SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 28
สื่อการเรียนรายวิชาชีววิทยา  ( ว 30103) ภาคเรียนที่  1  ปีการศึกษา  2554 เสนอ ครูมยุรี มุขศรีใส กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
สื่อการเรียนรายวิชาชีววิทยา  ( ว 30103) หน่วยการเรียนรู้ที่  1  ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เรื่อง ไบโอม
ไบโอม
   คือระบบนิเวศใดๆ ก็ตามที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพเช่นอุณหภูมิ ความชื้นและปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ ที่คล้ายคลึงกันกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ ประเภทของไบโอม  แบ่งได้  2  ประเภทใหญ่ๆ คือ ไบโอมบนบก และไบโอมในน้ำ
ไบโอมบนบก 1. ป่าดิบชื้น  (tropical rain forest) 2. ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น  (temperate decidous forest) 3. ป่าสน  (coniferous forest) 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น  (temperate glassland) 5. สะวันนา  (savanna) 6. ทะเลทราย  (desert) 7. ทุนดรา  (tundra)
ไบโอมในน้ำ 1. น้ำจืด  2. น้ำเค็ม  3.  น้ำกร่อย
1. ป่าดิบชื้น  (tropical rain forest)
ป่าดงดิบ  (  evergreen forest)  หรืออาจเรียกว่า ป่าฝนเขตร้อน  ( tropical rainforest)   พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกา เอเชียตอนใต้ และบริเวณบางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก  ลักษณะของภูมิอากาศร้อนและชื้น อากาศบริเวณนี้มีการเปลี่ยนไม่มากนัก ที่ สำคัญมีฝนตกชุกตลอดปี  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย  200 – 400  เซนติเมตรต่อปี หรือปีละ  2,000-5,000  มม . (2-5  เมตร  )  ต่อปี มีอินทรียสารอุดมสมบูรณ์มาก และมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากมายมหาศาล ป่าดงดิบมีหลายแบบ ที่พบในประเทศไทย มีทั้งป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าพรุ ฯลฯ   ในป่าชนิดนี้พบพืชและสัตว์หลากหลายพันสปีชีส์  เป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงมากเขียวชอุ่มร่มรื่น   
2. ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น  (temperate decidous forest)
พบกระจายทั่วไปในละติจูดกลาง ทั้งในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ประเทศจีน และในประเทศไทย ป่าผลัดใบได้รับน้ำฝนประมาณ  600-2,500  มม .  ต่อปี ซึ่งมีปริมาณความชื้นเพียงพอที่ต้นไม้ใหญ่จะเจริญเติบโตได้ดี และมีอากาศ ค่อนข้างเย็น พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้างซึ่งทิ้งใบในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงฤดูหนาว และผลิใบอีกครั้งเมื่อมีฝนตก ในป่าชนิดนี้และต้นไม้จะทิ้งใบหรือผลัดใบก่อนฤดูหนาว  และจะเริ่มผลิใบอีกครั้งเมื่อฤดูหนาวผ่านพ้นไปแล้ว สัตว์ที่พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนัขจิ้งจอก  โดยมีต้นไม้ที่พบมีหลากหลายทั้งไม้ยืนต้น  ไม้พุ่ม  รวมถึงไม้ล้มลุก
3. ป่าสน  (coniferous forest)
ป่าสน  ( Coniferous forest)  ป่าไทกา  ( Taiga)   และป่าบอเรียล  ( Boreal) เป็นป่าประเภทเขียวชอุ่มตลอดปี  พบได้ทางตอนใต้ของประเทศแคนนาดา  ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ  ทวีปเอเชียและยุโรป  ในเขตละติจูดตั้งแต่  45 – 67  องศาเหนือ  ลักษณะของภูมิอากาศมีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก  Continental Subarctic climate  เป็นเขตหนาวเย็นและแห้ง มีระยะเวลาที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนานกว่า  6  เดือน ในเดือนมกราคม อุณหภูมิ ประมาณ  - 6  องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน มีอากาศ อบอุ่นขึ้น อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ  16  องศาเซลเซียส มีฝนตกในฤดูร้อน ปริมาณ หยาดน้ำฟ้า  500-1,000  มิลลิเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ มีฝนตกมากกว่าเขตทุนดรา และมีฤดูร้อนยาวนานกว่าเขตทุนดราเล็กน้อย
4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น  (temperate glassland)
ทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่นที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่  (  prairie )  ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์  ( steppe)  และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา  ( pampa)  สภาพภูมิอากาศมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย  25 – 50  เซนติเมตรต่อปี มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว นอกจากทุ่งหญ้าแล้ว ยังมีไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ  ( baobab)  และพวกกระถิน  ( acacia)  สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสำหรับการทำกสิกรและปศุสัตว์  เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่  ส่วนใหญ่พบมีการทำเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
