SlideShare una empresa de Scribd logo
1 de 241
ภาษาไทย   o-net ,  a-net ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
1.  ข้อใดมีคำที่เขียนผิด ๑ .  คะนอง  คะนึงหา   ๒ .  กล้วยบวชชี  แกงบวด ๓ .  กังวาน  กบฎ  ๔ .  สาปส่ง  ทะเลสาบ กบฏ
2.  ข้อใดเขียนถูกทุกคำ ๑ .  อานิสงส์  อเนกอนันต์ ๒ .  ศาลอุธรณ์  อัฒจันทร์ ๓ .  บังสุกุล  สุขคติ   ๔ .  อนุญาต  ทนทายาท อุทธรณ์ สุคติ ทนทายาด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],6 5 6 6
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],6 7 5 6
5.  คำในข้อใดมีจำนวนพยางค์ต่างจากคำอื่น 1.  ขรม  แปรก  ปริตร 2.  โลกนิติ ภูมิลำเนา  ประวัติศาสตร์ 3.  ภูมิปัญญา  โลกธาตุ  อุณหภูมิ 4.  ธาตุเจดีย์  แพทยศาสตร์  อักษรศาสตร์ 2 3,4 3 4
6.  ข้อใดมีพยัญชนะที่ ไม่ออกเสียง ทุกคำ ๑ .  มหาสมุทร  อินทผลัม ๒ .  เกษมสันต์  สามารถ ๓ .  ลักษณวดี  มิตรภาพ ๔ .  พรหมวิหาร  หฤทัย
อักษรไทย สระ  21  รูป พยัญชนะ  44  รูป วรรณยุกต์  4  รูป รวม  69
พยัญชนะต้น มี  21  เสียง ดังนี้ 1  ก  8  ด ฎ  15  ฟ ฝ 2  ค ข ฃ ฅ ฆ  9  ต ฏ  16  ม  3  ง  10  ท ฐ ฑ ฒ ถ ธ  17  ร  4  จ  11  น ณ  18  ล ฬ  5  ช  ฉ  ฌ  12  บ  19  ว  6  ซ ศ ษ ส  13  ป  20  อ  7  ย ญ  14  พ ผ ภ  21  ฮ ห
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1. ข้อใดตรงกับคำกล่าวที่ว่า “ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์และมีกฎเกณฑ์” 1.  พยัญชนะในภาษาไทยมี  44  รูป  21  เสียง 2.  พยัญชนะตัวที่สองของอักษรควบในภาษาไทยมี  3  ตัวคือ ร ล ว 3.  ภาษาไทยมีพยัญชนะ  44  รูป สระ  21 รูป วรรณยุกต์  4  รูป 4.  พยัญชนะที่ออกเสียง“สอ” ในภาษาไทยมี  3  รูปได้แก่ ศ ษ ส
2.  ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นต่างกัน ๑ .  ฐาน  ถ้ำ  แท่น  เฒ่า  ๒ .  เศร้า  ทราย  สรรค์  โซน ๓ .  ไขว้  ควาญ  แขวน  ครวญ ๔ .  โรงเรียน  ริรัก  ฤทธิ์แรง  ฤกษ์ คว , คร ท ซ ร
3. ข้อใดมีจำนวนเสียงพยัญชนะต้นมากที่สุด ( ไม่นับซ้ำ ) ๑ . นางนวลนวลน่ารัก ไม่นวลพักตร์เหมือนทรามสงวน ๒ . แก้วนี้พี่สุดนวล ดั่งนางฟ้าหน้ายองใย ๓ . นกแก้วแจ้วแจ่มเสียง จับไม้เรียงเคียงคู่สอง ๔ . เหมือนพี่นี้ประคอง รับขวัญน้องต้องมือเบา 6 7 7 9
เสียงพยัญชนะต้น มี  21  เสียง ดังนี้ 1  ก  8  ด ฎ  15  ฟ ฝ 2  ค ข ฃ ฅ ฆ  9  ต ฏ  16  ม  3  ง  10  ท ฐ ฑ ฒ ถ ธ  17  ร  4  จ  11  น ณ  18  ล ฬ  5  ช ฉ ฌ  12  บ  19  ว  6  ซ ศ ษ ส  13  ป  20  อ  7  ย ญ  14  พ ผ ภ  21  ฮ ห
เสียงพยัญชนะท้าย ( สะกด )  มี  8  เสียง คือ  1. เสียง แม่กก  มี  ก   ข ค ฆ   2. เสียง แม่กง  มี  ง 3. เสียง แม่กด มี   ด   จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ถ ต ท ธ ศ ษ ส   4. เสียง แม่กบ  มี  บ   ป พ ฟ ภ   5. เสียง แม่กน  มี  น   ณ ญ ร ล ฬ 6. เสียง แม่กม  มี  ม 7. เสียง แม่เกย  มี  ย 8. เสียง แม่เกอว  มี  ว
4.  ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายต่างกัน   ๑ .  อาถรรพณ์  มะลิวัลย์  สีสรรพ์ ๒ .  นิวัตร  อาเพศ  โจษจัน   ๓ .  วันเพ็ญ  นฤมล  ทหารเกณฑ์ ๔ .  มนุษยชาติ  ศาสนกิจ  จิตอุบาทว์ กน กด , กน กน กด
5. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด  ( ไม่นับเสียงซ้ำ ) 1.  มือไม่พายเอาเท้าราน้ำ 2.  มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก 3.  มั่งมีในใจแล่นใบบนบก 4.  บัวไม่ให้ช้ำน้ำไม่ให้ขุ่น อำ  ( อะม ) ใอ , ไอ  ( อะย ) เอา  ( อะว )
ไตรยางศ์  1. อักษรกลาง  ก จ ฏ ต ป ด ฎ อ บ   2. อักษรสูง  ข ฃ ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส   ห   3. อักษรต่ำ   ค   ฅ   ฆ   ช   ซ   ฌ   ฑ   ฒ   ท   ธ   ฟ   ภ  ย  พ   ฮ  ญ ล ณ น  ม ร ฬ ง ว ต่ำเดี่ยว   ย ญ ล ณ น ม ร ง ว ฬ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ย ญ ล ณ น  ม ร ง ว ฬ
สระ ,[object Object]
1. สระแท้ ( สระเดี่ยว )18 2. สระประสม  ( สระเลื่อน )6 อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ ทีฆสระ ( ยาว ) รัสสระ ( สั้น ) อัว เอีย เอือ อัวะ เอียะ เอือะ ทีฆสระ ( ยาว ) รัสสระ ( สั้น )
ข้อควรจำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1.  ข้อใดมีสระแท้ทุกคำ ๑ .  ทรงเป็นพระพี่นางในพ่อหลวง ๒ .  ทรงเป็นห่วงชาวไทยในทั้งผอง ๓ .  ทรงสละกายใจใฝ่แลมอง ๔ .  ทรงปกป้องทุกข์ภัยให้พวกเรา
2.  ข้อใด ไม่ มีเสียงสระเดี่ยวซ้ำกัน 1. ถึงจนทนกัดก้อน  กินเกลือ   2. อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ  พวกพ้อง 3. อดอยากเยี่ยงอย่างเสือ  สงวนศักดิ์ 4. โซก็เสาะใส่ท้อง  จับเนื้อกินเอง
3.  ข้อใดมีสระประสม 1.  ตื่นตีห้าหน้ายู่ดูหนังสือ   2.  ยังมืดตื๋ออยู่นี่หว่าฟ้าไม่ใส 3 . รีบล้างหน้าแปลงฟันด้วยทันใด 4.  เสร็จแล้วไซร้เดินหน้ายุ่งเข้ามุ้งนอน
[object Object],[object Object],[object Object],เปะน เป็น เ ชอด เชิด เก้าะ ก็ ระก พะณ รัก พรรณ
[object Object],[object Object],[object Object],มัวน มวน เชย เชอย โตะน ตน พอร พร
4. พยางค์ท้ายข้อใดมีเสียงสระตรงกับพยางค์ที่ขีดเส้นใต้   “ จรา จร  จลา จล ”   1.  ถนน  ถนอม 2.  ขนอน  โขนง   3.  ฉลอง  ฉงน   4.  สนม  สนน ออ , โอะ โอะ , ออ ออ , โอ ออ , โอะ โอะ , โอะ
การอ่านแบบอักษรนำ คือ  อักษรกลาง   ( ก  จ  ต  ป  อ )  หรือ  อักษรสูง   ( ข  ฉ  ถ  ผ  ฝ ส  ห )  นำ อักษรต่ำเดี่ยว   ( ย  ญ  ล  น  ม  ร  ง  ว )  อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกมีเสียง อะ พยางค์หลังมี ห นำตามสระที่ประสมอยู่ เช่น กนก  ( กะ - หนก ) จมูก  ( จะ - หมูก ) ตลาด  ( ตะ - หลาด ) ปรอท  ( ปะ - หรอด ) อร่อย  ( อะ - หร่อย ) ขยาย  ( ขะ - หยาย ) ไฉน  ( ฉะ - ไหน ) ผวา  ( ผะ - หวา ) ฝรั่ง  ( ฝะ - หรั่ง ) อ  นำ  ย   เช่น  อย่า  อยู่  อย่าง  อยาก ห  นำอักษรต่ำเดี่ยว   เช่น  หมู  หนอน  หรู  ฯลฯ
การอ่านอักษรควบ คือ คำที่มี  ร  ล  ว  ควบกับพยัญชนะตัวอื่น อ่าน ๑ พยางค์ มี  ๒  ชนิดคือ 1. คำควบแท้   ออกเสียงพยัญชนะประสมทั้ง ๒ ตัว  1   พยางค์ เช่น เ กร ง  กลั ว  คว าย  ขวั ญ  คว่ำ 2. คำควบ ไม่ แท้   มี  ร  ควบกับพยัญชนะตัวอื่น  แต่ไม่ออกเสียง ร  เช่น  ส ร้าง  เ ศ ร้า  ส ร้อย  ไ ซ ร้  จ ริง หรือ ทร  ควบกันจะออกเสียง  ซ    เช่น   ทรวด ทรง  ทราบ  ทราม  ทราย
1. หมอเจริญเป็นเศรษฐีใกล้ตลาดวัดไทรกล่าวความจริงแทรกตลกอยู่เสมอ ตอบ  อักษรควบแท้ …… ควบไม่แท้……  อักษรนำ……… 2. หลวงประเสริฐกวาดกรวดทรายอยู่กลางสนามหญ้าหน้าสระน้ำข้างถนนใหญ่ ตอบ  อักษรควบแท้ …… ควบไม่แท้……  อักษรนำ…… … … 3 4 5 4 3 7
3 . ข้อใดมีคำที่เป็นอักษรนำและอักษรควบเท่ากัน ๑ . จะกล่าวถึงโฉมเจ้าพลายงาม  เมื่อเป็นความชนะขุนช้าง ๒ . กองไฟสว่างดังกลางวัน   หมายสำคัญตรงมาหน้าประตู ๓ .  จึงร่ายมนตรามหาสะกด  เสื่อมหมดอาถรรพณ์ที่ฝังอยู่ ๔ .  ทั้งชายหญิงง่วงงมล้มหลับ นอนทับคว่ำหงายก่ายกันเปรอะ
4 .  ข้อใด ไม่มี คำควบไม่แท้ ๑ .  โศกเศร้าสร้อยร่ำไห้จนฟ้าสาง ๒ .  พระพี่นางสองกษัตริย์รัฐสยาม ๓ .  พระทรงงานเยี่ยมเยียนทุกเขตคาม ๔ .  สิ้นพระนามกัลยาณีศรีแผ่นดิน
คำตาย คือ  คำที่ประสมด้วย สระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น  เกะกะโต๊ะ คำที่สะกดด้วย  3  แม่ ได้แก่ แม่  กก กด กบ   เช่น รัก ชาติ เทพ คำเป็น คือ   คำที่ประสมด้วย สระเสียงยาว ไม่มีตัวสะกด เช่น  เรือ แพ มา คำที่สะกดด้วย  5  แม่ ได้แก่ แม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น  ฟัง คน ใจ ดำ กล่าว
“ บุพเพสันนิวาส” มีคำเป็น  ............  ตัว มีคำตาย  ............  ตัว ต ป ป ต ต 2 3
คำตาย คือ   คำที่ประสมด้วย สระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น  เกะ กะ โต๊ะ คำที่สะกดด้วย  3  แม่ ได้แก่ แม่  กด กก กบ   เช่น รัก ชาติ เทพ คำเป็น คือ   คำที่ประสมด้วย สระเสียงยาว ไม่มีตัวสะกด เช่น  เรือ แพ มา คำที่สะกดด้วย  5  แม่ ได้แก่ แม่กง กม กน เกย เกอว เช่น  ฟัง คน ใจ ดำ กล่าว ลหุ  (  ) ครุ  (  )
“ บุพเพสันนิวาส” มีคำเป็น  ............  ตัว มีคำตาย  ............  ตัว ต ป ป ต ต 2 3 มีคำครุ  ............  ตัว มีคำลหุ  ............  ตัว 4 1 ค ค ค ล ค
กลอนต่อไปนี้วรรคใดมีคำตายมากที่สุด 1. เบื่อฟิสิกส์เบื่อเคมีเบื่อชีวะ 2. เบื่อพละเบื่อสังคมอารมณ์เสีย 3. เบื่ออังกฤษเบื่อคณิตคิดแล้วเพลีย 4. เบื่ออย่างเนี้ยถึงได้ตกหกวิชา กลอนต่อไปนี้วรรคใดมีคำลหุมากที่สุด 1. วรรค  1,2  2. วรรค  2,3   3. วรรค  3   4. วรรค  4
1.  ข้อใดมีคำตายน้อยที่สุด ๑ .  อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ ๒ .  ประเสริฐสุดซ่อนไว้เสียในฝัก ๓ .  สงวนคมสมใจใครฮึกฮัก ๔ .  แล้วค่อยชักเชือดฟันให้บรรลัย
2 .  ข้อใดมีคำเป็นทั้งหมด ๑ .  วันพรุ่งนี้อีกไกลยังไม่เกิด  ช่างมันเถิดอย่าร้อนไปก่อนไข้ ๒ .  วันวานนั้นผ่านแล้วให้ผ่านไป  อย่าเอาใจไปข้องทั้งสองวัน ๓ .  วันนี้ทำให้ดีอย่างที่สุด   ตั้งเป็นจุดแน่วแน่อย่าแปรผัน ๔ .  มุ่งทำดีมีธรรมเป็นสำคัญ  พร้อมสร้างสรรค์งานตนเกิดผลดี
3 . ข้อใดมีคำลหุ ๑ .  แม้สูงเยี่ยมเทียมฟ้าอย่าดูถูก ๒ .  ครูเคยปลูกวิชามาแต่หลัง ๓ .  ศิษย์ไร้ครูอยู่ได้ไม่จีรัง ๔ .  อย่าโอหังลบหลู่ครูอาจารย์ ลหุ   คือคำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นไม่มีตัวสะกด เช่น เกะ กะ
