SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 11
Descargar para leer sin conexión
"... แต่มาเงยดูท้องฟ้า มีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไม
จะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ก็เคยได้ยินเรื่องการทาฝน ก็มา
ปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้มี มีหนังสือ เคยอ่าน
หนังสือทาได้... "
เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย-
เดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และ
เกษตรกรที่ขาด แคลนน้า อุปโภค บริโภค และการเกษตร จึงได้มีพระมหา
กรุณาธิคุณ พระราชทาน โครงการพระราชดาริ " ฝนหลวง " ให้กับ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์
เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมา ได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลอง ปฏิบัติการ
ฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เมื่อปี ๒๕๑๒ ด้วยความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้ง
สานักงานปฏิบัติการฝนหลวง ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและ
สหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดาริฝนหลวง ต่อไป
ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน"
        การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้มุ่งใช้สารเคมีกระตุ้นให้มวล
อากาศลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือความชื้น
เข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00
น. ของแต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้
เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้าในมวลอากาศ ทางด้านเหนือลม
ของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมี
ที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็น
ระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วมในบริเวณ
ปฏิบัติการสาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
ขั้นตอนที่สอง : "เลี้ยงให้อ้วน"
เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการ
ปฏิบัติการ เพราะจะต้องเพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป
ต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์การทาฝนควบคู่ไปพร้อม
กันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใด
จึงเหมาะสม เพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ
updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลาย
ขั้นตอนที่สาม : "โจมตี"
เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ
กลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆ
จะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมี
เม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบิน เป็นขั้นตอนที่สาคัญ ต้อง
อาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ
updraft หรือทาให้อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการใน
ขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็น
คือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน
เครื่องมือและอุปกรณ์

1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ
ประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็น
ประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่
 เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิวดิน
    ขึ้นไป
 เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่ง
    วิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิ
    ความชื้นของบรรยากาศในระดับต่างๆ
 เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มี
    ประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้าฝนและการเคลื่อนที่ของ
    กลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้วยังใช้เป็น
    หลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วย
 เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด ความเร็วและ
     ทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้าฝนเป็นต้น
2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้าและ
แบบผงถังและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้น
3. เครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบิน
กับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน
ปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจศูนย์สื่อสาร
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือ
สื่อสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องโทร
พิมพ์ เป็นต้น
 4. เครื่องมือทางวิชาการอื่นๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่
กล้องส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมีกล้องถ่ายภาพและอื่นๆ
5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้จัดเป็น
เครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่มีมูลค่าสูงสุด ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและ
ติดตามประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิตเครื่องมือชนิดนี้ทางานโดยใช้ระบบ
คอมพิวเตอร์ ควบคุมการสั่งการการเก็บบันทึกรวบรวมข้อมูลสามารถนาข้อมูล
กลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึกในรูปแบบการทางาน
กล่าวคือข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ในเทปบันทึกข้อมูล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่
สามารถนามาใช้ได้ตลอดซึ่งเชื่อมต่อกับระบบเรดาร์การแสดงผล/ข้อมูลโดย
จอภาพขนาด 20 นิ้ว สถานที่ตั้ง ที่เรียกว่าสถานีเรดาร์ฝนหลวงนี้อยู่ที่ ตาบล
ยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
ประโยชน์
การทาฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า
จะต้องให้เครื่องบินที่มีอัตราการบรรทุกมากๆ บรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยใน
ท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของจานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลม
ประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น
และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อ
มวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวล
อากาศ จะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้น
มากพอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว
จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิด
เป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย สูตรร้อน เพื่อใช้กระตุ้น
เร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ สูตรเย็น ใช้เพื่อ
กระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆ ให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน
และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัว
ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
จัดทาโดย

    นางสาววรรณพร สุขทวี

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 เลขที่ 28

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศkrupornpana55
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...Kobwit Piriyawat
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 

La actualidad más candente (20)

แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
แบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยระบบนิเวศ
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Destacado

โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55somkait
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงPongsa Pongsathorn
 

Destacado (6)

โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
โครงการฝนหลวง 3 มี.ค.55
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 

Similar a โครงการฝนหลวง

เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eeveaeef
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31eveaeef
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงField_28178
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงChutikan Mint
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงyeen_28175
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริRachatawan Netsuwan
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงchaiing
 

Similar a โครงการฝนหลวง (8)

เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
เศรษฐกิจพอเพียง ม.4 7 เลขที่31
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวงเศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องโครงการฝนหลวง
 

โครงการฝนหลวง

  • 1. "... แต่มาเงยดูท้องฟ้า มีเมฆ ทาไมมีเมฆอย่างนี้ ทาไม จะดึงเมฆนี่ลงมาให้ได้ก็เคยได้ยินเรื่องการทาฝน ก็มา ปรารภกับคุณเทพฤทธิ์ ฝนทาได้มี มีหนังสือ เคยอ่าน หนังสือทาได้... "
  • 2. เมื่อคราวที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย- เดช เสด็จพระราชดาเนินเยี่ยมพสกนิกร เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๙๘ ในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้ทรงรับทราบถึงความเดือดร้อน ทุกข์ยากของราษฎร และ เกษตรกรที่ขาด แคลนน้า อุปโภค บริโภค และการเกษตร จึงได้มีพระมหา กรุณาธิคุณ พระราชทาน โครงการพระราชดาริ " ฝนหลวง " ให้กับ ม.ร.ว. เทพฤทธิ์ เทวกุล ไปดาเนินการ ซึ่งต่อมา ได้เกิดเป็นโครงการค้นคว้าทดลอง ปฏิบัติการ ฝนเทียมหรือฝนหลวงขึ้น ในสังกัด สานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อปี ๒๕๑๒ ด้วยความสาเร็จของ โครงการ จึงได้ตราพระราชกฤษฎีกา ก่อตั้ง สานักงานปฏิบัติการฝนหลวง ขึ้นในปี พ.ศ. ๒๕๑๘ ในสังกัดกระทรวงเกษตรและ สหกรณ์ เพื่อเป็นหน่วยงานรองรับโครงการพระราชดาริฝนหลวง ต่อไป