5. สะวันนา  (savanna)
ทุ่งหญ้าสะวันนา มักจะพบกระจายอยู่ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ของทวีปแอฟริก หรือ อเมริกาใต้ สะวันนา  ( Savanna)  เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย  ลักษณะของภูมิอากาศร้อน ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า มีลักษณะเป็นป่าไม้จนถึงทุ่งหญ้า ที่มีต้นไม้กระจายอยู่ห่างๆ กันทั้งนี้เนื่องจากความชื้นในฤดูแล้งไม่เพียงพอสำหรับการปกคลุมของต้นไม้ ให้เต็มพื้นที่ ไม้บางชนิดเป็นพวกทนแล้ง  ( xerophyte)  การที่มีเรือนยอดโปร่งทำให้ไม้พื้นล่างขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น โดยเฉพาะหญ้าชนิดต่างๆ  สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย
6. ทะเลทราย  (desert)
คือบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝน  250  มม .  ต่อปี และบางช่วงอาจ ไม่มีฝนตกยาวนานถึง  8-10  ปี พบได้ทั่วไปในโลก  ในพื้นที่มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า  25  เซนติเมตรต่อปี ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง  60  องศาเซลเซียสตลอดวัน  บางวันแห่งมีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น  ทะเลทรายบางแห่งซึ่งมีอากาศร้อน เช่น ทะเลทรายซาฮาราในอัฟริกา ทะเลทรายโซโนรันในเม็กซิโก มีฤดูหนาวสั้นๆ ที่ไม่หนาวมากนัก แต่ทะเลทรายบางแห่ง เช่น ทะเลทรายโกบีในมองโกเลียอาจมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานในฤดูหนาว  พืชที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไม้พุ่มทนแล้ง พืชอวบน้ำ และพืชปีเดียว พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ  โดยใบลดรูปเป็นหนาม  ลำต้นอวบ  เก็บสะสมน้ำดี  ในทะเลทรายมีสัตว์เลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน
7. ทุนดรา  (tundra)
มีอาณาเขตตั้งแต่เส้นรุ้งที่  60  เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก เป็นบริเวณหนาวเย็นที่มีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แม้ในช่วงฤดูร้อน  ซึ่งเป็นสั้นๆ ประมาณ  2-3  เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่ำกว่า  10  องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิ ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานกว่า  6  เดือน ฝนตกน้อย ปริมาณหยาดน้ำฟ้าประมาณ  500  มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ ใต้พื้นดินก็ยังเป็นน้ำแข็ง เขตทุนดรา ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย  ในช่วงฤดูหนาวอันยาวนานเป็นช่วงที่ขาดชีวิตชีวา สัตว์จะจำศีล ( Hibermation)  หรือหลบอยู่ใต้หิมะ และใต้ก้อนน้ำแข็ง พืชหยุดชะงักการเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพื้นดินและพื้นน้ำจะสลับกันเป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นจึงทำให้มีอัตราการระเหยต่ำ การสลายตัวของธาตุอาหารเกิดอย่างช้าๆ ทำให้ค่อนข้างขาดแคลนอาหาร แม้สภาพแวดล้อมจะไม่ใคร่เหมาะสม แต่สิ่งมีชีวิตก็สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ พืชมีอายุการเจริญสั้นเพียงแค่  60  วัน พืชชนิดเด่นได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์ ( Sedge)  และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
1. น้ำจืด
โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้ำนิ่งซึ่งได้แก่ ทะเลสาบ สระ หนอง บึง กับแหล่งน้ำไหล ซึ่งได้แก่ธารน้ำไหลและแม่น้ำเป็นต้น
2.  น้ำเค็ม
ประกอบด้วยแหล่งน้ำเค็ม ซึ่งได้แก่ทะเลและมหาสมุทรซึ่งพบในปริมานมาก มีถึงร้อยละ  71  ของพื้นที่ผิวโลกและมีความลึกมาก โดยมีความลึกเฉลี่ยถึง  3750  เมตร ไบโอมแหล่งน้ำเค็มจะแตกต่างกับแหล่งน้ำจืด โดยที่มีน้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยทางกายภาพที่สำคัญ
3. น้ำกร่อย
คือช่วงรอยต่อของแหล่งน้ำจืดและน้ำเค็มที่มาบรรจบกัน ซึ่งมักจะพบตามปากแม่น้ำ การขึ้นลงของกระแสน้ำทีอิทธิผลต่อการเปลี่ยนแปลงค่าความเค็มของน้ำในแหล่ง น้ำกร่อยเป็นอย่างมาก
เอกสารอ้างอิง http://www.thaigoodview.com/node/46248
สมาชิก 1.  นายทรงกรด วารีศรลาภ เลขที่  2 2.  นายฐิติวัชร์ สร้อยสนถาวรกุล เลขที่  6 3.  นางสาวสุวิชญา จันทรสาขา เลขที่  24 4.  นางสาวมธุรส มีฉลาด เลขที่  34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  4/1  กลุ่มที่  7