การผันวรรณยุกต์   ผันได้ อักษรกลาง   -  คำเป็น  5  กา  ก่า  ก้า  ก๊า  ก๋า   -   คำตาย  4  กะ  ก้ะ  ก๊ะ  ก๋ะ อักษรสูง   -  คำเป็น  3  ขา  ข่า  ข้า    -  คำตาย  2  ขะ  ข้ะ อักษรต่ำ   -  คำเป็น  3  คา  ค่า  ค้า  -  คำตายสั้น  3  คะ  ค่ะ  ค๋ะ  -  คำตายยาว  3  คาด  ค้าด  ค๋าด   สามัญ  เอก  โท  ตรี  จัตวา เอก  โท  ตรี  จัตวา จัตวา  เอก  โท   เอก  โท   สามัญ โท  ตรี   ตรี  โท  จัตวา โท  ตรี  จัตวา
1 .  ข้อใด ไม่มี เสียงจัตวา 1.  ใครบอกว่าฉันหลง  แค่ซื่อตรงมั่นคงเสมอ 2.  ใครบอกว่าละเมอ  แค่แอบเพ้อเพราะเผลอไป 3.  ใครบอกว่าหมายปอง  แค่แอบจองผิดตรงไหน 4.  รักเธอก็ไม่ใช่  แค่ทั้งใจให้หมดเลย
2 .  ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทุกเสียง 1.  เปล่านะเปล่าทอดทิ้ง  แต่ความจริงเจอคนใหม่ 2.  เปล่านะเปล่าเปลี่ยนไป  แค่มีใจให้อีกคน 3.  เปล่านะเปล่าเบื่อเธอ  แค่อยากเจอน้อยลงไป 4.  เปล่านะเปล่าเป็นไร  แค่จิตใจไม่เหมือนเดิม
โครงสร้างของพยางค์ คือ ส่วนประกอบพยางค์อย่างน้อย  มี  3  ส่วน อย่างมาก ไม่เกิน  4  ส่วน เช่น 1.  เสียงพยัญชนะต้น  พร ล ซ น คว ซ 2.  เสียงสระ แอ เอ อะ อะ อะ อะ 3.  เสียงวรรณยุกต์ โท โท ตรี  จัตวา โท โท 4.  เสียงพยัญชนะท้าย - - บ ย ม ว โครงสร้างของพยางค์ แพร่ เล่ห์  ทรัพย์  ไหน   คว่ำ  เศร้า
ข้อสังเกต โครงสร้างของพยางค์   ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1. ข้อใดมีองค์ประกอบของพยางค์ ต่าง จากข้ออื่น 1.  เสร็จ  2.  อัศว์   3.  นิตย์   4.  หมด
2 .  คำคู่ใดมีองค์ประกอบของพยางค์เหมือนกัน 1.  ทรวดทรง  2.  เหยียดหยาม   3.  ข้างขึ้น  4.  คลุกเคล้า
พยางค์ปิด   คือ คำที่มีตัวสะกด พยางค์เปิด   คือ คำที่ไม่มีตัวสะกด
3 .  ข้อใดเป็นคำพยางค์ปิดทุกคำ ๑ .  น้ำใจ  ๒ .  อำเภอ ๓ .  เกรงกลัว  ๔ .  ยั่วเย้า
4 .  ข้อใดเป็นคำพยางค์เปิดทุกคำ ๑ .  เฝ้าไข้ ๒ .  ให้ท่า ๓ .  ชั่วช้า ๔ .  ล่ำลือ
คำไทยแท้มีข้อสังเกตดังนี้ - มีรูปวรรณยุกต์ - มี ใอ  20  คำ - ไม่มีสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา - ไม่มีการันต์ - ไม่มี รร - ไม่มี อัย เช่น วัย ภัย - เป็นคำโดดไม่เปลี่ยนรูป - มีการใช้ ศ  4  คำ ศอก สึก เศิก เศร้า
1. ข้อใดมีคำยืมจากภาษาต่างประเทศ 1. แขนเธอหักฉันรับได้เพราะใจรัก  2. ขาเธอหักฉันรับได้ไม่หมองหม่น 3. อกเธอหักฉันรับได้ไม่กังวล  4. แต่สุดทนดั้งเธอหักรักไม่ลง
2. ข้อใด ไม่มี คำยืม ๑ . อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย ๒ . แม้นเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย  เจ็บจนตายนั้นเพราะเหน็บให้เจ็บใจ ๓ . อันข้าไทได้พึ่งเขาจึงรัก แม้ถอยศักดิ์สิ้นอำนาจวาสนา ๔ . เขาหน่ายหนีไม่ได้อยู่คู่ชีวา   แต่วิชาช่วยกายจนวายปราณ
3. ข้อใดมีคำยืมมากที่สุด ๑ . ถ้าใครรักขอให้ได้คนนั้นด้วย บุญจงช่วยปฏิบัติอย่าขัดขวาง ๒ . อย่ารู้มีโรคาในสารพางค์  ทั้งรูปร่างขอให้ราวกับองค์อินทร์ ๓ . บิดรมารดาคณาญาติ ให้ผุดผาดผาสุกเป็นนิจสิน ๔ . ความระยำคำใดอย่าได้ยิน ให้สุดสิ้นสูญหายละลายเอง
4. โคลงต่อไปนี้ มีคำที่ยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤตกี่คำ “ ความรู้ผู้ปราชญ์นั้น   รักเรียน ฝนทั่งเท่าเข็มเพียร ผ่ายหน้า คนเกียจเกลียดหน่ายเวียน วนจิต กลอุทกในตะกร้า เปี่ยมล้นฤามี ”   1 .  5  คำ  2 . 6  คำ   3 .  7  คำ   4 .  8  คำ
คำซ้อน ,[object Object],[object Object],[object Object]
1.  ข้อใด ไม่ใช่ คำซ้อนประเภทเดียวกัน 1.  ใกล้ชิด  ขัดแย้ง  ใช้จ่าย    2.  ได้เสีย  ดีร้าย  ชั่วดี 3.  บาปบุญ  เปรี้ยงปร้าง  สดใส  4.  จุกจิก  คลอนแคลน ซากศพ ซ้อนความหมาย ซ้อนความตรงข้าม
จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม 2  –  3 ธรรมชาติ สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้มวลมนุษย์แต่มนุษย์เป็นผู้ทำลายจน  โลกเปลี่ยนแปลงจึงต้องตักเตือนให้ทำโลกเข้าสู่สภาพเดิมโดยเร็วไว 2. ข้อความดังกล่าวมีคำซ้อนกี่คำ 1.  2 2.  3 3.  4 4.  5 3. ข้อความนี้ไม่มีการสร้างคำชนิดใด 1.  คำซ้ำ 2.  คำประสม  3.  คำสมาส  4.  คำสนธิ สมาส ประสม ซ้ำ
4 . คำในข้อใดสามารถอ่านต่อเนื่องกันเป็นคำคู่ใหม่ ที่มีความหมายได้ทุกคำ 1 รังวัดใจดีปลีกล้วยแขกเต้า 2  แก้วตาน้ำใจหายใจดำเสีย 3 บัตรเชิญชวนชมชื่นใจรื่นรมย์ 4  รายเรียงร้อยกรองน้ำข้าวแป้งฝุ่น รังวัด วัดใจ ใจดี ดีปลี ปลีกล้วย กล้วยแขก แขกเต้า
5 . คำในข้อใดที่สลับตำแหน่งแล้วไม่เป็นคำประสม 1 อย่าใจร้อนเพราะจะร้อนใจในภายหลัง 2 แม่บ้านไปทำงานที่บ้านแม่ทุกๆ วัน 3 ฉันใจหายจนหายใจไม่ทั่วท้อง 4 เขาดีใจจนตัวลอยที่น้ำมันลอยตัว
6 .  คำซ้ำในข้อใดต่างกับข้ออื่น 1.  ผู้หญิงกับของสวยๆ งามๆ เป็นของคู่กัน 2.  งานนี้เป็นการรวมตัวของพี่ๆ น้องๆ ในวงการหนัง 3.  การจัดโต๊ะอาหารผู้จัดเลือกเอาเมนูเด่นๆดังๆ มาเสนอ 4.  หากมีความรู้งูๆ ปลาๆ ก็ไม่สามารถเข้าทำงานที่นี่ได้
7 . ข้อใดอ่านแบบคำสมาสทุกคำ 1.  อธิกมาส  อธิกวาร  อธิกสุรทิน 2.  สุขลักษณะ  สุขภาพ  สุขศาลา 3.  มูลฐาน  มูลโค  มูลนิธิ 4.  รสชาติ  รสนิยม รสวรรณคดี
8. ข้อใดมีคำสมาส  1.  คุณค่า  ราชวัง  ผลไม้  ปรกติ  2.  กาลเวลา  ดาษดื่น  รอมร่อ  ผลผลิต 3.  ภูมิลำเนา  มูลค่า  พลความ  วิตถาร  4.  นามสมญา  ศิลปกรรม  โลกาภิวัตน์  สัปดาห์ ผล ไม้  เทพ เจ้า  กล เม็ด   ทุน ทรัพย์  ทุน นิยม พล เมือง  พลเ รือน   พล ความ  คุณ ค่า   ทิว ทัศน์ ราช ดำเนิน  ราช ดำริ  ราช ดำรัส ภูมิ ลำเนา   สราญ รมย์  เคมี ภัณฑ์ ชีว เคมี   คริสต ศักราช
9 .  ข้อใดมีคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ 1.  คชยา  สุภาภรณ์  เศวตฉัตร 2.  พนานต์  นรินทร์  กมลาสน์ 3.  ราโชวาท  ศัสตราวุธ  อริราช  4.  ไชยานุภาพ  ขัตติยมานะ พลขันธ์
1 0 .  ข้อใดมีคำสมาสที่ ไม่ มีสนธิ 1. ศาสตราจารย์ ศาสนูปถัมภก  ศุลกากร  2. ปรมาณู  ปรมินทร์ ปลาสนาการ 3. มิจฉาทิฐิ  ประชากร  อาชญากรรม   4. กุศโลบาย  ทิศานุทิศ  ทรัพยากร
[object Object],[object Object],1 . คน ที่เดินมาตามถนนเลียบคลองตอนเช้า ๆ เมื่อวานนี้ 2. คน ที่เดินมาตามถนนเลียบคลองตอนเช้า ๆ เมื่อวานนี้ เป็นครู 1. ไม่สมบูรณ์ เพราะขาดภาคแสดง 2. สมบูรณ์ เพราะมีครบทั้งภาคประธานและภาคแสดง
ประโยคที่สมบูรณ์ จะต้องประกอบด้วย   1. ภาคประธาน   2. ภาคแสดง   ภาคประธาน ประกอบด้วย ประธาน   ภาคแสดง  ประกอบด้วย กริยา  กรรม  ประธาน  กริยา  กรรม เด็ก  เดิน  -  เด็ก  กิน  ขนม อกรรมกริยา สกรรมกริยา
ประโยค แบ่งออกเป็น  3  ชนิด ดังนี้ 1.   ประโยคความเดียว   ( เอกรรถประโยค )  มีใจความเดียว มีประธาน  มี กริยา หรือกรรมเพียงตัวเดียว ไม่มีสันธานเชื่อม 2.   ประโยคความรวม   ( อเนกรรถประโยค )  มีเอกรรถประโยค 2  ประโยคขึ้นไปรวมกันขึ้นไปโดยมีสันธานเชื่อม ดังนี้  3. ประโยคความซ้อน   ( สังกรประโยค )  มีประโยคหลัก ( มุขย  ประโยค ) 1  ประโยคตามด้วยประโยคย่อย  ( อนุประโยค ) กี่ประโยคก็ได้  ชนิดประโยค
สรุปคำสันธานเชื่อมเป็นประโยคความรวม ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],สรุปคำสันธานเชื่อมเป็นประโยคความซ้อน ว่า ,  ที่ ,  ซึ่ง ,  อัน ,  ผู้ ,  จน ,  ตาม ,  เมื่อ ,  เพราะ ,  ขณะที่
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4. ข้อใดเป็นประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ 1. พวกเขาขี่วนเวียนอยู่ที่นั่นมานานแล้ว  2. กองทุนหมู่บ้านให้ยืมสำหรับผู้เดือดร้อนการเงิน 3. นายกรัฐมนตรีมอบประกาศนียบัตรวันอาทิตย์นี้  4. ความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ไม่มีใครคาดคิดมาก่อน
5.  ข้อความใดเป็นประโยคไม่สมบูรณ์ 1. ถนนดินสีแดงค่อนค้างขรุขระ มีแอ่งน้ำเป็นบางตอน  สัญจรไปมาลำบาก 2. หนังสือที่จะช่วยให้เข้าใจวิทยาการเรียนรู้ของเด็กได้ มากกว่าที่เคยอ่าน 3. รถเข็นที่ทำด้วยไม้มีสองล้อจอดคอยรับจ้างขนของอยู่  ตรงปากทางเข้าตลาด 4. เขาเอาตะกร้าหวายที่ซื้อมาจากงานแสดงสินค้าขึ้นวาง บนตระแกรงท้ายรถ อยู่ในห้องสมุดนี้แล้ว
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
1 0 .  ข้อใด ไม่ ต้องการคำตอบ 1. ใครบ้างที่ไม่อยากทำงานนี้   2.  ทำไมมากันตั้งมากมายอย่างนี้นะ 3.  ทุกคนเตรียมพร้อมกันแล้วใช่ไหม   4.  เขาไม่อยากเรียนวิชานี้จริงนะ
1 1 . ข้อเป็นประโยคความเดียว 1. เขาได้รับโทษแล้ว  ธรรมชาติย่อมไม่เข้าข้างคนผิด 2. การสอบไล่เสร็จสิ้นลงแล้ว  แต่การเรียนยังไม่เสร็จ 3. อีกสองปีพวกเราจะมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้ง ผู้แทนราษฎร 4. ถ้าทุกคนไม่ร่วมมือกันสัตว์ป่าหลายชนิดจะสูญพันธุ์  ไปจากประเทศของเรา
1 2 .  ข้อใดเป็นประโยคความรวม 1.  การทำงานกับคนนั้นเหมือนง่าย  แต่ไม่ง่าย 2.  นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ร่วมกับกลุ่มคนที่เขาจะศึกษา 3.  น้องชายของผมนั่งเล่นของอย่างเพลิดเพลน 4.  ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพสินค้ากับ  เงินที่ต้องจ่ายไป
1.  ข้อใดใช้ภาษาได้เหมาะแก่บุคคล   1.  “  นักเรียน กรุณานั่งเงียบ ๆ  ”  2.   เขาจะเชิญพระ   5  รูป มาฉันเพลที่บ้าน 3.  ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตถึงแก่อนิจกรรมเสียแล้ว 4.  สมเด็จพระสังฆราชเสด็จมาประทานพระโอวาท แก่พระภิกษุใหม่เมื่อวานนี้