  • 3. ขั้นตอนที่หนึ่ง : "ก่อกวน" การปฏิบัติการในขั้นตอนนี้มุ่งใช้สารเคมีกระตุ้นให้มวล อากาศลอยตัวขึ้นสู่เบื้องบน เพื่อให้เกิดกระบวนการชักนาไอน้าหรือความชื้น เข้าสู่ระบบการเกิดเมฆ ระยะเวลาที่จะปฏิบัติการในขั้นตอนนี้ไม่ควรเกิน 10.00 น. ของแต่ละวัน โดยการใช้สารเคมีที่สามารถดูดซับไอน้าจากมวลอากาศได้ เพื่อกระตุ้นกลไกของกระบวนการกลั่นตัวไอน้าในมวลอากาศ ทางด้านเหนือลม ของพื้นที่เป้าหมาย เมื่อเมฆเริ่มก่อตัวและเจริญเติบโตทางตั้งแล้ว จึงใช้สารเคมี ที่ให้ปฏิกิริยาคายความร้อนโปรยเป็นวงกลมหรือเป็นแนวถัดมาทางใต้ลมเป็น ระยะทางสั้น ๆ เข้าสู่ก้อนเมฆ เพื่อกระตุ้นให้เกิดกลุ่มแกนร่วมในบริเวณ ปฏิบัติการสาหรับใช้เป็นศูนย์กลางที่จะสร้างกลุ่มเมฆฝนในขั้นตอนต่อไป
  • 4. ขั้นตอนที่สอง : "เลี้ยงให้อ้วน" เป็นขั้นตอนที่เมฆกาลังก่อตัวเจริญเติบโตซึ่งเป็นระยะสาคัญมากในการ ปฏิบัติการ เพราะจะต้องเพิ่มพลังงานให้แก่ updraft ให้ยาวนานออกไป ต้องใช้เทคโนโลยีและประสบการณ์การทาฝนควบคู่ไปพร้อม กันเพื่อตัดสินใจโปรยสารเคมีชนิดใด ณ ที่ใดของกลุ่มก้อนเมฆ และในอัตราใด จึงเหมาะสม เพราะต้องให้กระบวนการเกิดละอองเมฆสมดุลกับความแรงของ updraft มิฉะนั้นจะทาให้เมฆสลาย
  • 5. ขั้นตอนที่สาม : "โจมตี" เป็นขั้นตอนสุดท้ายของกรรมวิธีปฏิบัติการฝนหลวง เมฆ หรือ กลุ่มเมฆฝนมีความหนาแน่นมากพอที่จะสามารถตกเป็นฝนได้ ภายในกลุ่มเมฆ จะมีเม็ดน้าขนาดใหญ่มากมาย หากเครื่องบินบินเข้าไปในกลุ่มเมฆฝนนี้จะมี เม็ดน้าเกาะตามปีกและกระจังหน้าของเครื่องบิน เป็นขั้นตอนที่สาคัญ ต้อง อาศัยประสบการณ์มาก เพราะจะต้องปฏิบัติการเพื่อลดความรุนแรงของ updraft หรือทาให้อายุของ updraft หมดไป สาหรับการปฏิบัติการใน ขั้นตอนนี้ จะต้องพิจารณาจุดมุ่งหมายของการทาฝนหลวง ซึ่งมีอยู่ 2 ประเด็น คือเพื่อเพิ่มปริมาณฝนตก และเพื่อให้เกิดการกระจายการตกของฝน
  • 6. เครื่องมือและอุปกรณ์ 1. เครื่องมืออุตุนิยมวิทยาใช้ในการตรวจวัดและศึกษาสภาพอากาศ ประกอบการวางแผนปฏิบัติการนอกเหนือจากแผนที่อากาศภาพถ่ายดาวเทียมที่ได้รับสนับสนุนเป็น ประจาวันจากกรมอุตุนิยมวิทยาที่มีใช้ได้แก่  เครื่องวัดลมชั้นบน (Pilot Balloon) ใช้ตรวจวัดทิศทางและความเร็ว ลมระดับสูงจากผิวดิน ขึ้นไป  เครื่องวิทยุหยั่งอากาศ (Radiosonde) เป็นเครื่องมืออิเล็คทรอนิคส์ประกอบด้วยเครื่องส่ง วิทยุ ซึ่งจะติดไปกับบอลลูนและเครื่องรับสัญญาณวิทยุซึ่งจะบอกให้ทราบถึงข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้นของบรรยากาศในระดับต่างๆ  เครื่องเรดาร์ ตรวจอากาศ (Weather Radar) ที่มีใช้อยู่เป็นแบบติดรถยนต์เคลื่อนที่ได้มี ประสิทธิภาพสามารถบอกบริเวณที่มีฝนตกและความแรงหรือปริมาณน้าฝนและการเคลื่อนที่ของ กลุ่มฝนได้ในรัศมี 200-400 กม. ซึ่งนอกจากจะใช้ประกอบการวางแผนปฏิบัติการแล้วยังใช้เป็น หลักฐานในการประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงอีกด้วย