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศKittiya GenEnjoy
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศcrunui
 
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอนgifted10
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้Kittayaporn Changpan
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forestpukan19
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงAnana Anana
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 

La actualidad más candente (19)

ความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศความหลากหลายของระบบนิเวศ
ความหลากหลายของระบบนิเวศ
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
410 Bio001 1ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมไบโอมระบบนิเวศใช้สอน
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
Forest
ForestForest
Forest
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
Type of forest
Type of forestType of forest
Type of forest
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสงการปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
การปรับตัวของพืชเพื่อรับแสง
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
For
ForFor
For
 

Similar a ว30103

ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้siwimon12090noonuch
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติKru Ongart Sripet
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้Krittamat
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปchanok
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้Phetmanee Fah
 

Similar a ว30103 (20)

สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
North america
North americaNorth america
North america
 
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
 
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3ลักษณะทางกายภาพ 2.3
ลักษณะทางกายภาพ 2.3
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ป่าไม้
ป่าไม้ป่าไม้
ป่าไม้
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
ลักษณะภูมิอากาศ 2.1
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
ลักษณะพืชพรรณธรรมชาติ
 
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้งานนำเสนอ อเมริกาใต้
งานนำเสนอ อเมริกาใต้
 
ทวีปยุโรป
ทวีปยุโรปทวีปยุโรป
ทวีปยุโรป
 
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
งานคอม ทวีปอเมริกาใต้
 

ว30103