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
7.  ข้อใดแปลความหมาย ผิด 1.  ถุงพระบาท  หมายถึง  ถุงเท้า  2.  ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา 3.  ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง  ถุงมือ 4.  ซับพระองค์  หมายถึง  ผ้าเช็ดตัว ช้อนส้อม
อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ  8 – 9 “ เสด็จเพคะ เสด็จให้มาทูลถามเสด็จว่าเสด็จจะเสด็จหรือไม่เสด็จ ถ้าเสด็จจะเสด็จ เสด็จก็จะเสด็จถ้าเสด็จไม่เสด็จเสด็จก็ไม่เสด็จ” 8.   ข้อความนี้มีบุรุษสรรพนามที่  2  และที่  3  อย่างละกี่คำ 1. 3  คำ , 5  คำ  2. 4  คำ , 4  คำ  3. 5  คำ , 3  คำ  4. 6  คำ , 2  คำ 9. ข้อความข้างต้นนี้มีกริยาราชาศัพท์กี่คำ 1. 5  คำ   2. 6  คำ  3. 7  คำ 4. 8  คำ
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จุล =   เล็ก จุณ =  ของที่ป่นละเอียด ผลุด   =   มุดเข้าออก ผุด   =   โผล่ขึ้น ขริบ =   ตัดเล็มด้วยตะไกร ขลิบ =   เย็บหุ้มกันลุ่ย
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผลัด   =   เปลี่ยน ผัด  =   เลื่อนเวลาออกไป เรี่ยราย =   เกลื่อนกลาด เรี่ยไร =   ขอร้องให้บริจาคตามศรัทธา สูจิบัตร =   ใบรายการ สูติบัตร  =   ใบเกิด
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ทราบ อดทน คับขัน
4 . ข้อใดใช้คำถูกต้อง 1.  ฆาตกรหัวแข็งให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาทุกข้อ 2.  ครูใหญ่อุปการคุณฉันมาตลอดตั้งแต่เด็กจนจบ   การศึกษา 3.  การลดความอ้วนให้ได้ผลดีต้องไม่กินจุบจิบ ตลอดวันอย่างนี้ 4.  นักเรียนชอบซื้ออาหารร้านนี้เพราะขายถูกและ มีอัธยาศัยที่ยิ้มแย้ม ปากแข็ง อุปการะ ดี
๑ .  บางครั้งกำกวมเพราะไม่เว้นวรรคให้ถูกต้อง  เช่น ใช้ภาษากำกวม   หมายถึง การใช้ภาษาที่ตีความได้หลายประเด็นทำให้ผู้รับสารเข้าใจผิด  คือ -   แมวตัวนี้เลี้ยงไว้ไม่ได้ให้เอาไปปล่อย ทรัพย์สมบัติทั้งหมดของข้าพเจ้าขอยกให้ลูก  เขยคนอื่น ๆ ไม่ให้ -  ห้ามนักเรียนใส่กางเกงในบริเวณนี้ -  ทรัพย์สมบัติทั้งหมดของข้าพเจ้าขอยกให้ลูกเขย  คนอื่น ๆ ไม่ให้   แมวตัวนี้เลี้ยงไว้ไม่ได้  ให้เอาไปปล่อย ห้ามนักเรียนใส่กางเกง  ในบริเวณนี้
๒ .   บางครั้งใช้ภาษากำกวมเพราะใช้คำไม่ครบถ้วน  เช่น -  สถานที่ราชการห้ามเข้า สถานที่ราชการ  บุคคลอื่น ห้ามเข้า -  ยานี้กินหลังอาหารเย็น  ยานี้กินหลังอาหาร มื้อ เย็น -  ทางโค้งขับช้า ๆ อันตราย ทางโค้ง  อันตราย  โปรดขับช้า ๆ พรุ่งนี้พบกันที่นี่สี่โมงนะ ที่นี่ห้ามจอด - ขอลองเสื้อในตู้โชว์หน่อยได้ไหมคะ - ที่นี่ห้ามจอดรถตลอดวัน ปีนี้มะม่วงขายดี -  ปีนี้มะม่วงขายดิบขายดี ขอลองเสื้อที่อยู่ในตู้โชว์หน่อยได้ไหมคะ พรุ่งนี้พบกันที่นี่บ่ายสี่โมงนะ
5.  ข้อใดมีความหมายมากกว่า ๑ ประเด็น ก .  ฉันไม่ชอบคนที่พูดมาก  ข .  คนที่ฉันชอบพูดไม่มาก ค .  คนที่ฉันชอบไม่มากพูด  ง .  คนที่พูดมากฉันไม่ชอบ
6. ข้อใดที่มีความหมายเพียงอย่างเดียว ก .  คนเลวหมดแล้ว    ข .  น้ำเย็นหมดแล้ว  ค .  มันต้มหมดแล้ว    ง .  กาแฟร้อนหมดแล้ว
7.  ข้อใดใช้ภาษา ไม่ กำกวม ก .  ใครตามหมอมา   ข .  ฉันบอกแม่ว่าน้ำกำลังจะแห้ง ค .  วันนี้เขาลางานเพราะตาเจ็บ   ง .  เขายกตัวอย่างมากจนน่ารำคาญ
ตัวอย่างการเรียงคำ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
8.  ประโยคใดเรียงลำดับคำได้เหมาะสมที่สุด ๑ .  วันนี้อาจารย์บรรยายวิชาต่าง ๆ ให้ฟัง ๒ .   ฝนตกหนักจนทางข้างหน้ามองไม่เห็น ๓ .  เขาไม่ทราบสิ่งที่ถูกต้องว่าเป็นอย่างไร ๔ .   มีทุนให้นักศึกษาตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่ยากจน
๑ .  เธอเป็นเด็กกำพร้าพ่อแม่ตายหมดแล้ว  เธอเป็นเด็กกำพร้าพ่อแม่ ๒ .  เยาวชนจะบรรลุนิติภาวะเป็นผู้ใหญ่เมื่ออายุ ๒๐ ปี    เยาวชนจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ ๒๐ ปี ๓ .  ตลอดปีนี้บริษัทของเรามีกำไรไม่ขาดทุนเลย    ปีนี้บริษัทของเรามีกำไร ตัวอย่างข้อความที่ใช้คำฟุ่มเฟือยและข้อความที่แก้ไข
๔ .  โปรดกรุณาเข้าคิวตามลำดับ    กรุณาเข้าคิว ๕ .  ผ่าศพคนตายพิสูจน์สถาบันนิติเวช    ผ่าศพพิสูจน์ที่สถาบันนิติเวช ๖ .  อันที่จริงเรื่องที่เล่าให้ฟังนี้เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นจริง    เรื่องที่เล่าให้ฟังนี้เป็นเรื่องจริง ๗ .  ทางเดินขึ้นภูเขาขรุขระไม่เรียบทำให้เดินลำบาก    ทางเดินขึ้นภูเขาขรุขระเดินลำบาก
9.  ประโยคใดใช้คำได้กระชับ ๑ .   โปรดกรุณาเข้าคิวตามลำดับ ๒ .   หนุ่มสาวสมัยนี้ก้าวหน้าเร็วมาก ๓ .   ผ่าศพคนตายพิสูจน์สถาบันนิติเวช ๔ .   เห็นภาษาไทยพัฒนาไปในทางที่ดีแล้วชื่นใจ
10. ข้อใดใช้ภาษากะทัดรัดชัดเจน ๑ .  เขาได้รับความพอใจในการที่ได้รับเลือกเป็นประธาน ๒ .  อาจารย์ทำการสอนหนังสืออย่างเอาใจใส่และมีความสุข ๓ .  วันนี้นับเป็นวันพิเศษเพราะน้องใหม่มาประชุมครบทุกคน ๔ .  เขาจัดประชุมขึ้นเพื่อกระชับความสัมพันธไมตรีอันดี ระหว่างเยาวชน
11. ข้อใดใช้บุพบทได้ถูกต้อง ก .  ผมพร้อมที่จะเผชิญต่อเหตุการณ์ทุกรูปแบบ ข .  นโยบายข้อนี้เป็นอุปสรรคต่อการหาตลาดอุตสาหกรรมสิ่งทอ ค .  วีรกรรมของทหารหาญเหล่านี้สมควรต่อการยกย่อง ง .  เขาลาออกจากงานเพราะขัดแย้งต่อผู้บังคับบัญชา กับ แก่ กับ
1 2 . ข้อใดใช้คำบุพบทได้ถูกต้อง   1.  ประเทศที่เกี่ยวข้องระหว่างกรณีพิพาทนี้มีหลายประเทศ 2.  แผนงานที่เสนอขึ้นมานี้สอดคล้องแก่เจตนาของคณะกรรมการ 3.  ผลิตภัณฑ์เหล่านี้เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นฝีมือจากผู้ต้องขัง ในเรือนจำทั่วประเทศ 4.  เด็กคนนี้ไม่เพียงแต่พูดจาก้าวร้าว ยังแสดงกริยาไม่เหมาะสม แม้กระทั่งครู
การใช้คำสำนวนภาษาต่างประเทศ มีลักษณะดังต่อไปนี้
1. มีคำว่า  “ มัน ”  ขึ้นประโยคลอย ๆ เช่น -  มัน เป็นอะไรที่น่ารักที่สุด -  มัน ง่ายเกินไปที่เธอจะได้เขา -  มัน เป็นการสมควรที่เธอจะไปโกรกผม 2. มักมีประธานถูกกระทำ เช่น -  สุนทรภู่ ถูกยกย่อง ว่าเป็นกวีเอก -  เขา ถูกตำหนิ โดยพ่อ แม่ -  เขา ถูกคุณครูชม ว่าเรียนเก่ง
3.  ขยายอยู่หน้าคำหลัก  เช่น -  สามกลุ่ม นักเลงก่อการวิวาท -  ความรวดเร็ว ของการทำงานมีมาก -  การขยายตัว ของเมืองเป็นไปอย่างรวดเร็ว
4 .   ใช้คำฟุ่มเฟือย เยิ่นเย้อ เลียนแบบการเขียนในภาษาต่างประเทศ  มักมีคำว่า มี , ใน , ให้ , ทำ  +  การและความ  เช่น เรา มีความ จำเป็นต้องไปเดี๋ยวนี้  5.  มักขึ้นต้นด้วยคำบุพบท  เช่น -   ต่อ ข้อซักถามของผู้สื่อข่าว  ... -   ในความคิด ของผม คุณคือคนที่  เหมาะสมที่สุด
๑ .  ฉัน ใช้ชีวิต ที่เชียงใหม่นานมากทีเดียว    ฉันอยู่ที่เชียงใหม่เป็นเวลานาน ๒ .  มี หกโรค ร้ายที่คุกคามชีวิตของทารกนับล้านในแต่ละปี    มีโรคร้ายหกโรคที่ ... ๓ .  สำหรับ ผมแล้ว เรื่องนี้ง่าย แก่การ เข้าใจ      เรื่องนี้ผมเข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างการใช้สำนวนที่ไม่ถูกความหมายและข้อความที่แก้ไข
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
13.  ข้อใดเป็นสำนวนภาษาไทยที่ถูกต้องเหมาะสม ก .  เขาถูกเพื่อนฝูงตราหน้า ว่าเป็นคนทรยศ ข .  ขอได้รับความขอบคุณด้วยใจจริงจากพวกเรา ค .  หล่อนเดินเข้ามาพร้อมกับรอยยิ้มแห่งความสุข ง .  ปัจจุบันประเทศไทยสั่งเข้าไม้สักจากประเทศพม่า
14.  ข้อใด ไม่ใช่ สำนวนต่างประเทศ ก .  ผมเต็มใจให้ความช่วยเหลือเต็มที่ ข .  ผลงานของคุณเป็นที่น่าพอใจมาก ค .  ฉันเสียใจอย่างยิ่งที่ทราบข่าวอุบัติเหตุครั้งนี้ ง .  มันเป็นการยากที่คนเราจะเห็นข้อบกพร่อง ของตนเอง
1 5 .  ข้อใด ไม่ใช่ โครงสร้างประโยคแบบภาษาต่างประเทศ 1 .  เรื่องนี้ง่ายต่อการเข้าใจ 2 . งานเขียนของเขาเป็นที่สนใจของคนหมู่มาก 3 .  แม่มีลูกถึง  7  คน จึงต้องรู้จักวิธีบริหารเงิน 4 . ทุกสิ่งทุกอย่างจบลงด้วยความตายของตัวเอก
1 . ข้อใดเป็นสำนวนที่สร้างจากความเชื่อของคนไทย 1. วันโกนไม่ละ  วันพระไม่เว้น  2. ซื่อควายหน้านา  ซื่อผ้าหน้าหนาว 3. ตักน้ำใส่กะโหลก  ชะโงกดูเงา  4. น้ำร้อนปลาเป็น  น้ำเย็นปลาตาย
2 . ข้อความในข้อไม่เกี่ยวกับการเลือกคู่และการครองเรือน 1. กิ่งทองใบหยก  เรือล่มในหนองทองจะไปไหน 2. ปลูกเรือนคร่อมตอ  ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร 3. เด็ดดอกไม้ร่วมต้น  ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่  สอยดอกฟ้า 4. หนูตกถังข้าวสาร  ทองแผ่นเดียวกัน  คลุมถุงชน
3 .  ข้อใดไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน 1.  ฝนตกขี้หมูไหล   2.  ปิ้งปลาประชดแมว 3.  ผีบ้านไม่ดี  ผีป่าก็พลอย   4.  มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว
4 . ข้อใดไม่แสดงเหตุผล 1. หมูไปไก่มา  2. วัวหายล้อมคอก  3. หนามยอกเอาหนามบ่ง  4. มือถือสากปากถือศีล
5 . ข้อใดไม่เกี่ยวกับการรับสาร   1.  ฟังหูไว้หู   2.  เปิดหูเปิดตา  3.  ดูตาม้าตาเรือ 4.  ฟังความข้างเดียว
6 .  ข้อใดใช้สำนวนพังเพยได้ถูกต้อง 1.  พอลืมตาอ้าปากได้  ทุกคนก็รู้สึกหิวข้าวทันที 2.  คนสมัยนี้ชอบกินข้าวแดงแกงร้อนเพราะเป็นอาหาร สุขภาพ  3. หลังเลิกเรียนแม่จะเตรียมข้าวใหม่ปลามันไว้ให้ลูกกิน 4.  การลงทุนต้องดูจังหวะ เมื่อโอกาสดีน้ำขึ้นให้รีบตัก จะได้กำไรงาม
