดขอบเขต ปัญหา ความต้องการสารสนเทศ
2. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
3. การประเมินสารสนเทศ
4. การบูรณาการสารสนเทศ การนาสารสนเทศไปใช้ การสร้างผลงาน และ
การสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
กระบวนการ
1. การกาหนดขอบเขต ปัญหา และความต้องการสารสนเทศ
ประกอบด้วย
- การระบุปัญหา
- การกาหนดขอบเขตสารสนเทศที่ต้องการ
- กาหนดแหล่งสารสนเทศที่คาดว่ามีสารสนเทศที่ต้องการ
- ประเมินแหล่งสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน หรือสามารถนาไปใช้
แก้ปัญหามากที่สุด และ
- กาหนดวิธีการเข้าถึงสารสนเทศ
กระบวนการ
2. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
ประกอบด้วย
- การค้นหาสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และ
- การรวบรวมสารสนเทศ
ในขั้นตอนนี้ต้องรู้ว่าคาตอบของข้อปัญหาอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
นั้นได้อย่างไร
กระบวนการ
3. การประเมินสารสนเทศ
ประกอบด้วย
-การวิเคราะห์สารสนเทศ
- จัดหมวดหมู่สารสนเทศ
- การคัดเลือกสารสนเทศ และ
- การสังเคราะห์สารสนเทศ
ในขั้นตอนนี้ต้องรู้วิธีคัดสรรสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ และทราบวิธีการ
ประเมินความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ
กระบวนการ
4. การบูรณาการสารสนเทศ การนาสารสนเทศไปใช้ การสร้างผลงาน
และ การสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
- เป็นขั้นการใช้สารสนเทศ
- พิจารณาสารสนเทศเพื่อนาเสนอ
- ประเมินผลงานที่จัดทาขึ้น หรือ
- ประเมินกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศดังกล่าว
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม
คุณธรรม และถูกกฎหมาย
กระบวนการ
จากสานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551, น. 9) กล่าวถึง
กระบวนการรู้สารสนเทศ ว่ามี 5 ประการดังนี้
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
2. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
5. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
กระบวนการ
อาจารย์รติรัตน์ มหาทรัพย์ (ม.ป.ป.) อธิบายกระบวนการรู้สารสนเทศไว้ ดังนี้
1. การวิเคราะห์ หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ
2. การพิจารณาลักษณะของสารสนเทศ
3. การค้นหาสารสนเทศ
4. การประเมินสารสนเทศ
5. การใช้และการสื่อสารสารสนเทศ
กระบวนการ
1. การวิเคราะห์ หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ
รู้ว่าต้องการสารสนเทศเรื่องอะไร เพื่อไปทาอะไร
(กาหนดกรอบความต้องการให้ชัดเจน)
เลือก หรือกาหนดหัวข้อที่จะค้น
ใช้แผนผังความคิด (MindMap) ช่วย
2. การพิจารณาลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการ
เช่น เนื้อหากว้างๆ หรือเฉพาะเจาะจง
ปริมาณ (มาก น้อย)
ต้องการหนังสือ บทความ สารสนเทศจากเว็บ ฯลฯ
ความทันสมัย หรือช่วงระยะเวลาของสารสนเทศ
ภาษา (ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ)
กระบวนการ
3. การค้นหาสารสนเทศ
รู้จักเครื่องมือค้นหาสารสนเทศ (เช่น Search Engine WebOPAC)
รู้วิธีการค้นหา (Search Browse)
กาหนดคาสาคัญ (Keywords) ได้
รู้วิธีการเข้าถึง (Access) ตัวเนื้อหา/สารสนเทศ
4. การประเมินสารสนเทศ
รู้เกณฑ์การประเมินทั่วไป และเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์
เพื่อได้สารสนเทศที่มีคุณภาพเหมาะสมกับการนาไปใช้
กระบวนการ
5. การใช้และการสื่อสารสารสนเทศ
การนาสารสนเทศไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
เช่น แก้ปัญหา เขียนบทความ/รายงานวิชาการ นาเสนอโดยการพูด
เป็นต้น
ตามแนวคิดของผู้สอน แบ่งกระบวนการรู้สารสนเทศออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดความต้องการสารสนเทศ
2. เลือกแหล่งสารสนเทศ และ ทรัพยากรสารสนเทศ
3. ค้นหาสารสนเทศ
4. ประเมินสารสนเทศ
5. ประมวลสารสนเทศ
6. การนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด และการสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
รวมถึง ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม และถูกต้องตามกฎหมาย
กระบวนการ
1. กาหนดความต้องการสารสนเทศ
- ต้องการสารสนเทศเรื่องอะไร
- กาหนดวัตถุประสงค์การใช้ และขอบเขตเนื้อหา
- กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการ
- เนื้อหากว้าง หรือเฉพาะเจาะจง
- ปริมาณมาก หรือน้อย
- เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด (เช่น หนังสือ บทความ)
- ความทันสมัย หรือช่วงเวลาของสารสนเทศที่ต้องการ
- ภาษาที่ต้องการ
- ใช้แผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (MindMap) ช่วย
(ดูรายละเอียดของเรื่องแผนผังความคิดในภาคผนวก ก)
กระบวนการ
2. เลือกแหล่งสารสนเทศ และ ทรัพยากรสารสนเทศ
- รู้ประเภทและประโยชน์ของแหล่งสารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ
- เพื่อกาหนดแหล่งสารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้
กระบวนการ
3. ค้นหาสารสนเทศ
- รู้จักประเภทของเครื่องมือค้นหาสารสนเทศ (WebOPAC Search Engines)
- ใช้เครื่องมือค้นหาสารสนเทศ ได้
- รู้วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น (Search Tips) สารสนเทศ
- กาหนดคาสาคัญ (Keywords) ได้
- รู้วิธีการเข้าถึง (Access) ตัวเนื้อหา
4. ประเมินสารสนเทศ
รู้เกณฑ์การประเมินทั่วไป และเกณฑ์การประเมินค่าเว็บไซต์ เพื่อได้สารสนเทศที่มี
คุณภาพ น่าเชื่อถือ เหมาะสมกับการนาไปใช้
(ดูเกณฑ์การประเมินค่าเว็บไซต์ในภาคผนวก ข)
กระบวนการ
5. ประมวลสารสนเทศ
- วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
- เรียบเรียงสารสนเทศเพื่อนาเสนอต่อไป
6. การนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด และการสื่อสารสารสนเทศไปยัง
ผู้อื่น
รวมถึง
ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม และถูกต้องตามกฎหมาย
กระบวนการ
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
„ คณะกรรมการด้านการรู้สารสนเทศของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน
(American Library Association, 1989) ได้ให้
ความหมายของ “ผู้รู้สารสนเทศ (Information Literate Person)”
คือ บุคคลผู้ซึ่งมีความสามารถตระหนักรู้ว่าเมื่อไรที่สารสนเทศมีความจาเป็น
มีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล
ประเมินการใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิผล
มีความสามารถในการเรียนรู้ว่า จะเรียนรู้ได้อย่างไร
และได้รับการเตรียมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ(ต่อ)
จากเว็บไซต์การรู้สารสนเทศ(Information Literacy) (Pop of BloG, 2550)
กล่าวว่า ผู้รู้สารสนเทศ หมายถึง “บุคคลที่รู้ว่าจะเรียนรู้ด้วยตนเองได้
อย่างไร (People who have learned how to learn)” (ย่อหน้า 3)
ซึ่งความสามารถของผู้รู้สารสนเทศ มี 6 ด้าน ดังนี้
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ(ต่อ)
1. ตระหนักถึงความสาคัญของสารสนเทศว่าสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ
ช่วยในการเรียน หรือการทางานได้ดีขึ้น
2. รู้ว่าจะได้สารสนเทศที่ตนต้องการได้จากที่ใด และจะสืบค้นสารสนเทศได้อย่างไร
3. สามารถประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณ
4. สามารถประมวลสารสนเทศได้
5. สามารถใช้สารสนเทศและสื่อสารสารสนเทศให้บรรลุวัตถุประสงค์ของตนเองได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีความเข้าใจประเด็นต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้สารสนเทศ ตลอดจนเข้าถึงและใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและ
ถูกต้องตามกฎหมาย
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศนั้น สามารถสรุปได้ดังนี้ คือ
1. รู้ว่าเมื่อใดต้องการสารสนเทศ
2. รู้ว่าตนเองมีความต้องการสารสนเทศใด