  • 7.  เครื่องมือตรวจอากาศผิวพื้นต่างๆ เช่น เครื่องวัดอุณหภูมิเครื่องวัด ความเร็วและ ทิศทางลมเครื่องวัดปริมาณน้าฝนเป็นต้น 2. เครื่องมือเตรียมสารเคมี ได้แก่เครื่องบดสารเคมีเครื่องผสมสารเคมีทั้งแบบน้าและ แบบผงถังและกรวยโปรยสารเคมีเป็นต้น 3. เครื่องมือสื่อสารใช้ในการติดต่อสื่อสารและสั่งการระหว่างนักวิชาการบนเครื่องบิน กับฐานปฏิบัติการหรือระหว่างฐานปฏิบัติการ 2 แห่ง หรือใช้รายงานผลระหว่างฐาน ปฏิบัติงานสานักงานฯ ในส่วนกลางโดยอาศัยข่ายร่วมของวิทยุตารวจศูนย์สื่อสาร สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยวิทยุเกษตรและกรมไปรษณีย์โทรเลขเครื่องมือ สื่อสารที่ใช้ในปัจจุบันได้แก่วิทยุซิงเกิลไซด์แบนด์ วิทยุ FM.1, FM.5 เครื่องโทร พิมพ์ เป็นต้น 4. เครื่องมือทางวิชาการอื่นๆ เช่นอุปกรณ์ทางการวางแผนปฏิบัติการเข็มทิศแผนที่ กล้องส่องทางไกล เครื่องมือตรวจสอบสารเคมีกล้องถ่ายภาพและอื่นๆ
  • 8. 5. สถานีเรดาร์ฝนหลวง ในบรรดาเครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ภายใต้จัดเป็น เครื่องมืออุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่มีมูลค่าสูงสุด ใช้เพื่อวางแผนการทดลองและ ติดตามประเมินผลปฏิบัติการฝนหลวงสาธิตเครื่องมือชนิดนี้ทางานโดยใช้ระบบ คอมพิวเตอร์ ควบคุมการสั่งการการเก็บบันทึกรวบรวมข้อมูลสามารถนาข้อมูล กลับมาแสดงใหม่จากเทปบันทึกในรูปแบบการทางาน กล่าวคือข้อมูลจะถูกบันทึกไว้ในเทปบันทึกข้อมูล ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ที่ สามารถนามาใช้ได้ตลอดซึ่งเชื่อมต่อกับระบบเรดาร์การแสดงผล/ข้อมูลโดย จอภาพขนาด 20 นิ้ว สถานที่ตั้ง ที่เรียกว่าสถานีเรดาร์ฝนหลวงนี้อยู่ที่ ตาบล ยางเปียง อาเภออมก๋อย จังหวัดเชียงใหม่
  • 9. ประโยชน์ การทาฝนหลวงเป็นกรรมวิธีการเหนี่ยวนาน้าจากฟ้า จะต้องให้เครื่องบินที่มีอัตราการบรรทุกมากๆ บรรจุสารเคมีขึ้นไปโปรยใน ท้องฟ้า โดยดูจากความชื้นของจานวนเมฆ และสภาพของทิศทางลม ประกอบกัน ปัจจัยสาคัญที่ทาให้เกิดฝนคือ ความร้อนชื้นปะทะความเย็น และมีแกนกลั่นตัวที่มีประสิทธิภาพในปริมาณที่เหมาะสม กล่าวคือ เมื่อ มวลอากาศร้อนชื้นที่ระดับผิวพื้นขึ้นสู่อากาศเบื้องบน อุณหภูมิของมวล อากาศ จะลดต่าลงจนถึงความสูงที่ระดับหนึ่ง หากอุณหภูมิที่ลดต่าลงนั้น มากพอก็จะทาให้ไอน้าในมวลอากาศอิ่มตัว
  • 10. จะเกิดขบวนการกลั่นตัวเองของไอน้าในมวลอากาศขึ้นบนแกนกลั่นตัว เกิด เป็นฝนตกลงมา ฉะนั้นสารเคมีที่ใช้จึงประกอบด้วย สูตรร้อน เพื่อใช้กระตุ้น เร่งเร้ากลไกการหมุนเวียนของบรรยากาศ สูตรเย็น ใช้เพื่อ กระตุ้นกลไกการรวมตัวของละอองเมฆ ให้โตขึ้นเป็นเม็ดฝน และสูตรที่ใช้เป็นแกนดูดซับความชื้น เพื่อใช้กระตุ้นกลไก ระบบการกลั่นตัว ให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น
  • 11. จัดทาโดย นางสาววรรณพร สุขทวี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6 เลขที่ 28