  • 1. สื่อการเรียนรายวิชาชีววิทยา ( ว 30103) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 เสนอ ครูมยุรี มุขศรีใส กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ลำลูกกา
  • 2. สื่อการเรียนรายวิชาชีววิทยา ( ว 30103) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม เรื่อง ไบโอม
  • 4.   คือระบบนิเวศใดๆ ก็ตามที่มีองค์ประกอบของปัจจัยทางกายภาพเช่นอุณหภูมิ ความชื้นและปัจจัยทางชีวภาพ เช่น พืชและสัตว์ ที่คล้ายคลึงกันกระจายอยู่ในเขตภูมิศาสตร์ต่างๆ ประเภทของไบโอม  แบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ ไบโอมบนบก และไบโอมในน้ำ
  • 5. ไบโอมบนบก 1. ป่าดิบชื้น (tropical rain forest) 2. ป่าผลัดใบในเขตอบอุ่น (temperate decidous forest) 3. ป่าสน (coniferous forest) 4. ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่น (temperate glassland) 5. สะวันนา (savanna) 6. ทะเลทราย (desert) 7. ทุนดรา (tundra)
  • 6. ไบโอมในน้ำ 1. น้ำจืด 2. น้ำเค็ม 3. น้ำกร่อย
  • 7. 1. ป่าดิบชื้น (tropical rain forest)
  • 8. ป่าดงดิบ ( evergreen forest) หรืออาจเรียกว่า ป่าฝนเขตร้อน ( tropical rainforest) พบได้ในบริเวณใกล้เขตเส้นศูนย์สูตรของโลกในทวีปอเมริกากลาง ทวีปอเมริกา เอเชียตอนใต้ และบริเวณบางส่วนของหมู่เกาะแปซิฟิก  ลักษณะของภูมิอากาศร้อนและชื้น อากาศบริเวณนี้มีการเปลี่ยนไม่มากนัก ที่ สำคัญมีฝนตกชุกตลอดปี  ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 200 – 400 เซนติเมตรต่อปี หรือปีละ 2,000-5,000 มม . (2-5 เมตร ) ต่อปี มีอินทรียสารอุดมสมบูรณ์มาก และมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เป็นจำนวนมากมายมหาศาล ป่าดงดิบมีหลายแบบ ที่พบในประเทศไทย มีทั้งป่าดิบเขา ป่าดิบแล้ง ป่าพรุ ฯลฯ   ในป่าชนิดนี้พบพืชและสัตว์หลากหลายพันสปีชีส์  เป็นป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์สูงมากเขียวชอุ่มร่มรื่น  
  • 10. พบกระจายทั่วไปในละติจูดกลาง ทั้งในเขตอบอุ่น และเขตร้อนของโลก เช่น ในทวีปอเมริกาเหนือ ยุโรป ประเทศจีน และในประเทศไทย ป่าผลัดใบได้รับน้ำฝนประมาณ 600-2,500 มม . ต่อปี ซึ่งมีปริมาณความชื้นเพียงพอที่ต้นไม้ใหญ่จะเจริญเติบโตได้ดี และมีอากาศ ค่อนข้างเย็น พรรณไม้หลักเป็นไม้ต้นใบกว้างซึ่งทิ้งใบในช่วงฤดูแล้ง หรือช่วงฤดูหนาว และผลิใบอีกครั้งเมื่อมีฝนตก ในป่าชนิดนี้และต้นไม้จะทิ้งใบหรือผลัดใบก่อนฤดูหนาว  และจะเริ่มผลิใบอีกครั้งเมื่อฤดูหนาวผ่านพ้นไปแล้ว สัตว์ที่พบ เช่น กวางเอลก์ และสุนัขจิ้งจอก  โดยมีต้นไม้ที่พบมีหลากหลายทั้งไม้ยืนต้น  ไม้พุ่ม  รวมถึงไม้ล้มลุก
  • 11. 3. ป่าสน (coniferous forest)