3. สามารถตั้งคาถามหรือระบุความต้องการสารสนเทศของตนเองได้
4. สามารถหรือระบุหรือชี้แหล่งสารสนเทศที่จะค้นได้
5. สามารถพัฒนากลวิธีการค้นคืนสารสนเทศได้
6. สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศทั้งที่จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์และ
สื่อรูปแบบอื่นๆ ได้
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศ (ต่อ)
7. สามารถประเมินคุณค่าสารสนเทศได้
8. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
9. สามารถจัดกลุ่มหรือหมวดหมู่สารสนเทศเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้
10. สามารถบูรณาการสารสนเทศใหม่ๆ เข้ากับองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมได้
11. สามารถใช้สารสนเทศในการคิดเชิงวิเคราะห์และใช้สารสนเทศใน
การแก้ปัญหาได้
12. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศ (ต่อ)
13. รู้จักใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีต่างๆ เพื่อการเข้าถึงและสื่อสาร
สารสนเทศ
14. มีความเป็นอิสระ และมีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
15. ใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและสร้างสรรค์
16. มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์และทักษะด้านการใช้ห้องสมุด
17. มีความเข้าใจประเด็นต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคมที่
เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศ เข้าถึงและใช้สารสนเทศอย่างมี
จริยธรรมและถูกกฎหมาย
ภาคผนวก ก
แผนผังความคิด (MindMap)
ความหมาย
วิธีการสร้าง
ประโยชน์
การนาไปใช้
แผนผังความคิด (MindMap)
คือ
การถ่ายทอดความคิด หรือข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในสมองลงกระดาษ
โดยการใช้ภาพ สี เส้น และการโยงใย
แทนการจดย่อแบบเดิมที่เขียนเป็นบรรทัดๆ เรียงจากบนลงล่าง
ทาให้เห็นภาพรวมของเรื่องนั้นๆ และเปิดโอกาสให้สมองเชื่อมโยง
ข้อมูล หรือความคิดต่าง ๆ เข้าหากันได้ง่ายกว่า
ช่วยจา และช่วยให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ได้ง่ายขึ้น
แผนผังความคิด (Mind Map) (ต่อ)
หรือ แผนที่ความคิด
เป็นวิธีการบันทึกความคิด
เพื่อให้เห็นภาพของความคิดที่หลากหลายมุมมอง ที่กว้าง และที่ชัดเจน
โดยยังไม่จัดระบบระเบียบความคิดใดๆทั้งสิ้น
เป็นการเขียนตามความคิดที่เกิดขึ้นขณะนั้น
การเขียนมีลักษณะเหมือนต้นไม้แตกกิ่งก้าน สาขาออกไปเรื่อยๆ
ทาให้สมองได้คิดได้ทางานตามธรรมชาติและมีจินตนาการกว้างไกล
แผนผังความคิด (MindMap) (ต่อ)
แผนผังความคิด (MindMap) (ต่อ)
มโนทัศน์ = ความคิด
แผนผังความคิด (MindMap) (ต่อ)
ขั้นตอนการสร้าง MindMap:
1. เขียน/วาดมโนทัศน์หลักตรงกึ่งกลางหน้ากระดาษ
2. เขียน/วาดมโนทัศน์รองที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์หลักไปรอบ ๆ มโนทัศน์หลัก
3. เขียน/วาดมโนทัศน์ย่อยที่สัมพันธ์กับมโนทัศน์รองแตกออกไปเรื่อย ๆ
4. ใช้ภาพหรือสัญลักษณ์สื่อความหมายเป็นตัวแทนความคิดให้มากที่สุด
5. เขียนคาสาคัญ (Keywords) บนเส้นและเส้นต้องเชื่อมโยงกัน
6. กรณีใช้สี ทั้งมโนทัศน์รองและมโนทัศน์ย่อยควรเป็นสีเดียวกัน
7. คิดอย่างอิสระมากที่สุดขณะทา
วิธีการเขียน MindMap โดยละเอียดอีกวิธีหนึ่ง
1. เตรียมกระดาษเปล่าที่ไม่มีเส้นบรรทัดและวางกระดาษแนวนอน
2. วาดภาพสีหรือเขียนคาหรือข้อความที่สื่อหรือแสดงถึงเรื่องจะทาMind Map กลาง
หน้ากระดาษ โดยใช้สีอย่างน้อย 3 สี และต้องไม่ตีกรอบด้วยรูปทรงเรขาคณิต
3. คิดถึงหัวเรื่องสาคัญที่เป็นส่วนประกอบของเรื่องที่ทา Mind Map โดยให้เขียนเป็น
คาที่มีลักษณะเป็นหน่วย หรือเป็นคาสาคัญ (Keywords) สั้น ๆ ที่มีความหมายบน
เส้น ซึ่งเส้นแต่ละเส้น จะต้องแตกออกมาจากศูนย์กลางไม่ควรเกิน 8 กิ่ง
4. แตกความคิดของหัวเรื่องสาคัญแต่ละเรื่องในข้อ 3 ออกเป็นกิ่ง ๆ หลายกิ่ง โดยเขียน
คาหรือวลีบนเส้นที่แตกออกไป ลักษณะของกิ่งควรเอนไม่เกิน 60 องศา