7 .  ข้อใดใช้สำนวนคำพังเพยไม่ถูกต้อง   1.  อย่าทำงานอย่างแก้ผ้าเอาหน้ารอด 2.  เขาทำตัวเหมือนงูเห่าที่เนรคุณคนที่เคยช่วยเหลือ 3.  พวกหมาเห่าใบตองแห้งพอเจอของจริงก็หนีหมด 4.  นักเรียนมีหนังสือดีแต่ไม่ยอมอ่าน  ก็เหมือนไก่ได้พลอย
[object Object],[object Object],[object Object],ภาษาและเหตุผล
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],เหตุผล สรุป เหตุผล สรุป
   การอนุมาน ( สรุป ) การหาข้อสรุปจากเหตุผลที่มีอยู่   1. วิธีนิรนัย   คือ การแสดงเหตุผลจากส่วนรวมไปหา ส่วนย่อย ,[object Object],[object Object],2. วิธีอุปนัย   คือ การแสดงเหตุผลจากส่วนย่อยไปหา ส่วนรวม เช่น “ สมหญิงชอบทานก๋วยเตี๋ยวมาก เมื่อนักเรียน  ทั้งห้องไปทานแล้วก็น่าจะชอบด้วย ”   วิธีนี้ไม่แน่นอนเสมอไป
   การพิจารณาหาสาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน   1. การอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ์  เช่น รถติด จึง มาสาย 2. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาสาเหตุ  เช่น มาสาย เพราะ รถติด 3. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาผลลัพธ์  -  เขาถูกครูตำหนิเพราะขี้เกียจคงถูกตัดคะแนน เช่น  -  เขาสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนดี เขาน่าจะสอบวิชาฟิสิกส์ได้คะแนนดีด้วย ผล เหตุ ผล
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
4. คำขวัญข้อใดแสดงเหตุผล 1.  ลูกมากจะยากจน 2.  เด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า 3.  น้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทำ 4.  เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ
5.   ข้อใด ไม่มี การแสดงเหตุผล 1. ญาติก็ญาติเถอะ พูดกันถึงขนาดนี้ก็ต้องโต้ตอบกันบ้าง 2. ก็ทำกันอย่างนี้แหละ เรื่องถึงได้บานปลายออกไปกันใหญ่ 3. ใจหนึ่งก็อยาก ใจหนึ่งก็ไม่ ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะทำยังไงดี 4. เหนื่อยก็เหนื่อย เพลียก็เพลีย แล้วยังต้องอยู่เวรตอน กลางคืนอีก
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จึง เพราะ จึง จึง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],จึง จึง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ผล เหตุ ผล
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],14.  ข้อสรุปของข้อความนี้คืออะไร ก .  ชาวนาไทยมีที่ดินน้อย   ข .  การใช้วัวควายทำนาเหมาะกับงาน ค .  การใช้วัวควายประหยัดกว่าการจ้างรถไถนา ง .  การใช้วัวควายทำให้งานแล้วเสร็จได้ในเวลาไม่นาน 1 5 .  ข้อความนี้แสดงเหตุผลหรือไม่อย่างไร ก . แสดงเหตุผล  1  ตอน   ข .  แสดงเหตุผล  4  ตอน ค .  ไม่แสดงเหตุผล แต่เป็นการบอก ข้อเท็จจริง ง .  ไม่แสดงเหตุผล เพราะข้อสนับสนุนน้ำหนักไม่พอ
การแสดงทรรศนะ   ทรรศนะ  คือ ความคิดเห็น ที่ประกอบด้วยเหตุผล 1.  โครงสร้างของการแสดงทรรศนะมี  3  อย่างคือ 1)  ที่มา 2)  สนับสนุน 3)  ข้อสรุป
3.  ทรรศนะแบ่งเป็น  3  ประเภท ดังนี้ 1)  ทรรศนะเกี่ยวกับข้อเท็จจริง 2)  ทรรศนะเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยม 3)  ทรรศนะเกี่ยวกับนโยบาย
4.  วิธีใช้ภาษาในการแสดงทรรศนะ 1) ใช้บุรุษสรรพนามที่  1  เช่น ฉันคิดว่า  ผมเห็นว่า  ข้าพเจ้าเข้าใจว่า 2)  ใช้คำ หรือ กลุ่มคำ  เช่น น่าจะ ควรจะ คงจะ อาจจะมักจะ
1.  ข้อใด  ไม่  แสดงทรรศนะ  ก .  ครูเป็นปูชนียบุคคล   ข .  มุมตกเท่ากับมุมสะท้อน ค .  ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร  ง .  กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้
2.  ข้อใดแสดงทรรศนะเกี่ยวกับค่านิยม ก .  วิถีทางเดียวที่โลกจะเพิ่มพูนความสุขคือการแบ่งปันความสุข  ข .  การสอบแข่งขันเข้ามหาวิทยาลัย เป็นทางหนึ่งที่ทำให้เด็กเกิด  ความเครียด ค .  กรุงเทพมหานครควรหาวิธีกำจัดขยะให้ถูกวิธี ปัญหามลพิษจะได้ หมดไป ง .  การป้องกันมิให้เกิดอุบัติภัยบนท้องถนนคือ ทุกคนปฏิบัติตามกฎ จราจร ข้อเท็จจริง นโยบาย ข้อเท็จจริง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
มหาวิทยาลัยเป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง ในบรรดาปัจจัยทั้งหลายของความเจริญหากปัจจัยอื่น ไม่พร้อมที่จะให้มหาวิทยาลัยเข้าไปช่วยสนับสนุน การมีมหาวิยาลัยก็จะเป็นสิ่งที่มีราคาแพงเกินไปสำหรับประเทศยากจนอย่างประเทศไทย  4. ข้อความนี้ เป็นสารแสดงความคิดเห็นแบบใด ก .  วินิจฉัย  ข .  สันนิษฐาน  ค .  ประเมินค่า  ง .  เสนอแนะ 5.  ข้อความนี้เป็นสารประเภทใด ก .  การอธิบาย  ข .  การแสดงทรรศนะ  ค .  การโน้มน้าวจิตใจ  ง .  การแสดงข้อเท็จจริง 6.  ข้อความที่ขีดเส้นใต้คือสิ่งใด ก .  ข้อสรุป ข .  ข้อวินิจฉัย  ค .  ข้อสนับสนุน  ง .  ข้อตัดสินใจ
การโต้แย้ง   คือการแสดงทรรศนะที่แตกต่างกัน ระหว่างบุคคล   2   ฝ่าย   โดยแต่ละฝ่ายพยายามอ้างข้อมูล   สถิติ   หลักฐาน   เหตุผลต่าง ๆ มาสนับสนุนทรรศนะ ของตน   และคัดค้านทรรศนะของอีกฝ่ายหนึ่ง   ถ้าทั้ง   2  ฝ่าย ใส่อารมณ์โกรธเพียงเพื่อจะเอาชนะกันโดยไม่ย่อมรับทรรศนะของแต่ละฝ่ายถือว่าเป็น การโต้เถียง การโต้แย้ง
ประกอบด้วย 1. ข้อสรุป 2.  เหตุผล โครงสร้างของการโต้แย้ง
1.  ตั้งประเด็นในการโต้แย้ง   มี   3  ประเภท 1)  เกี่ยวกับข้อเสนอเพื่อให้การเปลี่ยนแปลง   สภาพเดิม 2)  เกี่ยวกับข้อเท็จจริง 3)  เกี่ยวกับคุณค่า กระบวนการโต้แย้งมี   4  ขั้น   ดังนี้
2.  นิยามคำสำคัญที่อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง 3.  ค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน 4.  ชี้ให้เห็นจุดอ่อนของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม   มี   3  ประการดังนี้ 1)  ชี้จุดอ่อนของการนิยาม 2)  ชี้จุดอ่อนในด้านปริมาณความถูกต้องของข้อมูล 3)  ชี้จุดอ่อนของสมมุติฐานและวิธีการอนุมาน
ข้อควรระวังในการโต้แย้ง   คือ 1.  ควรหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ 2.  ควรมีมารยาทในการใช้ภาษาวัจนภาษา   และอวัจนภาษา 3.  ควรเลือกประเด็นที่มีแนวทางสร้างสรรค์
7. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมในการโต้แย้ง ก .  ผมไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอนั้นเพราะไม่ตรงกับข้อเท็จจริง ข .  ข้อเสนอดังกล่าวนั้น ผมเองมีความคิดเห็นที่แตกต่างไปบ้าง ค .  ผมขอให้นำข้อเสนอนี้กลับไปคิดใหม่เพื่อให้ชัดเจนมากกว่านี้ ง .  ข้อเสนอที่ว่านั้นใช้ไม่ได้เลยเพราะไม่ได้ตั้งอยู่ในเหตุและผล
จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ  8 1)  หมู่บ้านนี้มีผู้อาศัยเกือบหนึ่งพันครอบครัว  2)  แต่ไม่มีสถานที่ที่ชาวบ้านจะพักผ่อนหย่อนใจได้เลย 3)  บริเวณนี้เป็นที่ว่างแห่งเดียวที่เหลืออยู่  4)  การสร้างอาคารพาณิชย์ในบริเวณนี้จึงเป็นการกระทำที่ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมแม้แต่น้อย 8.  ในข้อความนี้ประเด็นในการโต้แย้งคืออะไร ก .  ควรสร้างอาคารพาณิชย์ในหมู่บ้านหรือไม่ ข .  ควรสงวนที่ว่างที่มีอยู่ไว้สำหรับชาวบ้านหรือไม่ ค .  สถานที่พักผ่อนหย่อนใจไม่จำเป็นสำหรับชาวบ้านหรือไม่ ง .  ควรจัดหาบริเวณที่ว่างให้มากขึ้นสำหรับชาวบ้านหรือไม่
จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ  9 อุดมการณ์ของอุดมศึกษาคือการสอน การวิจัย การบริหารสังคมและ การทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมดังที่กล่าวไว้แต่มหาวิทยาลัยก็ควรคำนึงถึงการปลูกฝังคุณธรรมให้แก่ นักศึกษาด้วย หาไม่แล้วมหาวิทยาลัยย่อมมีค่าเป็นเพียงโรงงานผลิตเครื่องมือให้แก่สังคมหรือเป็นโรงฝึกอบรมนักวิชาชีพชั้นสูงเท่านั้นมิใช่แหล่งสร้างคนดีที่มีความเก่ง 9.  ข้อใดเป็นประเด็นของการโต้แย้ง ก .  ควรแก้ไขเพิ่มเติมอุดมการณ์ของการศึกษาหรือไม่ ข .  มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งสร้างคนดีที่มีความเก่งจริงหรือ ค .  คุณธรรมเป็นสิ่งจำเป็นในการเรียนระดับอุดมศึกษาหรือไม่ ง .  มหาวิทยาลัยควรหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรงงานผลิตเครื่องมือ  ให้แก่สังคมหรือไม่
การโน้มน้าวใจ การโน้มน้าวใจ   คือการใช้ความพยายามที่จะ เปลี่ยนความเชื่อ ทัศนิคติ ค่านิยม และการกระทำ ของบุคคลอื่น ด้วยกลวิธีที่เหมาะสมให้มีผลกระทบ ใจบุคคลนั้นจนเกิดการยอมรับและยอมเปลี่ยนตาม ที่ผู้โน้มน้าวใจต้องการ
กลวิธีการโน้มน้าวใจมี   6   วิธี คือ 1.   แสดงให้ประจักษ์ถึงความน่าเชื่อถือของบุคคล   ผู้โน้มน้าวใจคือต้องมี ความรู้จริง คุณธรรม และ      ปรารถนาดีต่อผู้อื่น 2. เเสดงให้ประจักษ์ตามกระบวนการของเหตุผล    คือมี   เหตุผล   และ   ข้อสรุป
3.  แสดงให้ประจักษ์ถึงความรู้สึกหรืออารมณ์ ร่วมกัน 4.  แสดงให้เห็นหรรษาแก่ผู้รับสาร 5.  ชี้ให้เห็น ทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย 6.  เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างเเรงกล้า
การพิจารณาสารโน้มน้าวใจในลักษณะต่างๆ  ซึ่งพบในโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ 2.  โฆษณาสินค้าหรือโฆษณาบริการ   มักมีลักษณะดังนี้ 1.  คำเชิญชวน มักมีจุดประสงค์เด่นชัด ชี้ให้เห็น ประโยชน์และวิธีปฏิบัติ
1)  มีส่วนนำที่สะดุดหู สะดุดตา ใช้ถ้อยคำที่ แปลกใหม่ 2)  ถ้อยคำหรือ�
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat
Korat