  • 12. ป่าสน ( Coniferous forest)  ป่าไทกา ( Taiga)  และป่าบอเรียล ( Boreal) เป็นป่าประเภทเขียวชอุ่มตลอดปี  พบได้ทางตอนใต้ของประเทศแคนนาดา  ทางตอนเหนือของทวีปอเมริกาเหนือ  ทวีปเอเชียและยุโรป  ในเขตละติจูดตั้งแต่ 45 – 67 องศาเหนือ  ลักษณะของภูมิอากาศมีฤดูหนาวค่อนข้างยาวนาน ภูมิอากาศแบบกึ่งอาร์กติก Continental Subarctic climate เป็นเขตหนาวเย็นและแห้ง มีระยะเวลาที่อุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งนานกว่า 6 เดือน ในเดือนมกราคม อุณหภูมิ ประมาณ - 6 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูร้อน มีอากาศ อบอุ่นขึ้น อุณหภูมิในเดือนกรกฎาคม ประมาณ 16 องศาเซลเซียส มีฝนตกในฤดูร้อน ปริมาณ หยาดน้ำฟ้า 500-1,000 มิลลิเมตรต่อปี ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ มีฝนตกมากกว่าเขตทุนดรา และมีฤดูร้อนยาวนานกว่าเขตทุนดราเล็กน้อย
  • 14. ทุ่งหญ้าในเขตอบอุ่นที่พบในทวีปอเมริกาเหนือ เรียกว่า แพรรี่ ( prairie ) ในเขตยูเรเชีย เรียก สเต็ปป์ ( steppe) และในทวีปอเมริกาใต้เรียก แพมพา ( pampa) สภาพภูมิอากาศมีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย 25 – 50 เซนติเมตรต่อปี มักมีฝนตกในช่วงฤดูร้อน และแห้งแล้งในฤดูหนาว นอกจากทุ่งหญ้าแล้ว ยังมีไม้พุ่มที่มีหนาม มีไม้ต้นทนแล้ง และทนไฟป่า เช่น เบาบับ ( baobab) และพวกกระถิน ( acacia) สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย ทุ่งหญ้าเขตอบอุ่นนี้เหมาะสำหรับการทำกสิกรและปศุสัตว์  เพราะดินมีความอุดมสมบูรณ์สูงมีหญ้านานาชนิดขึ้นอยู่  ส่วนใหญ่พบมีการทำเกษตรกรรมควบคู่ในพื้นที่นี่ด้วย
  • 16. ทุ่งหญ้าสะวันนา มักจะพบกระจายอยู่ใกล้กับเส้นศูนย์สูตร ของทวีปแอฟริก หรือ อเมริกาใต้ สะวันนา ( Savanna) เป็นทุ่งหญ้าที่พบได้ในทวีปแอฟริกาและพบบ้างทางตะวันออกเฉียงใต้ของทวีป เอเชีย  ลักษณะของภูมิอากาศร้อน ในฤดูร้อนมักเกิดไฟป่า มีลักษณะเป็นป่าไม้จนถึงทุ่งหญ้า ที่มีต้นไม้กระจายอยู่ห่างๆ กันทั้งนี้เนื่องจากความชื้นในฤดูแล้งไม่เพียงพอสำหรับการปกคลุมของต้นไม้ ให้เต็มพื้นที่ ไม้บางชนิดเป็นพวกทนแล้ง ( xerophyte) การที่มีเรือนยอดโปร่งทำให้ไม้พื้นล่างขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น โดยเฉพาะหญ้าชนิดต่างๆ สัตว์ที่พบมีหลากหลาย เช่น ช้าง ม้าลาย สิงโตในอัฟริกา หมีโคลา จิงโจ้ และนกอีมูในออสเตรเลีย