วิธีการเขียน MindMap โดยละเอียดอีกวิธีหนึ่ง (ต่อ)
5. แตกความคิดรองลงไปที่เป็นส่วนประกอบของแต่ละกิ่งในข้อ 4 โดยเขียนคาหรือวลี
เส้นที่แตกออกไป ซึ่งสามารถแตกความคิดออกไปเรื่อยๆ
6. การเขียนคา ควรเขียนเป็นคาสาคัญ (Keywords) หรือคาหลัก หรือเป็นวลีที่มี
ความหมายชัดเจน
7. คา วลี สัญลักษณ์ หรือรูปภาพใดที่ต้องการเน้น อาจใช้วิธีการทาให้เด่น เช่น การล้อม
กรอบ หรือใส่กล่อง เป็นต้น
8. ตกแต่ง Mind Map ที่เขียนด้วยความสนุกสนานทั้งภาพและแนวคิดที่เชื่อมโยงต่อกัน.
แผนผังความคิด (MindMap) (ต่อ)
การนาไปใช้
1. ใช้ระดมพลังสมอง
2. ใช้นาเสนอข้อมูล
3. ใช้จัดระบบความคิดและช่วยความจา
4. ใช้วิเคราะห์เนื้อหาหรืองานต่าง ๆ
5. ใช้สรุปหรือสร้างองค์ความรู้
แผนผังความคิด (MindMap) (ต่อ)
ประโยชน์ของแผนผังความคิด
1. ทาให้เห็นภาพรวมกว้าง ๆ ของหัวข้อใหญ่ หรือขอบเขตของเรื่อง
2. ทาให้สามารถวางแผนเส้นทางหรือตัดสินใจได้อย่างถูกต้อง เพราะรู้ว่า
ตรงไหนกาลังจะไปไหนหรือผ่านอะไรบ้าง
3. สามารถรวบรวมข้อมูลจานวนมากลงไว้ในกระดาษแผ่นเดียวกัน
4. กระตุ้นให้คิดแก้ไขปัญหา โดยเปิดโอกาสให้มองเห็นวิธีใหม่ ๆ ที่
สร้างสรรค์
5. สร้างความเพลิดเพลินในการอ่านและง่ายต่อการจดจา.
• ตัวอย่างเว็บที่ให้บริการ MindMap
http://www.thinkbuzan.com/th/support/mindmapgallery
• YouTube แนะนำกำรสร้ำง MindMap เบื้องต้น
[How to Make a Mind Map - The Basics]
http://www.youtube.com/watch?v=wLWV0XN7K1g&feature=fvwrel
• YouTube แนะนำกำรสร้ำง iMindMap บน iPad
[Introduction to iMindMap on iPad (iMindMap Mobile HD)]
http://www.youtube.com/watch?v=Vsf-F-6fZD4&feature=relmfu
ภาคผนวก ข
เกณฑ์การประเมินค่าเว็บไซต์
1. ความน่าเชื่อถือ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
3. คุณค่าของเนื้อหา
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศ (เว็บ)
1. ความน่าเชื่อถือ
- ผู้รับผิดชอบในการจัดทาเว็บไซต์ เป็นใคร ???
(หากไม่แจ้งชื่อผู้แต่ง ให้พิจารณาความน่าเชื่อถือจากเว็บไซต์ที่เอกสารนั้นบรรจุอยู่)
- บุคคล ==> ดู เนื้อหาของเว็บต้องสอดคล้องกับคุณวุฒิผู้จัดทา
- หน่วยงาน ==> ควรเป็น รัฐ และ องค์กรไม่หวังผลกาไร องค์กรระหว่างประเทศ
(.edu .gov .net)
- ถูกเชื่อมโยงจากเว็บไซต์อื่น ๆ
- ให้ที่อยู่ที่ติดต่อกลับได้ เป็นการแสดงถึงความรับผิดชอบของผู้จัดทา
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศ (เว็บ) (ต่อ)
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
สามารถค้นหาสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว และ
ได้สารสนเทศจริง และ
หากมีการเปลี่ยน URL ควรแจ้งและเชื่อมโยงไปยัง URL ใหม่ได้ทันที
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศ (เว็บ) (ต่อ)
3. คุณค่าของเนื้อหา
- ถูกต้องสมบูรณ์
(ให้สาระครบถ้วน ระบุแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างชัดเจนสามารถตรวจสอบได้
พิมพ์ตัวอักษรถูกต้อง เปรียบเทียบกับเว็บที่มีเนื้อหาเหมือนกัน)
- ทันสมัย
(ขึ้นอยู่กับสาขาวิชา ดูปีเผยแพร่ หรือดูปีปรับปรุงเนื้อหาครั้งล่าสุด
ตรวจสอบ Links ต่างๆ ว่ายังใช้การได้อยู่หรือไม่)
- อ่านเข้าใจง่ายเพราะใช้ภาษาง่าย และนาเสนอเนื้อหาได้เหมาะสม
- ข้อมูลเป็นกลาง (ไม่มีอคติ ไม่ชักจูงทางความคิด)
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศ (เว็บ) (ต่อ)
Pop of BloG. (2550). การรู้สารสนเทศ (Information literacy). สืบค้น
เมื่อ 1 ตุลาคม 2555, จาก http://popofblog.blogspot.com/
ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์. (ม.ป.ป.). การรู้สารสนเทศ: ทักษะที่จาเป็นสาหรับการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Information literacy : Essential skill for
life – long learners). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