Más contenido relacionado

La actualidad más candente

เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1Yaovaree Nornakhum
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์krurutsamee
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ Rodchana Pattha
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมkrookay2012
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Arocha Chaichana
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 

La actualidad más candente (20)

57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
บทที่ 5 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม1
 
อนุพันธ์
อนุพันธ์อนุพันธ์
อนุพันธ์
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ คำสมาส สนธิ
คำสมาส สนธิ
 
ฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรมฮิสโทแกรม
ฮิสโทแกรม
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบการหาค่ากลางทั้ง3แบบ
การหาค่ากลางทั้ง3แบบ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 

Destacado

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 

Destacado (13)

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
Full page fax print
Full page fax printFull page fax print
Full page fax print
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
สังเกตบาลีสันสกฤต [โหมดความเข้ากันได้]
 
กลอนแปด
กลอนแปดกลอนแปด
กลอนแปด
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 

Similar a Korat

ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย Kun Cool Look Natt
 
Kam
KamKam
Kamsa
 

Similar a Korat (20)

ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
Intro computer
Intro  computerIntro  computer
Intro computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
๑. ลักษณะคำประพันธ์[1]
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
กวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O netกวดวิชาภาษาไทย O net
กวดวิชาภาษาไทย O net
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย สรุปย่อ หลักภาษาไทย
สรุปย่อ หลักภาษาไทย
 
Kam
KamKam
Kam
 
Thai
ThaiThai
Thai
 

Más de ทิพวรรณ พิทักษ์ (6)

Govern
GovernGovern
Govern
 
Very nbsp
Very nbspVery nbsp
Very nbsp
 
Very nbsp
Very nbspVery nbsp
Very nbsp
 
Love.ppt
Love.pptLove.ppt
Love.ppt
 
Love.ppt
Love.pptLove.ppt
Love.ppt
 
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐานเวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
เวกเตอร์และสเกลาร์ พื้นฐาน
 