  • 18. คือบริเวณที่มีปริมาณน้ำฝน 250 มม . ต่อปี และบางช่วงอาจ ไม่มีฝนตกยาวนานถึง 8-10 ปี พบได้ทั่วไปในโลก  ในพื้นที่มีปริมาณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่า 25 เซนติเมตรต่อปี ทะเลทรายบางแห่งร้อนมากมีอุณหภูมิเหนือผิวดินสูงถึง 60 องศาเซลเซียสตลอดวัน  บางวันแห่งมีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น  ทะเลทรายบางแห่งซึ่งมีอากาศร้อน เช่น ทะเลทรายซาฮาราในอัฟริกา ทะเลทรายโซโนรันในเม็กซิโก มีฤดูหนาวสั้นๆ ที่ไม่หนาวมากนัก แต่ทะเลทรายบางแห่ง เช่น ทะเลทรายโกบีในมองโกเลียอาจมีอุณหภูมิต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานในฤดูหนาว พืชที่พบในทะเลทรายเป็นพวกไม้พุ่มทนแล้ง พืชอวบน้ำ และพืชปีเดียว พืชที่พบในไบโอมทะเลทรายนี้มีการป้องกันการสูญเสียน้ำ  โดยใบลดรูปเป็นหนาม  ลำต้นอวบ  เก็บสะสมน้ำดี  ในทะเลทรายมีสัตว์เลื้อยคลาน พวกงูและกิ้งก่า และสัตว์ใช้ฟันกัดแทะ เช่น พวกหนูชุกชุม สัตว์ส่วนใหญ่หากินกลางคืนเพื่อหลีกเลี่ยงอากาศร้อนในตอนกลางวัน
  • 20. มีอาณาเขตตั้งแต่เส้นรุ้งที่ 60 เหนือขึ้นไปจนถึงขั้วโลก เป็นบริเวณหนาวเย็นที่มีหิมะปกคลุมเกือบตลอดปี แม้ในช่วงฤดูร้อน  ซึ่งเป็นสั้นๆ ประมาณ 2-3 เดือน อุณหภูมิในฤดูร้อนเฉลี่ยต่ำกว่า 10 องศาเซลเซียส ส่วนในฤดูหนาว อากาศหนาวจัด อุณหภูมิ ต่ำกว่าจุดเยือกแข็งยาวนานกว่า 6 เดือน ฝนตกน้อย ปริมาณหยาดน้ำฟ้าประมาณ 500 มิลลิเมตร ส่วนใหญ่ตกในรูปของหิมะ ใต้พื้นดินก็ยังเป็นน้ำแข็ง เขตทุนดรา ได้แก่ พื้นที่ของรัฐอะลาสก้า และไซบีเรีย ในช่วงฤดูหนาวอันยาวนานเป็นช่วงที่ขาดชีวิตชีวา สัตว์จะจำศีล ( Hibermation) หรือหลบอยู่ใต้หิมะ และใต้ก้อนน้ำแข็ง พืชหยุดชะงักการเจริญเติบโต ในฤดูร้อนพื้นดินและพื้นน้ำจะสลับกันเป็นลวดลายสวยงาม ชุมชนแบบทุนดราเป็นชุมชนแบบง่ายๆ ไม่ยั่งยืนและไม่สมดุล เนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นจึงทำให้มีอัตราการระเหยต่ำ การสลายตัวของธาตุอาหารเกิดอย่างช้าๆ ทำให้ค่อนข้างขาดแคลนอาหาร แม้สภาพแวดล้อมจะไม่ใคร่เหมาะสม แต่สิ่งมีชีวิตก็สามารถปรับตัวให้อยู่รอดได้ พืชมีอายุการเจริญสั้นเพียงแค่ 60 วัน พืชชนิดเด่นได้แก่ ไลเคนส์ นอกจากนี้ยังมีมอส กก หญ้าเซดจ์ ( Sedge) และไม้พุ่มเตี้ย เช่น วิลโลแคระ
  • 22. โดยทั่วไปประกอบด้วยแหล่งน้ำนิ่งซึ่งได้แก่ ทะเลสาบ สระ หนอง บึง กับแหล่งน้ำไหล ซึ่งได้แก่ธารน้ำไหลและแม่น้ำเป็นต้น
  • 24. ประกอบด้วยแหล่งน้ำเค็ม ซึ่งได้แก่ทะเลและมหาสมุทรซึ่งพบในปริมานมาก มีถึงร้อยละ 71 ของพื้นที่ผิวโลกและมีความลึกมาก โดยมีความลึกเฉลี่ยถึง 3750 เมตร ไบโอมแหล่งน้ำเค็มจะแตกต่างกับแหล่งน้ำจืด โดยที่มีน้ำขึ้นน้ำลงเป็นปัจจัยทางกายภาพที่สำคัญ
  • 28. สมาชิก 1. นายทรงกรด วารีศรลาภ เลขที่ 2 2. นายฐิติวัชร์ สร้อยสนถาวรกุล เลขที่ 6 3. นางสาวสุวิชญา จันทรสาขา เลขที่ 24 4. นางสาวมธุรส มีฉลาด เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 กลุ่มที่ 7