รติรัตน์ มหาทรัพย์. (2552). เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ทักษะการรู้สารสนเทศ.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
อาชัญญา รัตนอุบล. (2552). การรู้สารสนเทศ Information literacy.
สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2555, จาก http://portal.edu.chula.ac.th/patty_travel
เอกสารประกอบการสอน วิชา 412102 การรู้สารสนเทศ (Information literacy)
(พิมพ์ครั้งที่ 4). (2551). ขอนแก่น: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ
ศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Chartered Institute of Library and Information
Professionals. (2012). Information literacy: Definition.
Retrieved November 22, 2012, from
http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/information-
literacy/Pages/definition.aspx
The Board of Trustees of the Leland Stanford Junior
University. (2013). Introduction-what is information
literacy? Retrieved July 22, 2013, from
http://skil.stanford.edu/intro/research.html
Chartered Institute of Library and Information
Professionals. (2012). Information literacy: Definition.
Retrieved November 22, 2012, from
http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/information-
literacy/Pages/definition.aspx
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรมkrupornpana55
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]Kull Ch.
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 

La actualidad más candente (20)

I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 

Destacado

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 

Destacado (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 

Similar a บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04Poo-Chom Siriwut
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันParishat Tanteng
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลSittisak Rungcharoensuksri
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionRachabodin Suwannakanthi
 

Similar a บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ (20)

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04
 
Information service and dissemination
Information service and disseminationInformation service and dissemination
Information service and dissemination
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 
knowledgebasesociety
knowledgebasesocietyknowledgebasesociety
knowledgebasesociety
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชันสรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
สรุปวิจัยเรื่องการพัฒนาสื่อแอนิเมชัน
 
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัลการเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
การเรียนรู้และวางแผนก่อนเริ่มลงมือจัดการเอกสารโบราณในรูปแบบดิจิทัล
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
Mil chap 1 ____ julia nov29
Mil chap 1   ____ julia nov29Mil chap 1   ____ julia nov29
Mil chap 1 ____ julia nov29
 
Introduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media ProductionIntroduction to Educational Media Production
Introduction to Educational Media Production
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
Atack
AtackAtack
Atack
 

Más de Srion Janeprapapong

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

Más de Srion Janeprapapong (14)

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