Korat

  • 1.
  • 2.
  • 3. 1. ข้อใดมีคำที่เขียนผิด ๑ . คะนอง คะนึงหา ๒ . กล้วยบวชชี แกงบวด ๓ . กังวาน กบฎ ๔ . สาปส่ง ทะเลสาบ กบฏ
  • 4. 2. ข้อใดเขียนถูกทุกคำ ๑ . อานิสงส์ อเนกอนันต์ ๒ . ศาลอุธรณ์ อัฒจันทร์ ๓ . บังสุกุล สุขคติ ๔ . อนุญาต ทนทายาท อุทธรณ์ สุคติ ทนทายาด
  • 5.
  • 6.
  • 7. 5. คำในข้อใดมีจำนวนพยางค์ต่างจากคำอื่น 1. ขรม แปรก ปริตร 2. โลกนิติ ภูมิลำเนา ประวัติศาสตร์ 3. ภูมิปัญญา โลกธาตุ อุณหภูมิ 4. ธาตุเจดีย์ แพทยศาสตร์ อักษรศาสตร์ 2 3,4 3 4
  • 8. 6. ข้อใดมีพยัญชนะที่ ไม่ออกเสียง ทุกคำ ๑ . มหาสมุทร อินทผลัม ๒ . เกษมสันต์ สามารถ ๓ . ลักษณวดี มิตรภาพ ๔ . พรหมวิหาร หฤทัย
  • 9. อักษรไทย สระ 21 รูป พยัญชนะ 44 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป รวม 69
  • 10. พยัญชนะต้น มี 21 เสียง ดังนี้ 1 ก 8 ด ฎ 15 ฟ ฝ 2 ค ข ฃ ฅ ฆ 9 ต ฏ 16 ม 3 ง 10 ท ฐ ฑ ฒ ถ ธ 17 ร 4 จ 11 น ณ 18 ล ฬ 5 ช ฉ ฌ 12 บ 19 ว 6 ซ ศ ษ ส 13 ป 20 อ 7 ย ญ 14 พ ผ ภ 21 ฮ ห
  • 11.
  • 12. 1. ข้อใดตรงกับคำกล่าวที่ว่า “ภาษาเป็นระบบสัญลักษณ์และมีกฎเกณฑ์” 1. พยัญชนะในภาษาไทยมี 44 รูป 21 เสียง 2. พยัญชนะตัวที่สองของอักษรควบในภาษาไทยมี 3 ตัวคือ ร ล ว 3. ภาษาไทยมีพยัญชนะ 44 รูป สระ 21 รูป วรรณยุกต์ 4 รูป 4. พยัญชนะที่ออกเสียง“สอ” ในภาษาไทยมี 3 รูปได้แก่ ศ ษ ส
  • 13. 2. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะต้นต่างกัน ๑ . ฐาน ถ้ำ แท่น เฒ่า ๒ . เศร้า ทราย สรรค์ โซน ๓ . ไขว้ ควาญ แขวน ครวญ ๔ . โรงเรียน ริรัก ฤทธิ์แรง ฤกษ์ คว , คร ท ซ ร
  • 14. 3. ข้อใดมีจำนวนเสียงพยัญชนะต้นมากที่สุด ( ไม่นับซ้ำ ) ๑ . นางนวลนวลน่ารัก ไม่นวลพักตร์เหมือนทรามสงวน ๒ . แก้วนี้พี่สุดนวล ดั่งนางฟ้าหน้ายองใย ๓ . นกแก้วแจ้วแจ่มเสียง จับไม้เรียงเคียงคู่สอง ๔ . เหมือนพี่นี้ประคอง รับขวัญน้องต้องมือเบา 6 7 7 9
  • 15. เสียงพยัญชนะต้น มี 21 เสียง ดังนี้ 1 ก 8 ด ฎ 15 ฟ ฝ 2 ค ข ฃ ฅ ฆ 9 ต ฏ 16 ม 3 ง 10 ท ฐ ฑ ฒ ถ ธ 17 ร 4 จ 11 น ณ 18 ล ฬ 5 ช ฉ ฌ 12 บ 19 ว 6 ซ ศ ษ ส 13 ป 20 อ 7 ย ญ 14 พ ผ ภ 21 ฮ ห
  • 16. เสียงพยัญชนะท้าย ( สะกด ) มี 8 เสียง คือ 1. เสียง แม่กก มี ก ข ค ฆ 2. เสียง แม่กง มี ง 3. เสียง แม่กด มี ด จ ช ซ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ถ ต ท ธ ศ ษ ส 4. เสียง แม่กบ มี บ ป พ ฟ ภ 5. เสียง แม่กน มี น ณ ญ ร ล ฬ 6. เสียง แม่กม มี ม 7. เสียง แม่เกย มี ย 8. เสียง แม่เกอว มี ว
  • 17. 4. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายต่างกัน ๑ . อาถรรพณ์ มะลิวัลย์ สีสรรพ์ ๒ . นิวัตร อาเพศ โจษจัน ๓ . วันเพ็ญ นฤมล ทหารเกณฑ์ ๔ . มนุษยชาติ ศาสนกิจ จิตอุบาทว์ กน กด , กน กน กด
  • 18. 5. ข้อใดมีเสียงพยัญชนะท้ายมากที่สุด ( ไม่นับเสียงซ้ำ ) 1. มือไม่พายเอาเท้าราน้ำ 2. มะกอกสามตะกร้าปาไม่ถูก 3. มั่งมีในใจแล่นใบบนบก 4. บัวไม่ให้ช้ำน้ำไม่ให้ขุ่น อำ ( อะม ) ใอ , ไอ ( อะย ) เอา ( อะว )
  • 19. ไตรยางศ์ 1. อักษรกลาง ก จ ฏ ต ป ด ฎ อ บ 2. อักษรสูง ข ฃ ฉ ถ ฐ ผ ฝ ศ ษ ส ห 3. อักษรต่ำ ค ฅ ฆ ช ซ ฌ ฑ ฒ ท ธ ฟ ภ ย พ ฮ ญ ล ณ น ม ร ฬ ง ว ต่ำเดี่ยว ย ญ ล ณ น ม ร ง ว ฬ
  • 20.
  • 21.
  • 22. 1. สระแท้ ( สระเดี่ยว )18 2. สระประสม ( สระเลื่อน )6 อา อี อือ อู เอ แอ โอ ออ เออ อะ อิ อึ อุ เอะ แอะ โอะ เอาะ เออะ ทีฆสระ ( ยาว ) รัสสระ ( สั้น ) อัว เอีย เอือ อัวะ เอียะ เอือะ ทีฆสระ ( ยาว ) รัสสระ ( สั้น )
  • 23.
  • 24. 1. ข้อใดมีสระแท้ทุกคำ ๑ . ทรงเป็นพระพี่นางในพ่อหลวง ๒ . ทรงเป็นห่วงชาวไทยในทั้งผอง ๓ . ทรงสละกายใจใฝ่แลมอง ๔ . ทรงปกป้องทุกข์ภัยให้พวกเรา
  • 25. 2. ข้อใด ไม่ มีเสียงสระเดี่ยวซ้ำกัน 1. ถึงจนทนกัดก้อน กินเกลือ 2. อย่าเที่ยวแล่เนื้อเถือ พวกพ้อง 3. อดอยากเยี่ยงอย่างเสือ สงวนศักดิ์ 4. โซก็เสาะใส่ท้อง จับเนื้อกินเอง
  • 26. 3. ข้อใดมีสระประสม 1. ตื่นตีห้าหน้ายู่ดูหนังสือ 2. ยังมืดตื๋ออยู่นี่หว่าฟ้าไม่ใส 3 . รีบล้างหน้าแปลงฟันด้วยทันใด 4. เสร็จแล้วไซร้เดินหน้ายุ่งเข้ามุ้งนอน
  • 27.
  • 28.
  • 29. 4. พยางค์ท้ายข้อใดมีเสียงสระตรงกับพยางค์ที่ขีดเส้นใต้ “ จรา จร จลา จล ” 1. ถนน ถนอม 2. ขนอน โขนง 3. ฉลอง ฉงน 4. สนม สนน ออ , โอะ โอะ , ออ ออ , โอ ออ , โอะ โอะ , โอะ
  • 30. การอ่านแบบอักษรนำ คือ อักษรกลาง ( ก จ ต ป อ ) หรือ อักษรสูง ( ข ฉ ถ ผ ฝ ส ห ) นำ อักษรต่ำเดี่ยว ( ย ญ ล น ม ร ง ว ) อ่านออกเสียง ๒ พยางค์ พยางค์แรกมีเสียง อะ พยางค์หลังมี ห นำตามสระที่ประสมอยู่ เช่น กนก ( กะ - หนก ) จมูก ( จะ - หมูก ) ตลาด ( ตะ - หลาด ) ปรอท ( ปะ - หรอด ) อร่อย ( อะ - หร่อย ) ขยาย ( ขะ - หยาย ) ไฉน ( ฉะ - ไหน ) ผวา ( ผะ - หวา ) ฝรั่ง ( ฝะ - หรั่ง ) อ นำ ย เช่น อย่า อยู่ อย่าง อยาก ห นำอักษรต่ำเดี่ยว เช่น หมู หนอน หรู ฯลฯ
  • 31. การอ่านอักษรควบ คือ คำที่มี ร ล ว ควบกับพยัญชนะตัวอื่น อ่าน ๑ พยางค์ มี ๒ ชนิดคือ 1. คำควบแท้ ออกเสียงพยัญชนะประสมทั้ง ๒ ตัว 1 พยางค์ เช่น เ กร ง กลั ว คว าย ขวั ญ คว่ำ 2. คำควบ ไม่ แท้ มี ร ควบกับพยัญชนะตัวอื่น แต่ไม่ออกเสียง ร เช่น ส ร้าง เ ศ ร้า ส ร้อย ไ ซ ร้ จ ริง หรือ ทร ควบกันจะออกเสียง ซ เช่น ทรวด ทรง ทราบ ทราม ทราย
  • 32. 1. หมอเจริญเป็นเศรษฐีใกล้ตลาดวัดไทรกล่าวความจริงแทรกตลกอยู่เสมอ ตอบ อักษรควบแท้ …… ควบไม่แท้…… อักษรนำ……… 2. หลวงประเสริฐกวาดกรวดทรายอยู่กลางสนามหญ้าหน้าสระน้ำข้างถนนใหญ่ ตอบ อักษรควบแท้ …… ควบไม่แท้…… อักษรนำ…… … … 3 4 5 4 3 7
  • 33. 3 . ข้อใดมีคำที่เป็นอักษรนำและอักษรควบเท่ากัน ๑ . จะกล่าวถึงโฉมเจ้าพลายงาม เมื่อเป็นความชนะขุนช้าง ๒ . กองไฟสว่างดังกลางวัน หมายสำคัญตรงมาหน้าประตู ๓ . จึงร่ายมนตรามหาสะกด เสื่อมหมดอาถรรพณ์ที่ฝังอยู่ ๔ . ทั้งชายหญิงง่วงงมล้มหลับ นอนทับคว่ำหงายก่ายกันเปรอะ
  • 34. 4 . ข้อใด ไม่มี คำควบไม่แท้ ๑ . โศกเศร้าสร้อยร่ำไห้จนฟ้าสาง ๒ . พระพี่นางสองกษัตริย์รัฐสยาม ๓ . พระทรงงานเยี่ยมเยียนทุกเขตคาม ๔ . สิ้นพระนามกัลยาณีศรีแผ่นดิน
  • 35. คำตาย คือ คำที่ประสมด้วย สระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น เกะกะโต๊ะ คำที่สะกดด้วย 3 แม่ ได้แก่ แม่ กก กด กบ เช่น รัก ชาติ เทพ คำเป็น คือ คำที่ประสมด้วย สระเสียงยาว ไม่มีตัวสะกด เช่น เรือ แพ มา คำที่สะกดด้วย 5 แม่ ได้แก่ แม่ กง กน กม เกย เกอว เช่น ฟัง คน ใจ ดำ กล่าว
  • 36. “ บุพเพสันนิวาส” มีคำเป็น ............ ตัว มีคำตาย ............ ตัว ต ป ป ต ต 2 3
  • 37. คำตาย คือ คำที่ประสมด้วย สระเสียงสั้น ไม่มีตัวสะกด เช่น เกะ กะ โต๊ะ คำที่สะกดด้วย 3 แม่ ได้แก่ แม่ กด กก กบ เช่น รัก ชาติ เทพ คำเป็น คือ คำที่ประสมด้วย สระเสียงยาว ไม่มีตัวสะกด เช่น เรือ แพ มา คำที่สะกดด้วย 5 แม่ ได้แก่ แม่กง กม กน เกย เกอว เช่น ฟัง คน ใจ ดำ กล่าว ลหุ ( ) ครุ ( )
  • 38. “ บุพเพสันนิวาส” มีคำเป็น ............ ตัว มีคำตาย ............ ตัว ต ป ป ต ต 2 3 มีคำครุ ............ ตัว มีคำลหุ ............ ตัว 4 1 ค ค ค ล ค
  • 39. กลอนต่อไปนี้วรรคใดมีคำตายมากที่สุด 1. เบื่อฟิสิกส์เบื่อเคมีเบื่อชีวะ 2. เบื่อพละเบื่อสังคมอารมณ์เสีย 3. เบื่ออังกฤษเบื่อคณิตคิดแล้วเพลีย 4. เบื่ออย่างเนี้ยถึงได้ตกหกวิชา กลอนต่อไปนี้วรรคใดมีคำลหุมากที่สุด 1. วรรค 1,2 2. วรรค 2,3 3. วรรค 3 4. วรรค 4
  • 40. 1. ข้อใดมีคำตายน้อยที่สุด ๑ . อันความคิดวิทยาเหมือนอาวุธ ๒ . ประเสริฐสุดซ่อนไว้เสียในฝัก ๓ . สงวนคมสมใจใครฮึกฮัก ๔ . แล้วค่อยชักเชือดฟันให้บรรลัย
  • 41. 2 . ข้อใดมีคำเป็นทั้งหมด ๑ . วันพรุ่งนี้อีกไกลยังไม่เกิด ช่างมันเถิดอย่าร้อนไปก่อนไข้ ๒ . วันวานนั้นผ่านแล้วให้ผ่านไป อย่าเอาใจไปข้องทั้งสองวัน ๓ . วันนี้ทำให้ดีอย่างที่สุด ตั้งเป็นจุดแน่วแน่อย่าแปรผัน ๔ . มุ่งทำดีมีธรรมเป็นสำคัญ พร้อมสร้างสรรค์งานตนเกิดผลดี
  • 42. 3 . ข้อใดมีคำลหุ ๑ . แม้สูงเยี่ยมเทียมฟ้าอย่าดูถูก ๒ . ครูเคยปลูกวิชามาแต่หลัง ๓ . ศิษย์ไร้ครูอยู่ได้ไม่จีรัง ๔ . อย่าโอหังลบหลู่ครูอาจารย์ ลหุ คือคำที่ประสมด้วยสระเสียงสั้นไม่มีตัวสะกด เช่น เกะ กะ
  • 43. การผันวรรณยุกต์ ผันได้ อักษรกลาง - คำเป็น 5 กา ก่า ก้า ก๊า ก๋า - คำตาย 4 กะ ก้ะ ก๊ะ ก๋ะ อักษรสูง - คำเป็น 3 ขา ข่า ข้า - คำตาย 2 ขะ ข้ะ อักษรต่ำ - คำเป็น 3 คา ค่า ค้า - คำตายสั้น 3 คะ ค่ะ ค๋ะ - คำตายยาว 3 คาด ค้าด ค๋าด สามัญ เอก โท ตรี จัตวา เอก โท ตรี จัตวา จัตวา เอก โท เอก โท สามัญ โท ตรี ตรี โท จัตวา โท ตรี จัตวา
  • 44. 1 . ข้อใด ไม่มี เสียงจัตวา 1. ใครบอกว่าฉันหลง แค่ซื่อตรงมั่นคงเสมอ 2. ใครบอกว่าละเมอ แค่แอบเพ้อเพราะเผลอไป 3. ใครบอกว่าหมายปอง แค่แอบจองผิดตรงไหน 4. รักเธอก็ไม่ใช่ แค่ทั้งใจให้หมดเลย
  • 45. 2 . ข้อใดมีเสียงวรรณยุกต์ครบทุกเสียง 1. เปล่านะเปล่าทอดทิ้ง แต่ความจริงเจอคนใหม่ 2. เปล่านะเปล่าเปลี่ยนไป แค่มีใจให้อีกคน 3. เปล่านะเปล่าเบื่อเธอ แค่อยากเจอน้อยลงไป 4. เปล่านะเปล่าเป็นไร แค่จิตใจไม่เหมือนเดิม
  • 46. โครงสร้างของพยางค์ คือ ส่วนประกอบพยางค์อย่างน้อย มี 3 ส่วน อย่างมาก ไม่เกิน 4 ส่วน เช่น 1. เสียงพยัญชนะต้น พร ล ซ น คว ซ 2. เสียงสระ แอ เอ อะ อะ อะ อะ 3. เสียงวรรณยุกต์ โท โท ตรี จัตวา โท โท 4. เสียงพยัญชนะท้าย - - บ ย ม ว โครงสร้างของพยางค์ แพร่ เล่ห์ ทรัพย์ ไหน คว่ำ เศร้า
  • 47.
  • 48. 1. ข้อใดมีองค์ประกอบของพยางค์ ต่าง จากข้ออื่น 1. เสร็จ 2. อัศว์ 3. นิตย์ 4. หมด
  • 49. 2 . คำคู่ใดมีองค์ประกอบของพยางค์เหมือนกัน 1. ทรวดทรง 2. เหยียดหยาม 3. ข้างขึ้น 4. คลุกเคล้า
  • 50. พยางค์ปิด คือ คำที่มีตัวสะกด พยางค์เปิด คือ คำที่ไม่มีตัวสะกด
  • 51. 3 . ข้อใดเป็นคำพยางค์ปิดทุกคำ ๑ . น้ำใจ ๒ . อำเภอ ๓ . เกรงกลัว ๔ . ยั่วเย้า
  • 52. 4 . ข้อใดเป็นคำพยางค์เปิดทุกคำ ๑ . เฝ้าไข้ ๒ . ให้ท่า ๓ . ชั่วช้า ๔ . ล่ำลือ
  • 53. คำไทยแท้มีข้อสังเกตดังนี้ - มีรูปวรรณยุกต์ - มี ใอ 20 คำ - ไม่มีสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา - ไม่มีการันต์ - ไม่มี รร - ไม่มี อัย เช่น วัย ภัย - เป็นคำโดดไม่เปลี่ยนรูป - มีการใช้ ศ 4 คำ ศอก สึก เศิก เศร้า
  • 54. 1. ข้อใดมีคำยืมจากภาษาต่างประเทศ 1. แขนเธอหักฉันรับได้เพราะใจรัก 2. ขาเธอหักฉันรับได้ไม่หมองหม่น 3. อกเธอหักฉันรับได้ไม่กังวล 4. แต่สุดทนดั้งเธอหักรักไม่ลง
  • 55. 2. ข้อใด ไม่มี คำยืม ๑ . อันอ้อยตาลหวานลิ้นแล้วสิ้นซาก แต่ลมปากหวานหูไม่รู้หาย ๒ . แม้นเจ็บอื่นหมื่นแสนจะแคลนคลาย เจ็บจนตายนั้นเพราะเหน็บให้เจ็บใจ ๓ . อันข้าไทได้พึ่งเขาจึงรัก แม้ถอยศักดิ์สิ้นอำนาจวาสนา ๔ . เขาหน่ายหนีไม่ได้อยู่คู่ชีวา แต่วิชาช่วยกายจนวายปราณ
  • 56. 3. ข้อใดมีคำยืมมากที่สุด ๑ . ถ้าใครรักขอให้ได้คนนั้นด้วย บุญจงช่วยปฏิบัติอย่าขัดขวาง ๒ . อย่ารู้มีโรคาในสารพางค์ ทั้งรูปร่างขอให้ราวกับองค์อินทร์ ๓ . บิดรมารดาคณาญาติ ให้ผุดผาดผาสุกเป็นนิจสิน ๔ . ความระยำคำใดอย่าได้ยิน ให้สุดสิ้นสูญหายละลายเอง
  • 57. 4. โคลงต่อไปนี้ มีคำที่ยืมมาจากภาษาบาลีสันสกฤตกี่คำ “ ความรู้ผู้ปราชญ์นั้น รักเรียน ฝนทั่งเท่าเข็มเพียร ผ่ายหน้า คนเกียจเกลียดหน่ายเวียน วนจิต กลอุทกในตะกร้า เปี่ยมล้นฤามี ” 1 . 5 คำ 2 . 6 คำ 3 . 7 คำ 4 . 8 คำ
  • 58.
  • 59. 1. ข้อใด ไม่ใช่ คำซ้อนประเภทเดียวกัน 1. ใกล้ชิด ขัดแย้ง ใช้จ่าย 2. ได้เสีย ดีร้าย ชั่วดี 3. บาปบุญ เปรี้ยงปร้าง สดใส 4. จุกจิก คลอนแคลน ซากศพ ซ้อนความหมาย ซ้อนความตรงข้าม
  • 60. จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถาม 2 – 3 ธรรมชาติ สร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้มวลมนุษย์แต่มนุษย์เป็นผู้ทำลายจน โลกเปลี่ยนแปลงจึงต้องตักเตือนให้ทำโลกเข้าสู่สภาพเดิมโดยเร็วไว 2. ข้อความดังกล่าวมีคำซ้อนกี่คำ 1. 2 2. 3 3. 4 4. 5 3. ข้อความนี้ไม่มีการสร้างคำชนิดใด 1. คำซ้ำ 2. คำประสม 3. คำสมาส 4. คำสนธิ สมาส ประสม ซ้ำ
  • 61. 4 . คำในข้อใดสามารถอ่านต่อเนื่องกันเป็นคำคู่ใหม่ ที่มีความหมายได้ทุกคำ 1 รังวัดใจดีปลีกล้วยแขกเต้า 2 แก้วตาน้ำใจหายใจดำเสีย 3 บัตรเชิญชวนชมชื่นใจรื่นรมย์ 4 รายเรียงร้อยกรองน้ำข้าวแป้งฝุ่น รังวัด วัดใจ ใจดี ดีปลี ปลีกล้วย กล้วยแขก แขกเต้า
  • 62. 5 . คำในข้อใดที่สลับตำแหน่งแล้วไม่เป็นคำประสม 1 อย่าใจร้อนเพราะจะร้อนใจในภายหลัง 2 แม่บ้านไปทำงานที่บ้านแม่ทุกๆ วัน 3 ฉันใจหายจนหายใจไม่ทั่วท้อง 4 เขาดีใจจนตัวลอยที่น้ำมันลอยตัว
  • 63. 6 . คำซ้ำในข้อใดต่างกับข้ออื่น 1. ผู้หญิงกับของสวยๆ งามๆ เป็นของคู่กัน 2. งานนี้เป็นการรวมตัวของพี่ๆ น้องๆ ในวงการหนัง 3. การจัดโต๊ะอาหารผู้จัดเลือกเอาเมนูเด่นๆดังๆ มาเสนอ 4. หากมีความรู้งูๆ ปลาๆ ก็ไม่สามารถเข้าทำงานที่นี่ได้
  • 64. 7 . ข้อใดอ่านแบบคำสมาสทุกคำ 1. อธิกมาส อธิกวาร อธิกสุรทิน 2. สุขลักษณะ สุขภาพ สุขศาลา 3. มูลฐาน มูลโค มูลนิธิ 4. รสชาติ รสนิยม รสวรรณคดี
  • 65. 8. ข้อใดมีคำสมาส 1. คุณค่า ราชวัง ผลไม้ ปรกติ 2. กาลเวลา ดาษดื่น รอมร่อ ผลผลิต 3. ภูมิลำเนา มูลค่า พลความ วิตถาร 4. นามสมญา ศิลปกรรม โลกาภิวัตน์ สัปดาห์ ผล ไม้ เทพ เจ้า กล เม็ด ทุน ทรัพย์ ทุน นิยม พล เมือง พลเ รือน พล ความ คุณ ค่า ทิว ทัศน์ ราช ดำเนิน ราช ดำริ ราช ดำรัส ภูมิ ลำเนา สราญ รมย์ เคมี ภัณฑ์ ชีว เคมี คริสต ศักราช
  • 66. 9 . ข้อใดมีคำสมาสที่มีสนธิทุกคำ 1. คชยา สุภาภรณ์ เศวตฉัตร 2. พนานต์ นรินทร์ กมลาสน์ 3. ราโชวาท ศัสตราวุธ อริราช 4. ไชยานุภาพ ขัตติยมานะ พลขันธ์
  • 67. 1 0 . ข้อใดมีคำสมาสที่ ไม่ มีสนธิ 1. ศาสตราจารย์ ศาสนูปถัมภก ศุลกากร 2. ปรมาณู ปรมินทร์ ปลาสนาการ 3. มิจฉาทิฐิ ประชากร อาชญากรรม 4. กุศโลบาย ทิศานุทิศ ทรัพยากร
  • 68.
  • 69. ประโยคที่สมบูรณ์ จะต้องประกอบด้วย 1. ภาคประธาน 2. ภาคแสดง ภาคประธาน ประกอบด้วย ประธาน ภาคแสดง ประกอบด้วย กริยา กรรม ประธาน กริยา กรรม เด็ก เดิน - เด็ก กิน ขนม อกรรมกริยา สกรรมกริยา
  • 70. ประโยค แบ่งออกเป็น 3 ชนิด ดังนี้ 1. ประโยคความเดียว ( เอกรรถประโยค ) มีใจความเดียว มีประธาน มี กริยา หรือกรรมเพียงตัวเดียว ไม่มีสันธานเชื่อม 2. ประโยคความรวม ( อเนกรรถประโยค ) มีเอกรรถประโยค 2 ประโยคขึ้นไปรวมกันขึ้นไปโดยมีสันธานเชื่อม ดังนี้ 3. ประโยคความซ้อน ( สังกรประโยค ) มีประโยคหลัก ( มุขย ประโยค ) 1 ประโยคตามด้วยประโยคย่อย ( อนุประโยค ) กี่ประโยคก็ได้ ชนิดประโยค
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75. 4. ข้อใดเป็นประโยคที่มีความหมายสมบูรณ์ 1. พวกเขาขี่วนเวียนอยู่ที่นั่นมานานแล้ว 2. กองทุนหมู่บ้านให้ยืมสำหรับผู้เดือดร้อนการเงิน 3. นายกรัฐมนตรีมอบประกาศนียบัตรวันอาทิตย์นี้ 4. ความรุนแรงที่เกิดขึ้นเมื่อวานนี้ไม่มีใครคาดคิดมาก่อน
  • 76. 5. ข้อความใดเป็นประโยคไม่สมบูรณ์ 1. ถนนดินสีแดงค่อนค้างขรุขระ มีแอ่งน้ำเป็นบางตอน สัญจรไปมาลำบาก 2. หนังสือที่จะช่วยให้เข้าใจวิทยาการเรียนรู้ของเด็กได้ มากกว่าที่เคยอ่าน 3. รถเข็นที่ทำด้วยไม้มีสองล้อจอดคอยรับจ้างขนของอยู่ ตรงปากทางเข้าตลาด 4. เขาเอาตะกร้าหวายที่ซื้อมาจากงานแสดงสินค้าขึ้นวาง บนตระแกรงท้ายรถ อยู่ในห้องสมุดนี้แล้ว
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81. 1 0 . ข้อใด ไม่ ต้องการคำตอบ 1. ใครบ้างที่ไม่อยากทำงานนี้ 2. ทำไมมากันตั้งมากมายอย่างนี้นะ 3. ทุกคนเตรียมพร้อมกันแล้วใช่ไหม 4. เขาไม่อยากเรียนวิชานี้จริงนะ
  • 82. 1 1 . ข้อเป็นประโยคความเดียว 1. เขาได้รับโทษแล้ว ธรรมชาติย่อมไม่เข้าข้างคนผิด 2. การสอบไล่เสร็จสิ้นลงแล้ว แต่การเรียนยังไม่เสร็จ 3. อีกสองปีพวกเราจะมีสิทธิ์ในการออกเสียงเลือกตั้ง ผู้แทนราษฎร 4. ถ้าทุกคนไม่ร่วมมือกันสัตว์ป่าหลายชนิดจะสูญพันธุ์ ไปจากประเทศของเรา
  • 83. 1 2 . ข้อใดเป็นประโยคความรวม 1. การทำงานกับคนนั้นเหมือนง่าย แต่ไม่ง่าย 2. นักวิจัยต้องเข้าไปอยู่ร่วมกับกลุ่มคนที่เขาจะศึกษา 3. น้องชายของผมนั่งเล่นของอย่างเพลิดเพลน 4. ผู้บริโภคจะเปรียบเทียบระหว่างคุณภาพสินค้ากับ เงินที่ต้องจ่ายไป
  • 84. 1. ข้อใดใช้ภาษาได้เหมาะแก่บุคคล 1. “ นักเรียน กรุณานั่งเงียบ ๆ ” 2. เขาจะเชิญพระ 5 รูป มาฉันเพลที่บ้าน 3. ประธานาธิบดีสหภาพโซเวียตถึงแก่อนิจกรรมเสียแล้ว 4. สมเด็จพระสังฆราชเสด็จมาประทานพระโอวาท แก่พระภิกษุใหม่เมื่อวานนี้
  • 85.
  • 86.
  • 87.
  • 88.
  • 89.
  • 90. 7. ข้อใดแปลความหมาย ผิด 1. ถุงพระบาท หมายถึง ถุงเท้า 2. ฉลองพระเนตร หมายถึง แว่นตา 3. ฉลองพระหัตถ์ หมายถึง ถุงมือ 4. ซับพระองค์ หมายถึง ผ้าเช็ดตัว ช้อนส้อม
  • 91. อ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 8 – 9 “ เสด็จเพคะ เสด็จให้มาทูลถามเสด็จว่าเสด็จจะเสด็จหรือไม่เสด็จ ถ้าเสด็จจะเสด็จ เสด็จก็จะเสด็จถ้าเสด็จไม่เสด็จเสด็จก็ไม่เสด็จ” 8. ข้อความนี้มีบุรุษสรรพนามที่ 2 และที่ 3 อย่างละกี่คำ 1. 3 คำ , 5 คำ 2. 4 คำ , 4 คำ 3. 5 คำ , 3 คำ 4. 6 คำ , 2 คำ 9. ข้อความข้างต้นนี้มีกริยาราชาศัพท์กี่คำ 1. 5 คำ 2. 6 คำ 3. 7 คำ 4. 8 คำ
  • 92.
  • 93.
  • 94.
  • 95. 4 . ข้อใดใช้คำถูกต้อง 1. ฆาตกรหัวแข็งให้การปฏิเสธข้อกล่าวหาทุกข้อ 2. ครูใหญ่อุปการคุณฉันมาตลอดตั้งแต่เด็กจนจบ การศึกษา 3. การลดความอ้วนให้ได้ผลดีต้องไม่กินจุบจิบ ตลอดวันอย่างนี้ 4. นักเรียนชอบซื้ออาหารร้านนี้เพราะขายถูกและ มีอัธยาศัยที่ยิ้มแย้ม ปากแข็ง อุปการะ ดี
  • 96. ๑ . บางครั้งกำกวมเพราะไม่เว้นวรรคให้ถูกต้อง เช่น ใช้ภาษากำกวม หมายถึง การใช้ภาษาที่ตีความได้หลายประเด็นทำให้ผู้รับสารเข้าใจผิด คือ - แมวตัวนี้เลี้ยงไว้ไม่ได้ให้เอาไปปล่อย ทรัพย์สมบัติทั้งหมดของข้าพเจ้าขอยกให้ลูก เขยคนอื่น ๆ ไม่ให้ - ห้ามนักเรียนใส่กางเกงในบริเวณนี้ - ทรัพย์สมบัติทั้งหมดของข้าพเจ้าขอยกให้ลูกเขย คนอื่น ๆ ไม่ให้ แมวตัวนี้เลี้ยงไว้ไม่ได้ ให้เอาไปปล่อย ห้ามนักเรียนใส่กางเกง ในบริเวณนี้
  • 97. ๒ . บางครั้งใช้ภาษากำกวมเพราะใช้คำไม่ครบถ้วน เช่น - สถานที่ราชการห้ามเข้า สถานที่ราชการ บุคคลอื่น ห้ามเข้า - ยานี้กินหลังอาหารเย็น ยานี้กินหลังอาหาร มื้อ เย็น - ทางโค้งขับช้า ๆ อันตราย ทางโค้ง อันตราย โปรดขับช้า ๆ พรุ่งนี้พบกันที่นี่สี่โมงนะ ที่นี่ห้ามจอด - ขอลองเสื้อในตู้โชว์หน่อยได้ไหมคะ - ที่นี่ห้ามจอดรถตลอดวัน ปีนี้มะม่วงขายดี - ปีนี้มะม่วงขายดิบขายดี ขอลองเสื้อที่อยู่ในตู้โชว์หน่อยได้ไหมคะ พรุ่งนี้พบกันที่นี่บ่ายสี่โมงนะ
  • 98. 5. ข้อใดมีความหมายมากกว่า ๑ ประเด็น ก . ฉันไม่ชอบคนที่พูดมาก ข . คนที่ฉันชอบพูดไม่มาก ค . คนที่ฉันชอบไม่มากพูด ง . คนที่พูดมากฉันไม่ชอบ
  • 99. 6. ข้อใดที่มีความหมายเพียงอย่างเดียว ก . คนเลวหมดแล้ว ข . น้ำเย็นหมดแล้ว ค . มันต้มหมดแล้ว ง . กาแฟร้อนหมดแล้ว
  • 100. 7. ข้อใดใช้ภาษา ไม่ กำกวม ก . ใครตามหมอมา ข . ฉันบอกแม่ว่าน้ำกำลังจะแห้ง ค . วันนี้เขาลางานเพราะตาเจ็บ ง . เขายกตัวอย่างมากจนน่ารำคาญ
  • 101.
  • 102. 8. ประโยคใดเรียงลำดับคำได้เหมาะสมที่สุด ๑ . วันนี้อาจารย์บรรยายวิชาต่าง ๆ ให้ฟัง ๒ . ฝนตกหนักจนทางข้างหน้ามองไม่เห็น ๓ . เขาไม่ทราบสิ่งที่ถูกต้องว่าเป็นอย่างไร ๔ . มีทุนให้นักศึกษาตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ ที่ยากจน
  • 103. ๑ . เธอเป็นเด็กกำพร้าพ่อแม่ตายหมดแล้ว  เธอเป็นเด็กกำพร้าพ่อแม่ ๒ . เยาวชนจะบรรลุนิติภาวะเป็นผู้ใหญ่เมื่ออายุ ๒๐ ปี  เยาวชนจะบรรลุนิติภาวะเมื่ออายุ ๒๐ ปี ๓ . ตลอดปีนี้บริษัทของเรามีกำไรไม่ขาดทุนเลย  ปีนี้บริษัทของเรามีกำไร ตัวอย่างข้อความที่ใช้คำฟุ่มเฟือยและข้อความที่แก้ไข
  • 104. ๔ . โปรดกรุณาเข้าคิวตามลำดับ  กรุณาเข้าคิว ๕ . ผ่าศพคนตายพิสูจน์สถาบันนิติเวช  ผ่าศพพิสูจน์ที่สถาบันนิติเวช ๖ . อันที่จริงเรื่องที่เล่าให้ฟังนี้เป็นเรื่องจริงที่เกิดขึ้นจริง  เรื่องที่เล่าให้ฟังนี้เป็นเรื่องจริง ๗ . ทางเดินขึ้นภูเขาขรุขระไม่เรียบทำให้เดินลำบาก  ทางเดินขึ้นภูเขาขรุขระเดินลำบาก
  • 105. 9. ประโยคใดใช้คำได้กระชับ ๑ . โปรดกรุณาเข้าคิวตามลำดับ ๒ . หนุ่มสาวสมัยนี้ก้าวหน้าเร็วมาก ๓ . ผ่าศพคนตายพิสูจน์สถาบันนิติเวช ๔ . เห็นภาษาไทยพัฒนาไปในทางที่ดีแล้วชื่นใจ
  • 106. 10. ข้อใดใช้ภาษากะทัดรัดชัดเจน ๑ . เขาได้รับความพอใจในการที่ได้รับเลือกเป็นประธาน ๒ . อาจารย์ทำการสอนหนังสืออย่างเอาใจใส่และมีความสุข ๓ . วันนี้นับเป็นวันพิเศษเพราะน้องใหม่มาประชุมครบทุกคน ๔ . เขาจัดประชุมขึ้นเพื่อกระชับความสัมพันธไมตรีอันดี ระหว่างเยาวชน
  • 107. 11. ข้อใดใช้บุพบทได้ถูกต้อง ก . ผมพร้อมที่จะเผชิญต่อเหตุการณ์ทุกรูปแบบ ข . นโยบายข้อนี้เป็นอุปสรรคต่อการหาตลาดอุตสาหกรรมสิ่งทอ ค . วีรกรรมของทหารหาญเหล่านี้สมควรต่อการยกย่อง ง . เขาลาออกจากงานเพราะขัดแย้งต่อผู้บังคับบัญชา กับ แก่ กับ
  • 108. 1 2 . ข้อใดใช้คำบุพบทได้ถูกต้อง 1. ประเทศที่เกี่ยวข้องระหว่างกรณีพิพาทนี้มีหลายประเทศ 2. แผนงานที่เสนอขึ้นมานี้สอดคล้องแก่เจตนาของคณะกรรมการ 3. ผลิตภัณฑ์เหล่านี้เป็นที่รู้จักกันว่าเป็นฝีมือจากผู้ต้องขัง ในเรือนจำทั่วประเทศ 4. เด็กคนนี้ไม่เพียงแต่พูดจาก้าวร้าว ยังแสดงกริยาไม่เหมาะสม แม้กระทั่งครู
  • 110. 1. มีคำว่า “ มัน ” ขึ้นประโยคลอย ๆ เช่น - มัน เป็นอะไรที่น่ารักที่สุด - มัน ง่ายเกินไปที่เธอจะได้เขา - มัน เป็นการสมควรที่เธอจะไปโกรกผม 2. มักมีประธานถูกกระทำ เช่น - สุนทรภู่ ถูกยกย่อง ว่าเป็นกวีเอก - เขา ถูกตำหนิ โดยพ่อ แม่ - เขา ถูกคุณครูชม ว่าเรียนเก่ง
  • 111. 3. ขยายอยู่หน้าคำหลัก เช่น - สามกลุ่ม นักเลงก่อการวิวาท - ความรวดเร็ว ของการทำงานมีมาก - การขยายตัว ของเมืองเป็นไปอย่างรวดเร็ว
  • 112. 4 . ใช้คำฟุ่มเฟือย เยิ่นเย้อ เลียนแบบการเขียนในภาษาต่างประเทศ มักมีคำว่า มี , ใน , ให้ , ทำ + การและความ เช่น เรา มีความ จำเป็นต้องไปเดี๋ยวนี้ 5. มักขึ้นต้นด้วยคำบุพบท เช่น - ต่อ ข้อซักถามของผู้สื่อข่าว ... - ในความคิด ของผม คุณคือคนที่ เหมาะสมที่สุด
  • 113. ๑ . ฉัน ใช้ชีวิต ที่เชียงใหม่นานมากทีเดียว  ฉันอยู่ที่เชียงใหม่เป็นเวลานาน ๒ . มี หกโรค ร้ายที่คุกคามชีวิตของทารกนับล้านในแต่ละปี  มีโรคร้ายหกโรคที่ ... ๓ . สำหรับ ผมแล้ว เรื่องนี้ง่าย แก่การ เข้าใจ  เรื่องนี้ผมเข้าใจได้ง่าย ตัวอย่างการใช้สำนวนที่ไม่ถูกความหมายและข้อความที่แก้ไข
  • 114.
  • 115.
  • 116. 13. ข้อใดเป็นสำนวนภาษาไทยที่ถูกต้องเหมาะสม ก . เขาถูกเพื่อนฝูงตราหน้า ว่าเป็นคนทรยศ ข . ขอได้รับความขอบคุณด้วยใจจริงจากพวกเรา ค . หล่อนเดินเข้ามาพร้อมกับรอยยิ้มแห่งความสุข ง . ปัจจุบันประเทศไทยสั่งเข้าไม้สักจากประเทศพม่า
  • 117. 14. ข้อใด ไม่ใช่ สำนวนต่างประเทศ ก . ผมเต็มใจให้ความช่วยเหลือเต็มที่ ข . ผลงานของคุณเป็นที่น่าพอใจมาก ค . ฉันเสียใจอย่างยิ่งที่ทราบข่าวอุบัติเหตุครั้งนี้ ง . มันเป็นการยากที่คนเราจะเห็นข้อบกพร่อง ของตนเอง
  • 118. 1 5 . ข้อใด ไม่ใช่ โครงสร้างประโยคแบบภาษาต่างประเทศ 1 . เรื่องนี้ง่ายต่อการเข้าใจ 2 . งานเขียนของเขาเป็นที่สนใจของคนหมู่มาก 3 . แม่มีลูกถึง 7 คน จึงต้องรู้จักวิธีบริหารเงิน 4 . ทุกสิ่งทุกอย่างจบลงด้วยความตายของตัวเอก
  • 119. 1 . ข้อใดเป็นสำนวนที่สร้างจากความเชื่อของคนไทย 1. วันโกนไม่ละ วันพระไม่เว้น 2. ซื่อควายหน้านา ซื่อผ้าหน้าหนาว 3. ตักน้ำใส่กะโหลก ชะโงกดูเงา 4. น้ำร้อนปลาเป็น น้ำเย็นปลาตาย
  • 120. 2 . ข้อความในข้อไม่เกี่ยวกับการเลือกคู่และการครองเรือน 1. กิ่งทองใบหยก เรือล่มในหนองทองจะไปไหน 2. ปลูกเรือนคร่อมตอ ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร 3. เด็ดดอกไม้ร่วมต้น ปลูกเรือนตามใจผู้อยู่ สอยดอกฟ้า 4. หนูตกถังข้าวสาร ทองแผ่นเดียวกัน คลุมถุงชน
  • 121. 3 . ข้อใดไม่เป็นเหตุเป็นผลกัน 1. ฝนตกขี้หมูไหล 2. ปิ้งปลาประชดแมว 3. ผีบ้านไม่ดี ผีป่าก็พลอย 4. มีทองเท่าหนวดกุ้ง นอนสะดุ้งจนเรือนไหว
  • 122. 4 . ข้อใดไม่แสดงเหตุผล 1. หมูไปไก่มา 2. วัวหายล้อมคอก 3. หนามยอกเอาหนามบ่ง 4. มือถือสากปากถือศีล
  • 123. 5 . ข้อใดไม่เกี่ยวกับการรับสาร 1. ฟังหูไว้หู 2. เปิดหูเปิดตา 3. ดูตาม้าตาเรือ 4. ฟังความข้างเดียว
  • 124. 6 . ข้อใดใช้สำนวนพังเพยได้ถูกต้อง 1. พอลืมตาอ้าปากได้ ทุกคนก็รู้สึกหิวข้าวทันที 2. คนสมัยนี้ชอบกินข้าวแดงแกงร้อนเพราะเป็นอาหาร สุขภาพ 3. หลังเลิกเรียนแม่จะเตรียมข้าวใหม่ปลามันไว้ให้ลูกกิน 4. การลงทุนต้องดูจังหวะ เมื่อโอกาสดีน้ำขึ้นให้รีบตัก จะได้กำไรงาม
  • 125. 7 . ข้อใดใช้สำนวนคำพังเพยไม่ถูกต้อง 1. อย่าทำงานอย่างแก้ผ้าเอาหน้ารอด 2. เขาทำตัวเหมือนงูเห่าที่เนรคุณคนที่เคยช่วยเหลือ 3. พวกหมาเห่าใบตองแห้งพอเจอของจริงก็หนีหมด 4. นักเรียนมีหนังสือดีแต่ไม่ยอมอ่าน ก็เหมือนไก่ได้พลอย
  • 126.
  • 127.
  • 128.
  • 129. การพิจารณาหาสาเหตุและผลลัพธ์ที่สัมพันธ์กัน 1. การอนุมานจากสาเหตุไปหาผลลัพธ์ เช่น รถติด จึง มาสาย 2. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาสาเหตุ เช่น มาสาย เพราะ รถติด 3. การอนุมานจากผลลัพธ์ไปหาผลลัพธ์ - เขาถูกครูตำหนิเพราะขี้เกียจคงถูกตัดคะแนน เช่น - เขาสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนดี เขาน่าจะสอบวิชาฟิสิกส์ได้คะแนนดีด้วย ผล เหตุ ผล
  • 130.
  • 131.
  • 132.
  • 133. 4. คำขวัญข้อใดแสดงเหตุผล 1. ลูกมากจะยากจน 2. เด็กวันนี้คือผู้ใหญ่ในวันหน้า 3. น้ำไหล ไฟสว่าง ทางดี มีงานทำ 4. เด็กดีเป็นศรีแก่ชาติ
  • 134. 5. ข้อใด ไม่มี การแสดงเหตุผล 1. ญาติก็ญาติเถอะ พูดกันถึงขนาดนี้ก็ต้องโต้ตอบกันบ้าง 2. ก็ทำกันอย่างนี้แหละ เรื่องถึงได้บานปลายออกไปกันใหญ่ 3. ใจหนึ่งก็อยาก ใจหนึ่งก็ไม่ ตัดสินใจไม่ถูกว่าจะทำยังไงดี 4. เหนื่อยก็เหนื่อย เพลียก็เพลีย แล้วยังต้องอยู่เวรตอน กลางคืนอีก
  • 135.
  • 136.
  • 137.
  • 138.
  • 139.
  • 140.
  • 141.
  • 142.
  • 143.
  • 144. การแสดงทรรศนะ ทรรศนะ คือ ความคิดเห็น ที่ประกอบด้วยเหตุผล 1. โครงสร้างของการแสดงทรรศนะมี 3 อย่างคือ 1) ที่มา 2) สนับสนุน 3) ข้อสรุป
  • 145. 3. ทรรศนะแบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) ทรรศนะเกี่ยวกับข้อเท็จจริง 2) ทรรศนะเกี่ยวกับคุณค่าหรือค่านิยม 3) ทรรศนะเกี่ยวกับนโยบาย
  • 146. 4. วิธีใช้ภาษาในการแสดงทรรศนะ 1) ใช้บุรุษสรรพนามที่ 1 เช่น ฉันคิดว่า ผมเห็นว่า ข้าพเจ้าเข้าใจว่า 2) ใช้คำ หรือ กลุ่มคำ เช่น น่าจะ ควรจะ คงจะ อาจจะมักจะ
  • 147. 1. ข้อใด ไม่ แสดงทรรศนะ ก . ครูเป็นปูชนียบุคคล ข . มุมตกเท่ากับมุมสะท้อน ค . ชายข้าวเปลือกหญิงข้าวสาร ง . กลิ้งไว้ก่อนพ่อสอนไว้
  • 148. 2. ข้อใดแสดงทรรศนะเกี่ยวกับค่านิยม ก . วิถีทางเดียวที่โลกจะเพิ่มพูนความสุขคือการแบ่งปันความสุข ข . การสอบแข่งขันเข้ามหาวิทยาลัย เป็นทางหนึ่งที่ทำให้เด็กเกิด ความเครียด ค . กรุงเทพมหานครควรหาวิธีกำจัดขยะให้ถูกวิธี ปัญหามลพิษจะได้ หมดไป ง . การป้องกันมิให้เกิดอุบัติภัยบนท้องถนนคือ ทุกคนปฏิบัติตามกฎ จราจร ข้อเท็จจริง นโยบาย ข้อเท็จจริง
  • 149.
  • 150. มหาวิทยาลัยเป็นเพียงปัจจัยหนึ่ง ในบรรดาปัจจัยทั้งหลายของความเจริญหากปัจจัยอื่น ไม่พร้อมที่จะให้มหาวิทยาลัยเข้าไปช่วยสนับสนุน การมีมหาวิยาลัยก็จะเป็นสิ่งที่มีราคาแพงเกินไปสำหรับประเทศยากจนอย่างประเทศไทย 4. ข้อความนี้ เป็นสารแสดงความคิดเห็นแบบใด ก . วินิจฉัย ข . สันนิษฐาน ค . ประเมินค่า ง . เสนอแนะ 5. ข้อความนี้เป็นสารประเภทใด ก . การอธิบาย ข . การแสดงทรรศนะ ค . การโน้มน้าวจิตใจ ง . การแสดงข้อเท็จจริง 6. ข้อความที่ขีดเส้นใต้คือสิ่งใด ก . ข้อสรุป ข . ข้อวินิจฉัย ค . ข้อสนับสนุน ง . ข้อตัดสินใจ
  • 151. การโต้แย้ง คือการแสดงทรรศนะที่แตกต่างกัน ระหว่างบุคคล 2 ฝ่าย โดยแต่ละฝ่ายพยายามอ้างข้อมูล สถิติ หลักฐาน เหตุผลต่าง ๆ มาสนับสนุนทรรศนะ ของตน และคัดค้านทรรศนะของอีกฝ่ายหนึ่ง ถ้าทั้ง 2 ฝ่าย ใส่อารมณ์โกรธเพียงเพื่อจะเอาชนะกันโดยไม่ย่อมรับทรรศนะของแต่ละฝ่ายถือว่าเป็น การโต้เถียง การโต้แย้ง
  • 152. ประกอบด้วย 1. ข้อสรุป 2. เหตุผล โครงสร้างของการโต้แย้ง
  • 153. 1. ตั้งประเด็นในการโต้แย้ง มี 3 ประเภท 1) เกี่ยวกับข้อเสนอเพื่อให้การเปลี่ยนแปลง สภาพเดิม 2) เกี่ยวกับข้อเท็จจริง 3) เกี่ยวกับคุณค่า กระบวนการโต้แย้งมี 4 ขั้น ดังนี้
  • 154. 2. นิยามคำสำคัญที่อยู่ในประเด็นของการโต้แย้ง 3. ค้นหาและเรียบเรียงข้อสนับสนุนทรรศนะของตน 4. ชี้ให้เห็นจุดอ่อนของทรรศนะฝ่ายตรงข้าม มี 3 ประการดังนี้ 1) ชี้จุดอ่อนของการนิยาม 2) ชี้จุดอ่อนในด้านปริมาณความถูกต้องของข้อมูล 3) ชี้จุดอ่อนของสมมุติฐานและวิธีการอนุมาน
  • 155. ข้อควรระวังในการโต้แย้ง คือ 1. ควรหลีกเลี่ยงการใช้อารมณ์ 2. ควรมีมารยาทในการใช้ภาษาวัจนภาษา และอวัจนภาษา 3. ควรเลือกประเด็นที่มีแนวทางสร้างสรรค์
  • 156. 7. ข้อใดใช้ภาษาเหมาะสมในการโต้แย้ง ก . ผมไม่เห็นด้วยกับข้อเสนอนั้นเพราะไม่ตรงกับข้อเท็จจริง ข . ข้อเสนอดังกล่าวนั้น ผมเองมีความคิดเห็นที่แตกต่างไปบ้าง ค . ผมขอให้นำข้อเสนอนี้กลับไปคิดใหม่เพื่อให้ชัดเจนมากกว่านี้ ง . ข้อเสนอที่ว่านั้นใช้ไม่ได้เลยเพราะไม่ได้ตั้งอยู่ในเหตุและผล
  • 157. จงใช้ข้อความต่อไปนี้ตอบคำถามข้อ 8 1) หมู่บ้านนี้มีผู้อาศัยเกือบหนึ่งพันครอบครัว 2) แต่ไม่มีสถานที่ที่ชาวบ้านจะพักผ่อนหย่อนใจได้เลย 3) บริเวณนี้เป็นที่ว่างแห่งเดียวที่เหลืออยู่ 4) การสร้างอาคารพาณิชย์ในบริเวณนี้จึงเป็นการกระทำที่ไม่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมแม้แต่น้อย 8. ในข้อความนี้ประเด็นในการโต้แย้งคืออะไร ก . ควรสร้างอาคารพาณิชย์ในหมู่บ้านหรือไม่ ข . ควรสงวนที่ว่างที่มีอยู่ไว้สำหรับชาวบ้านหรือไม่ ค . สถานที่พักผ่อนหย่อนใจไม่จำเป็นสำหรับชาวบ้านหรือไม่ ง . ควรจัดหาบริเวณที่ว่างให้มากขึ้นสำหรับชาวบ้านหรือไม่
  • 158. จงอ่านข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคำถามข้อ 9 อุดมการณ์ของอุดมศึกษาคือการสอน การวิจัย การบริหารสังคมและ การทะนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมดังที่กล่าวไว้แต่มหาวิทยาลัยก็ควรคำนึงถึงการปลูกฝังคุณธรรมให้แก่ นักศึกษาด้วย หาไม่แล้วมหาวิทยาลัยย่อมมีค่าเป็นเพียงโรงงานผลิตเครื่องมือให้แก่สังคมหรือเป็นโรงฝึกอบรมนักวิชาชีพชั้นสูงเท่านั้นมิใช่แหล่งสร้างคนดีที่มีความเก่ง 9. ข้อใดเป็นประเด็นของการโต้แย้ง ก . ควรแก้ไขเพิ่มเติมอุดมการณ์ของการศึกษาหรือไม่ ข . มหาวิทยาลัยเป็นแหล่งสร้างคนดีที่มีความเก่งจริงหรือ ค . คุณธรรมเป็นสิ่งจำเป็นในการเรียนระดับอุดมศึกษาหรือไม่ ง . มหาวิทยาลัยควรหลีกเลี่ยงจากการเป็นโรงงานผลิตเครื่องมือ ให้แก่สังคมหรือไม่
  • 159. การโน้มน้าวใจ การโน้มน้าวใจ คือการใช้ความพยายามที่จะ เปลี่ยนความเชื่อ ทัศนิคติ ค่านิยม และการกระทำ ของบุคคลอื่น ด้วยกลวิธีที่เหมาะสมให้มีผลกระทบ ใจบุคคลนั้นจนเกิดการยอมรับและยอมเปลี่ยนตาม ที่ผู้โน้มน้าวใจต้องการ
  • 160. กลวิธีการโน้มน้าวใจมี 6 วิธี คือ 1. แสดงให้ประจักษ์ถึงความน่าเชื่อถือของบุคคล ผู้โน้มน้าวใจคือต้องมี ความรู้จริง คุณธรรม และ ปรารถนาดีต่อผู้อื่น 2. เเสดงให้ประจักษ์ตามกระบวนการของเหตุผล คือมี เหตุผล และ ข้อสรุป
  • 161. 3. แสดงให้ประจักษ์ถึงความรู้สึกหรืออารมณ์ ร่วมกัน 4. แสดงให้เห็นหรรษาแก่ผู้รับสาร 5. ชี้ให้เห็น ทางเลือกทั้งด้านดีและด้านเสีย 6. เร้าให้เกิดอารมณ์อย่างเเรงกล้า
  • 162. การพิจารณาสารโน้มน้าวใจในลักษณะต่างๆ ซึ่งพบในโอกาสและสถานที่ต่าง ๆ 2. โฆษณาสินค้าหรือโฆษณาบริการ มักมีลักษณะดังนี้ 1. คำเชิญชวน มักมีจุดประสงค์เด่นชัด ชี้ให้เห็น ประโยชน์และวิธีปฏิบัติ
  • 163. 1) มีส่วนนำที่สะดุดหู สะดุดตา ใช้ถ้อยคำที่ แปลกใหม่ 2) ถ้อยคำหรือ